• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:eb28d46ba7c2e9c62a7c776eb375421f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n                    <img height=\"293\" width=\"450\" src=\"/files/u31508/122222222.jpg\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/70801\"><img src=\"/files/u31508/1.jpg\" width=\"198\" height=\"140\" /></a><a href=\"/node/66786\"><img src=\"/files/u31508/2.jpg\" width=\"198\" height=\"140\" /></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/69058\"><img src=\"/files/u31508/3.jpg\" width=\"298\" height=\"140\" /></a> <a href=\"/node/69037\"><img src=\"/files/u31508/4.jpg\" width=\"168\" height=\"140\" /></a><a href=\"/node/69038\"><img src=\"/files/u31508/5.jpg\" width=\"178\" height=\"140\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"200\" src=\"/files/u31508/content1052550171055.jpg\" width=\"200\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\">ที่มา http://www.stunitedsupply.com/images/content1052550171055.jpg</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #336666\"><b><span style=\"color: #ff00ff\">การปฐมพยาบาล..คนทีโดนไฟฟ้าดูด..</span></b></span></p>\n<p>&quot;ถ้าถูกไฟฟ้าดูดจะมีวิธีช่วยเหลือผู้ที่ถูกไฟฟ้าดูดอย่างไรบ้าง? และผู้ทำการช่วยเหลือจะต้องปฎิบัติอย่างไรโดยที่เราไม่โดนไฟฟ้าดูดโดยทำให้ ผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิตมากขึ้น&quot;<br />\nคนที่ถูกไฟฟ้าดูดเป็นเวลานานอาจจะเสีย ชีวิตได้ เนื่องจากส่วนที่ไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายจะทำให้เกิดความร้อนขึ้นมา  และอาจจะทำให้เกิดผลเสียต่ออวัยวะภายในซึ่งเป็นส่วนที่อ่อนที่สุดของร่างกาย ดังนั้นถ้าพบเห็นคนถูกไฟฟ้าดูดให้นำตัวออกมาจากจุดเกิดเหตุให้เร็วที่สุด เพื่อทำการช่วยเหลือ โดยที่คนช่วยเองต้องไม่โดนไฟ้ฟ้าดูด</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\"><b>การช่วยเหลือผู้ประสบ อันตราย</b></span><br />\nผู้ที่จะช่วยเหลือผู้ที่ประสบอันตรายจากไฟฟ้า ต้องรู้จักวิธีที่ถูกต้อง ในการช่วยเหลือดังนี้<br />\n1. อย่าใช้มือเปล่าแตะต้องตัวผู้ที่ติดอยู่กับกระแสไฟฟ้า หรือตัวนำที่เป็นต้นเหตุให้เกิดอันตรายเป็นอันขาด เพื่อป้องกันมิให้ถูกกระแสไฟฟ้าจนได้รับอันตรายไปด้วย<br />\n2. รีบหาทางตัดกระแสไฟฟ้า โดยฉับไว จะด้วยการถอดปลั๊กหรืออ้าสวิตซ์ออกก็ได้<br />\n3. ใช้วัตถุที่ไม่เป็นสื่อไฟฟ้า เช่น ผ้า ไม้แห้ง เชือกที่แห้ง สายยาง หรือพลาสติกที่แห้งสนิท ถุงมือยางหรือผ้าแห้งพันมือให้หนา แล้วถึงผลักหรือฉุดตัวผู้ประสบอันตรายให้หลุดออกมาโดยเร็วเขี่ยสายไฟให้หลุด ออกจากตัวผู้ประสบอันตราย<br />\n4. หากเป็นสายไฟฟ้าแรงสูงให้พยายามหลีกเลี่ยง แล้วรีบแจ้งการไฟฟ้าให้เร็วที่สุด<br />\n5. อย่าลงไปในน้ำ กรณีที่มีกระแสไฟฟ้าอยู่ในบริเวณที่มีน้ำขัง ต้องหาทางเขี่ยสายไฟฟ้าออกให้พ้น หรือตัดกระแสไฟฟ้าก่อน จึงค่อยไปช่วยผู้ประสบอันตราย<br />\nการช่วยผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้า ดังที่กล่าวมาแล้วจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกระทำด้วยความรวดเร็ว รอบคอบและระมัดระวังเป็นพิเศษด้วย</p>\n<p><b><span style=\"color: #ff00ff\">การปฐมพยาบาล</span></b><br />\nเมื่อ ได้ทำการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุได้แล้ว จะด้วยวิธีใดก็ตาม หากปรากฎว่าผู้เคราะห์ร้ายที่ช่วยออกมานั้นหมดสติไม่รู้สึกตัว หัวใจหยุดเต้น และไม่หายใจ ซึ่งสังเกตได้จากอาการที่เกิดขึ้นดังนี้ คือริมฝีปากเขียว, สีหน้าซีด,เขียวคล้ำ, ทรวงอกเคลื่อนไหวน้อยมากหรือไม่เคลื่อนไหว, ชีพจรบริเวณคอเต้นช้าและเบามาก, ถ้าหัวใจหยุดเต้นจะคลำชีพจรไม่พบ, ม่านตาขยายค้างไม่หดเล็กลงหมดสติไม่รู้สึกตัว ต้องรีบทำการปฐมพยาบาลทันทีเพื่อให้ปอดและหัวใจทำงาน โดยวิธีการผายปอดด้วยการให้ลมทางปาก หรือที่เรียกว่า&quot;เป่าปาก&quot; ร่วมกับการนวดหัวใจก่อนนำผู้ป่วยส่งแพทย์</p>\n<p><b><span style=\"color: #ff00ff\">การผายปอดโดยวิธีให้ลมทางปาก</span></b></p>\n<p>1. ให้ผู้ป่วยนอนราบ จัดท่าที่เหมาะสมเพื่อเปิดทางอากาศเข้าสู่ปอด โดยผู้ปฐมพยาบาลอยู่ด้านข้างขวา หรือข้างซ้ายบริเวณศรีษะของผู้ป่วย ใช้มือข้างหนึ่งดึงคางผู้ป่วยมาข้างหน้า พร้อมกับใช้มืออีกข้างหนึ่งดันหน้าผากไปทางหลัง เป็นวิธีป้องกันไม่ให้ลิ้นตกไปอุดปิดทางเดินหายใจ แต่ต้องระวังไม่ให้นิ้วมือที่ดึงคางนั้นกดลึกลงไปในส่วนเนื้อใต้คาง เพราะจะทำให้อุดกั้นทางเดินหายใจได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็กๆ<br />\nสำหรับ เด็กแรกเกิดไม่ควรนอนหงายคอมากเกินไป เพราะแทนที่จะเปิดทางเดินหายใจ อาจจะทำให้หลอดลมแฟบ และอุดตันทางเดินหายใจได้<br />\n2. สอดนิ้วหัวแม่มือเข้าไปในปากจนปากอ้า ล้วงสิ่งของในปากที่จะขวางทางเดินหายใจออกให้หมด เช่นฟันปลอม เศษอาหาร เป็นต้น<br />\n3. ผู้ปฐมพยาบาลอ้าปากให้กว้างหายใจเข้าเต็มที่ มือข้างหนึ่งบีบจมูกผู้ป่วยให้แน่นสนิท ในขณะที่มืออีกข้างหนึ่งยังคงดึงคางผู้ป่วยมาข้างหน้า แล้วจึงประกบปิดปากผู้ป่วยพร้อมเป่าลมเข้าไปทำในลักษณะนี้เป็นจังหวะ 12-15 ครั้งต่อนาที</p>\n<p>4. ขณะทำการเป่าปาก ตาต้องเหลือบดูด้วยว่าหน้าอกผู้ป่วยมีการขยายขึ้นลงหรือไม่ หากไม่มีการกระเพื่อมขึ้นลงอาจเป็นเพราะท่านอนไม่ดีหรือมีสิ่งกีดขวางทาง เดินทางหายใจ<br />\nในรายที่ผู้ป่วยอ้าปากไม่ได้ หรือด้วยสาเหตุใดที่ไม่สามารถเป่าปากได้ ให้เป่าลมเข้าทางจมูกแทน โดยใช้วิธีปฎิบัติทำนองเดียวกับการเป่าปาก  ในรายเด็กแรกเกิดหรือเด็กเล็ก ใช้วิธีเป่าลมเข้าทางปากและจมูกไปพร้อมกัน</p>\n<p>เมื่อผู้ป่วยล้มในท่านอนคว่ำหน้าให้พลิกตัวและ จัดท่านอนใหม่แล้วตรวจชีพจรและสังเกตที่หน้าอกเพื่อดูการหายใจ</p>\n<p>การให้ โลหิตไหลเวียนโดยวิธีนวดหัวใจ<br />\nเมื่อพบว่าหัวใจผู้ป่วย หยุดเต้นโดยทราบได้จากการฟังเสียงหัวใจเต้น และการจับชีพจรดูการเต้นของหลอดเลือดแดงที่คอ ที่ขาหนีบ ที่ข้อพับแขน หรือที่ข้อมือ ต้องรีบทำการช่วยให้หัวใจกลับเต้นทันที การนวนหัวใจดังวิธีการต่อไปนี้<br />\n1. ให้ผู้ป่วยนอนราบกับพื้นแข็งๆ หรือใช้ไม้กระดานรองที่หลังของผู้ป่วยผู้ปฐมพยาบาลหรือผู้ปฎิบัติคุกเข่าลง ข้างขวาหรือข้างซ้ายบริเวณหน้าอกผู้ป่วยคลำหาส่วนล่างสุดของกระดูกอกที่ต่อ กับกระดูกซี่โครง โดยใช้นิ้วสัมผัสชายโครงไล่ขึ้นมา (หากคุกเข่าข้างขวาใช้มือขวาคลำหากระดูกอก หากคุกเขาซ้ายใช้มือซ้าย)<br />\n2. วางนิ้วชี้และนิ้วกลางตรงตำแหน่งที่กระดูกซี่โครงต่อกับกระดูกอกส่วนล่างสุด วางสันมืออีกข้างบนตำแหน่งถัดจากนิ้วชี้และนิ้วกลางนั้น<br />\nซึ่งตำแหน่ง ของสันมือที่วางอยู่บนกระดูกหน้าอกนี้ จะเป็นตำแหน่งที่ถูกต้องในการนวดหัวใจต่อไป<br />\n3. วางมืออีกข้างทับลงบนหลังมือที่วางในตำแหน่งที่ถูกต้องแล้วเหยียดนิ้วมือตรง แล้วเกี่ยวนิ้วมือ 2 ข้างเข้าด้วยกันแล้วเหยียดแขนตรงโน้มตัวตั้งฉากกับหน้าอกผู้ป่วยทิ้งน้ำหนัก ลงบนแขน ขณะกดกับหน้าอกผู้ป่วย ให้กระดูกลดระดับลง 1.5-2 นิ้ว<br />\nเมื่อกด สุดให้ผ่อนมือขึ้นโดยที่ตำแหน่งมือไม่ต้องเลื่อนไปจากจุดที่กำหนด ขณะกดหน้าอกนวดหัวใจ ห้ามให้นิ้วมือกดลงบนกระดูกซี่โครงผู้ป่วย<br />\n4. เพื่อให้ช่วงเวลาการกดแต่ละครั้งคงที่และจังหวะการสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจพอ เหมาะกับที่ร่างกายต้องการใช้วิธีนับจำนวนครั้งที่กดดังนี้ หนึ่ง และ สอง และ สาม และ สี่และห้า...โดยกดทุกครั้งที่นับตัวเลขและปล่อยตอน คำว่าและ สลับกันไปอย่างนี้ให้ได้อัตราการกดประมาณ 80-100 ครั้งต่อนาที<br />\n5. ถ้าผู้ปฎิบัติมีคนเดียว ให้นวดหัวใจ 15 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก2ครั้งทำสลับกันเช่นนี้จนครบ 4 รอบแล้วให้ตรวจชีพจรและการหายใจ หากคลำชีพจรต้องนวนหัวใจต่อ แต่ถ้าคลำชีพจรได้และยังไม่หายใจต้องเป่าปากต่อไปอย่างเดียว<br />\n6. ถ้ามีผู้ปฎิบัติ 2 คน ให้นวดหัวใจ 5 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 1 ครั้ง โดยขณะที่เป่าปากอีกคนหนึ่งต้องหยุดนวดหัวใจ<br />\n7. ในเด็กแรกเกิดหรือเด็กอ่อน การนวดหัวใจใช้เพียงนิ้วหัวแม่มือกดกลางกระดูกหน้าอกให้ได้อัตราเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที โดยใช้นิ้วมือโอบรอบทรวงอกสองข้างแล้วใช้หัวแม่มือกด<br />\nใน การนวนหัวใจตามที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ต้องทำอย่างระมัดระวังและถูกวิธีถ้าทำไม่ถูกวิธีหรือรุนแรงอาจเกิดอันตราย ได้ เช่นกระดูกซี่โครงหัก ตับและม้ามแตกได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็กยิ่งต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ<br />\nการเป่าปากเพื่อ ช่วยหายใจและการนวดหัวใจเพื่อช่วยในการไหลเวียนเลือดนี้ต้องทำให้สัมพันธ์ กัน แต่อย่าทำพร้อมกัน เพราะจะไม่ได้ผลทั้งสองอย่างเมื่อช่วยหายใจและนวดหัวใจอย่างได้ผลแล้ว 1-2 นาทีให้สังเกตว่าผู้ป่วยมีหัวใจเต้นได้เองอย่างต่อเนื่องหรือไม่ สีผิวการหายใจและความรู้สึกตัวดีขึ้นหรือไม่ม่านตาหดเล็กลงหรือไม่ หากผู้ป่วยมีอาการดังกล่าวแสดงว่าการปฐมพยาบาลได้ผล แต่ถึงกระนั้นก็ไม่ควรเลิกช่วยเหลือจนกว่าจะส่งผู้ป่วยให้อยู่ในความดูแลของ แพทย์แล้ว\n</p>\n', created = 1727822221, expire = 1727908621, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:eb28d46ba7c2e9c62a7c776eb375421f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คนที่โดนไฟฟ้าดูด

รูปภาพของ sss28803

 

                    

 

 

ที่มา http://www.stunitedsupply.com/images/content1052550171055.jpg

การปฐมพยาบาล..คนทีโดนไฟฟ้าดูด..

"ถ้าถูกไฟฟ้าดูดจะมีวิธีช่วยเหลือผู้ที่ถูกไฟฟ้าดูดอย่างไรบ้าง? และผู้ทำการช่วยเหลือจะต้องปฎิบัติอย่างไรโดยที่เราไม่โดนไฟฟ้าดูดโดยทำให้ ผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิตมากขึ้น"
คนที่ถูกไฟฟ้าดูดเป็นเวลานานอาจจะเสีย ชีวิตได้ เนื่องจากส่วนที่ไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายจะทำให้เกิดความร้อนขึ้นมา  และอาจจะทำให้เกิดผลเสียต่ออวัยวะภายในซึ่งเป็นส่วนที่อ่อนที่สุดของร่างกาย ดังนั้นถ้าพบเห็นคนถูกไฟฟ้าดูดให้นำตัวออกมาจากจุดเกิดเหตุให้เร็วที่สุด เพื่อทำการช่วยเหลือ โดยที่คนช่วยเองต้องไม่โดนไฟ้ฟ้าดูด

การช่วยเหลือผู้ประสบ อันตราย
ผู้ที่จะช่วยเหลือผู้ที่ประสบอันตรายจากไฟฟ้า ต้องรู้จักวิธีที่ถูกต้อง ในการช่วยเหลือดังนี้
1. อย่าใช้มือเปล่าแตะต้องตัวผู้ที่ติดอยู่กับกระแสไฟฟ้า หรือตัวนำที่เป็นต้นเหตุให้เกิดอันตรายเป็นอันขาด เพื่อป้องกันมิให้ถูกกระแสไฟฟ้าจนได้รับอันตรายไปด้วย
2. รีบหาทางตัดกระแสไฟฟ้า โดยฉับไว จะด้วยการถอดปลั๊กหรืออ้าสวิตซ์ออกก็ได้
3. ใช้วัตถุที่ไม่เป็นสื่อไฟฟ้า เช่น ผ้า ไม้แห้ง เชือกที่แห้ง สายยาง หรือพลาสติกที่แห้งสนิท ถุงมือยางหรือผ้าแห้งพันมือให้หนา แล้วถึงผลักหรือฉุดตัวผู้ประสบอันตรายให้หลุดออกมาโดยเร็วเขี่ยสายไฟให้หลุด ออกจากตัวผู้ประสบอันตราย
4. หากเป็นสายไฟฟ้าแรงสูงให้พยายามหลีกเลี่ยง แล้วรีบแจ้งการไฟฟ้าให้เร็วที่สุด
5. อย่าลงไปในน้ำ กรณีที่มีกระแสไฟฟ้าอยู่ในบริเวณที่มีน้ำขัง ต้องหาทางเขี่ยสายไฟฟ้าออกให้พ้น หรือตัดกระแสไฟฟ้าก่อน จึงค่อยไปช่วยผู้ประสบอันตราย
การช่วยผู้ประสบอันตรายจากไฟฟ้า ดังที่กล่าวมาแล้วจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกระทำด้วยความรวดเร็ว รอบคอบและระมัดระวังเป็นพิเศษด้วย

การปฐมพยาบาล
เมื่อ ได้ทำการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุได้แล้ว จะด้วยวิธีใดก็ตาม หากปรากฎว่าผู้เคราะห์ร้ายที่ช่วยออกมานั้นหมดสติไม่รู้สึกตัว หัวใจหยุดเต้น และไม่หายใจ ซึ่งสังเกตได้จากอาการที่เกิดขึ้นดังนี้ คือริมฝีปากเขียว, สีหน้าซีด,เขียวคล้ำ, ทรวงอกเคลื่อนไหวน้อยมากหรือไม่เคลื่อนไหว, ชีพจรบริเวณคอเต้นช้าและเบามาก, ถ้าหัวใจหยุดเต้นจะคลำชีพจรไม่พบ, ม่านตาขยายค้างไม่หดเล็กลงหมดสติไม่รู้สึกตัว ต้องรีบทำการปฐมพยาบาลทันทีเพื่อให้ปอดและหัวใจทำงาน โดยวิธีการผายปอดด้วยการให้ลมทางปาก หรือที่เรียกว่า"เป่าปาก" ร่วมกับการนวดหัวใจก่อนนำผู้ป่วยส่งแพทย์

การผายปอดโดยวิธีให้ลมทางปาก

1. ให้ผู้ป่วยนอนราบ จัดท่าที่เหมาะสมเพื่อเปิดทางอากาศเข้าสู่ปอด โดยผู้ปฐมพยาบาลอยู่ด้านข้างขวา หรือข้างซ้ายบริเวณศรีษะของผู้ป่วย ใช้มือข้างหนึ่งดึงคางผู้ป่วยมาข้างหน้า พร้อมกับใช้มืออีกข้างหนึ่งดันหน้าผากไปทางหลัง เป็นวิธีป้องกันไม่ให้ลิ้นตกไปอุดปิดทางเดินหายใจ แต่ต้องระวังไม่ให้นิ้วมือที่ดึงคางนั้นกดลึกลงไปในส่วนเนื้อใต้คาง เพราะจะทำให้อุดกั้นทางเดินหายใจได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กเล็กๆ
สำหรับ เด็กแรกเกิดไม่ควรนอนหงายคอมากเกินไป เพราะแทนที่จะเปิดทางเดินหายใจ อาจจะทำให้หลอดลมแฟบ และอุดตันทางเดินหายใจได้
2. สอดนิ้วหัวแม่มือเข้าไปในปากจนปากอ้า ล้วงสิ่งของในปากที่จะขวางทางเดินหายใจออกให้หมด เช่นฟันปลอม เศษอาหาร เป็นต้น
3. ผู้ปฐมพยาบาลอ้าปากให้กว้างหายใจเข้าเต็มที่ มือข้างหนึ่งบีบจมูกผู้ป่วยให้แน่นสนิท ในขณะที่มืออีกข้างหนึ่งยังคงดึงคางผู้ป่วยมาข้างหน้า แล้วจึงประกบปิดปากผู้ป่วยพร้อมเป่าลมเข้าไปทำในลักษณะนี้เป็นจังหวะ 12-15 ครั้งต่อนาที

4. ขณะทำการเป่าปาก ตาต้องเหลือบดูด้วยว่าหน้าอกผู้ป่วยมีการขยายขึ้นลงหรือไม่ หากไม่มีการกระเพื่อมขึ้นลงอาจเป็นเพราะท่านอนไม่ดีหรือมีสิ่งกีดขวางทาง เดินทางหายใจ
ในรายที่ผู้ป่วยอ้าปากไม่ได้ หรือด้วยสาเหตุใดที่ไม่สามารถเป่าปากได้ ให้เป่าลมเข้าทางจมูกแทน โดยใช้วิธีปฎิบัติทำนองเดียวกับการเป่าปาก  ในรายเด็กแรกเกิดหรือเด็กเล็ก ใช้วิธีเป่าลมเข้าทางปากและจมูกไปพร้อมกัน

เมื่อผู้ป่วยล้มในท่านอนคว่ำหน้าให้พลิกตัวและ จัดท่านอนใหม่แล้วตรวจชีพจรและสังเกตที่หน้าอกเพื่อดูการหายใจ

การให้ โลหิตไหลเวียนโดยวิธีนวดหัวใจ
เมื่อพบว่าหัวใจผู้ป่วย หยุดเต้นโดยทราบได้จากการฟังเสียงหัวใจเต้น และการจับชีพจรดูการเต้นของหลอดเลือดแดงที่คอ ที่ขาหนีบ ที่ข้อพับแขน หรือที่ข้อมือ ต้องรีบทำการช่วยให้หัวใจกลับเต้นทันที การนวนหัวใจดังวิธีการต่อไปนี้
1. ให้ผู้ป่วยนอนราบกับพื้นแข็งๆ หรือใช้ไม้กระดานรองที่หลังของผู้ป่วยผู้ปฐมพยาบาลหรือผู้ปฎิบัติคุกเข่าลง ข้างขวาหรือข้างซ้ายบริเวณหน้าอกผู้ป่วยคลำหาส่วนล่างสุดของกระดูกอกที่ต่อ กับกระดูกซี่โครง โดยใช้นิ้วสัมผัสชายโครงไล่ขึ้นมา (หากคุกเข่าข้างขวาใช้มือขวาคลำหากระดูกอก หากคุกเขาซ้ายใช้มือซ้าย)
2. วางนิ้วชี้และนิ้วกลางตรงตำแหน่งที่กระดูกซี่โครงต่อกับกระดูกอกส่วนล่างสุด วางสันมืออีกข้างบนตำแหน่งถัดจากนิ้วชี้และนิ้วกลางนั้น
ซึ่งตำแหน่ง ของสันมือที่วางอยู่บนกระดูกหน้าอกนี้ จะเป็นตำแหน่งที่ถูกต้องในการนวดหัวใจต่อไป
3. วางมืออีกข้างทับลงบนหลังมือที่วางในตำแหน่งที่ถูกต้องแล้วเหยียดนิ้วมือตรง แล้วเกี่ยวนิ้วมือ 2 ข้างเข้าด้วยกันแล้วเหยียดแขนตรงโน้มตัวตั้งฉากกับหน้าอกผู้ป่วยทิ้งน้ำหนัก ลงบนแขน ขณะกดกับหน้าอกผู้ป่วย ให้กระดูกลดระดับลง 1.5-2 นิ้ว
เมื่อกด สุดให้ผ่อนมือขึ้นโดยที่ตำแหน่งมือไม่ต้องเลื่อนไปจากจุดที่กำหนด ขณะกดหน้าอกนวดหัวใจ ห้ามให้นิ้วมือกดลงบนกระดูกซี่โครงผู้ป่วย
4. เพื่อให้ช่วงเวลาการกดแต่ละครั้งคงที่และจังหวะการสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจพอ เหมาะกับที่ร่างกายต้องการใช้วิธีนับจำนวนครั้งที่กดดังนี้ หนึ่ง และ สอง และ สาม และ สี่และห้า...โดยกดทุกครั้งที่นับตัวเลขและปล่อยตอน คำว่าและ สลับกันไปอย่างนี้ให้ได้อัตราการกดประมาณ 80-100 ครั้งต่อนาที
5. ถ้าผู้ปฎิบัติมีคนเดียว ให้นวดหัวใจ 15 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก2ครั้งทำสลับกันเช่นนี้จนครบ 4 รอบแล้วให้ตรวจชีพจรและการหายใจ หากคลำชีพจรต้องนวนหัวใจต่อ แต่ถ้าคลำชีพจรได้และยังไม่หายใจต้องเป่าปากต่อไปอย่างเดียว
6. ถ้ามีผู้ปฎิบัติ 2 คน ให้นวดหัวใจ 5 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 1 ครั้ง โดยขณะที่เป่าปากอีกคนหนึ่งต้องหยุดนวดหัวใจ
7. ในเด็กแรกเกิดหรือเด็กอ่อน การนวดหัวใจใช้เพียงนิ้วหัวแม่มือกดกลางกระดูกหน้าอกให้ได้อัตราเร็ว 100-120 ครั้งต่อนาที โดยใช้นิ้วมือโอบรอบทรวงอกสองข้างแล้วใช้หัวแม่มือกด
ใน การนวนหัวใจตามที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ต้องทำอย่างระมัดระวังและถูกวิธีถ้าทำไม่ถูกวิธีหรือรุนแรงอาจเกิดอันตราย ได้ เช่นกระดูกซี่โครงหัก ตับและม้ามแตกได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็กยิ่งต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ
การเป่าปากเพื่อ ช่วยหายใจและการนวดหัวใจเพื่อช่วยในการไหลเวียนเลือดนี้ต้องทำให้สัมพันธ์ กัน แต่อย่าทำพร้อมกัน เพราะจะไม่ได้ผลทั้งสองอย่างเมื่อช่วยหายใจและนวดหัวใจอย่างได้ผลแล้ว 1-2 นาทีให้สังเกตว่าผู้ป่วยมีหัวใจเต้นได้เองอย่างต่อเนื่องหรือไม่ สีผิวการหายใจและความรู้สึกตัวดีขึ้นหรือไม่ม่านตาหดเล็กลงหรือไม่ หากผู้ป่วยมีอาการดังกล่าวแสดงว่าการปฐมพยาบาลได้ผล แต่ถึงกระนั้นก็ไม่ควรเลิกช่วยเหลือจนกว่าจะส่งผู้ป่วยให้อยู่ในความดูแลของ แพทย์แล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 395 คน กำลังออนไลน์