• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a595ed900722dcbf960c3db44bcb313f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อมมีทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเกิดจากการกระทำของมนุษย์หรือมีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น อากาศ ดิน หิน แร่ธาตุ น้ำ ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร พืชพรรณสัตว์ต่าง ๆ ภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ ฯลฯ สิ่งแวดล้อมดังกล่าวจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะมนุษย์เป็นตัวการสำคัญยิ่งที่ทำให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงทั้งในทางเสริมสร้างและทำลาย </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">จะเห็นว่า ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ต่างกันที่สิ่งแวดล้อมนั้นรวมทุกสิ่งทุกอย่างที่<span class=\"SpellE\">ปรากฎ</span>อยู่รอบตัวเรา ส่วนทรัพยากรธรรมชาติเน้นสิ่งที่อำนวยประโยชน์แก่มนุษย์มากกว่าสิ่งอื่น </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: green; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ก. ทรัพยากรธรรมชาติ</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> แบ่งตามลักษณะที่นำมาใช้ได้ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">ประเภทใหญ่ ๆ คือ </span><o:p></o:p></span><u><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">1. <span lang=\"TH\">ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วไม่หมดสิ้น</span></span></u><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ได้แก่</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">   1) <span lang=\"TH\">ประเภทที่คงอยู่ตามสภาพเดิมไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย เช่น พลังงาน จากดวงอาทิตย์ ลม อากาศ ฝุ่น ใช้เท่าไรก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่รู้จักหมด </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">   2) <span lang=\"TH\">ประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากถูกใช้ในทางที่ผิด เช่น ที่ดิน น้ำ ลักษณะภูมิประเทศ ฯลฯ ถ้าใช้ไม่เป็นจะก่อให้เกิดปัญหาตามมา ได้แก่ การปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำ ๆ ซาก ๆ ในที่เดิม ย่อมทำให้ดินเสื่อมคุณภาพ ได้ผลผลิตน้อยลงถ้าต้องการให้ดินมีคุณภาพดีต้องใส่ปุ๋ยหรือปลูกพืชสลับและหมุนเวียน </span><o:p></o:p></span><u><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">2. <span lang=\"TH\">ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วหมดสิ้นไป</span></span></u><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ได้แก่</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">   1) <span lang=\"TH\">ประเภทที่ใช้แล้วหมดไป แต่สามารถรักษาให้คงสภาพเดิมไว้ได้ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า ประชากรโลก ความอุดมสมบูรณ์ของดิน น้ำเสียจากโรงงาน น้ำในดิน ปลาบางชนิด ทัศนียภาพอันงดงาม ฯลฯ ซึ่งอาจทำให้เกิดขึ้นใหม่ได้ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">   2) <span lang=\"TH\">ประเภทที่ไม่อาจทำให้มีใหม่ได้ เช่น คุณสมบัติธรรมชาติของดิน พร สวรรค์ของมนุษย์ สติปัญญา เผ่าพันธุ์ของมนุษย์ชาติ ไม้พุ่ม ต้นไม้ใหญ่ ดอกไม้ป่า สัตว์บก สัตว์น้ำ ฯลฯ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">   3) <span lang=\"TH\">ประเภทที่ไม่อาจรักษาไว้ได้ เมื่อใช้แล้วหมดไป แต่ยังสามารถนำมายุบให้ กลับเป็นวัตถุเช่นเดิม แล้วนำกลับมาประดิษฐ์ขึ้นใหม่ เช่น โลหะต่าง ๆ สังกะสี ทองแดง เงิน ทองคำ ฯลฯ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">   4) <span lang=\"TH\">ประเภทที่ใช้แล้วหมดสิ้นไปนำกลับมาใช้อีกไม่ได้ เช่น ถ่านหิน <span class=\"SpellE\">น้ำมันก๊าซ</span> อโลหะส่วนใหญ่ ฯลฯ ถูกนำมาใช้เพียงครั้งเดียวก็เผาไหม้หมดไป ไม่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">ทรัพยากรธรรมชาติหลักที่สำคัญของโลก และของประเทศไทยได้แก่ ดิน ป่าไม้ สัตว์ป่า น้ำ แร่ธาตุ และประชากร (มนุษย์) </span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: green; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข. สิ่งแวดล้อม</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อมของมนุษย์ที่อยู่รอบ ๆ ตัว ทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ซึ่งเกิดจาก การกระทำของมนุษย์แบ่งออกเป็น </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">ประเภท คือ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">1. <span lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">2. <span lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อมประดิษฐ์ หรือมนุษย์เสริมสร้างกำหนดขึ้น </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ จำแนกได้ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">ชนิด คือ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">1) <span lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อากาศ ดิน ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะ ภูมิอากาศ ทัศนียภาพต่าง ๆ ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทรและทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิด </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">2) <span lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพหรือ<span class=\"SpellE\">ชีว</span>ภูมิศาสตร์ ได้แก่ พืชพันธุ์ธรรมชาติต่าง ๆ สัตว์ป่า ป่าไม้ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่อยู่รอบตัวเราและมวลมนุษย์ </span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อมประดิษฐ์ หรือมนุษย์เสริมสร้างขึ้น</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่มนุษย์เสริมสร้างขึ้นโดยใช้กลวิธีสมัยใหม่ ตามความเหมาะสมของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม เช่น เครื่องจักร เครื่องยนต์ รถยนต์ พัดลม โทรทัศน์ วิทยุ ฝนเทียม เขื่อน บ้านเรือน โบราณสถาน โบราณ<span class=\"SpellE\">วัตถุท</span> อื่น ๆ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ค่านิยม และสุขภาพอนามัย </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งเกิดจากสาเหตุ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">ประการ คือ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">1) <span lang=\"TH\">มนุษย์ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">2) <span lang=\"TH\">ธรรมชาติแวดล้อม มนุษย์ เป็นตัวการเปลี่ยนแปลงสังคมเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง มากกว่าสิ่ง อื่น เช่น ชอบจับปลาในฤดูวางไข่ ใช้เครื่องมือถี่เกินไปทำให้ปลาเล็ก ๆ ติดมาด้วย ลักลอบตัดไม้ทำลายป่า เพื่อนำมาสร้างที่อยู่อาศัย ส่งเป็นสินค้า หรือเพื่อใช้พื้นที่เพาะปลูกปล่อยของเสียจากโรงงานและไอเสียจากรถยนต์ทำให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ</span> (<span lang=\"TH\">น้ำเน่า อากาศเสีย) </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ธรรมชาติแวดล้อม ส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ เช่น แม่น้ำที่พัดพาตะกอนไปทับถมบริเวณน้ำท่วม และปากแม่น้ำต้องใช้เวลานานจึงจะมีตะกอนมาก การกัดเซาะพังทลายของดินก็เช่นเดียวกัน ส่วนการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนั้นเกิดจากแรงภายในโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด อื่น ๆ ได้แก่ อุทกภัยและ<span class=\"SpellE\">วาต</span>ภัย ไฟป่า เป็นต้น ซึ่งภัยธรรมชาติดังกล่าวจะไม่เกิดบ่อยครั้งนัก </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สรุป</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> มนุษย์เป็นตัวการสร้าง และทำลายสิ่งแวดล้อมมากกว่าธรรมชาติ ความสำคัญของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สหรัฐอเมริกา ได้ส่งดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก (</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">Earth Resources Technology Satellite <span lang=\"TH\">หรือ </span>ERTS) <span lang=\"TH\">ดวงแรกของโลกเมื่อวันที่ </span>23 <span lang=\"TH\">กรกฎาคม <span class=\"SpellE\">พ.ศ</span></span>. 2515 <span lang=\"TH\">ดาวเทียมนี้จะโคจรรอบโลกจากขั้วโลกเหนือไปทางขั้วโลกใต้รวม</span> 14 <span lang=\"TH\">รอบต่อวันและจะโคจรกลับมาจุดเดิมอีกทุก ๆ </span>18 <span lang=\"TH\">วัน ข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมจะมีทั้งรูปภาพและเทปสมองกลบันทึกไว้ ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในการช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติของโลก ส่วนประเทศไทยก็ได้รับข้อมูล และภาพที่เป็นประโยชน์ในด้านการเกษตร การสำรวจทางธรณีวิทยา ป่าไม้ การชลประทาน การประมง หลังจากที่สหรัฐส่งดาวเทียมดวงแรกได้</span> 1 <span lang=\"TH\">ปีแล้ว ได้ส่ง<span class=\"SpellE\">สกายแล็บ</span> และดาวเทียมตามโครงการดังกล่าวอีก </span>2 <span lang=\"TH\">ดวง ในปี <span class=\"SpellE\">พ.ศ</span></span>. 2520 <span lang=\"TH\">และ <span class=\"SpellE\">พ.ศ</span></span>. 2522 <span lang=\"TH\">นับว่ามีส่วนช่วยส่งเสริมพัฒนาความรู้ในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและการวางโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิดบนพื้นโลก </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ ป่าไม้ สัตว์ป่าและปลา น้ำ ดิน อากาศ แร่ธาตุ มนุษย์และทุ่งหญ้า </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<table border=\"0\" width=\"100%\" cellPadding=\"0\" style=\"width: 100%\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background: #85cdf7; padding: 0cm\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทรัพยากรนันทนาการ</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นันทนาการ </span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หมายถึง การกระทำใด ๆ</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">ที่ทำให้เกิดความสุข ความพึงพอใจ <span class=\"SpellE\">สนุนส</span>นาน เกิดความเลื่อมใสศรัทธา เสริมสร้างความรู้ และออกกำลังกาย การนันทนาการเปรียบเสมือนอาหารใจที่ทำให้คนเกิดความสมบูรณ์ทางด้านสมองและจิตใจ</span>  <span lang=\"TH\">ดังนั้นการนันทนาการจึงมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าอาหารที่มนุษย์รับประทานเข้าไป </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">จากการที่มนุษย์ต้องตรากตรำทำงานหนักตลอดทั้งวันหรือสัปดาห์ จะทำให้ร่างกายเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า สมองตึงเครียด และเบื่อหน่ายต่องานที่ทำ จึงจำเป็นที่ต้องหาเวลาพักผ่อนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานในการทำงานให้ดียิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากวันสิ้นสุดสัปดาห์หรือวันหยุดเทศกาลต่าง ๆ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประชาชนชาวเมืองจะเดินทางออกไปพักผ่อนในชนบทที่อยู่ห่างไกลออกไป ในขณะที่คนในชนบทจะหลั่งไหลกันเข้าเมืองเพื่อพักผ่อนตามโรงภาพยนตร์ หรือแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและเลือกซื้อสินค้าตามศูนย์การค้าต่าง ๆ อย่างไรก็ตามการนันทนาการอาจจะทำได้หลายวิธีทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรสนิยม ความถนัด และความต้องการ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในสภาพปัจจุบันสถานที่นันทนาการจะเพิ่มความสำคัญมากยิ่งขึ้น เพราะการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี และมีเวลาว่าง จึงทำให้การเดินทางท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อนกระทำได้ไกลจากถิ่นที่อยู่มาก ซึ่งทำให้สถานที่นันทนาการทั้งทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่อยู่ห่างไกลออกไปจากย่านชุมชน มีผู้เข้าไปใช้บริการมากยิ่งขึ้น เอกชนบางแห่งได้หันมาลงทุนเพื่อดำเนินการทำธุรกิจทางด้านนันทนาการเป็นจำนวนมาก เป็นต้นว่า การจัดสร้างสวนสนุก สวนสัตว์ โรงภาพยนตร์ ศูนย์การค้า รี<span class=\"SpellE\">สอร์ต</span> การบริการทางด้านการขนส่ง และสนามกีฬา ซึ่งธุรกิจเหล่านี้นอกจากจะทำรายได้ให้กับผู้ประกอบการอย่างดีแล้วยังช่วยในการสร้างงานให้กับประชาชนโดยทั่วไปอีกด้วย </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การนันทนาการจะทำได้หลายลักษณะ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเพศ วัย และความสนใจของแต่ละบุคคล ถ้าหากจะจัดชนิดของการนันทนาการตามหลักสากลแล้ว อาจจะแบ่งออกได้ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">4 <span lang=\"TH\">กลุ่มใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ การกีฬา การออกกำลังกาย เพื่อศึกษาหาความรู้ และเปลี่ยนบรรยากาศ </span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความสำคัญของสถานที่นันทนาการ</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สถาน<span class=\"SpellE\">ที่ที่่</span>ใช้นันทนาการ สามารถมีหลายสถานที่เช่น สนามกีฬา สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ</span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">สวนสัตว์ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ</span> <span lang=\"TH\">ศิลปวัตถุ</span>  <span lang=\"TH\">วัด โรงมหรสพ ศูนย์การค้า เป็นต้น สถานที่ดังกล่าว เป็นแหล่งความรู้ เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้ยังเป็นการนำทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์</span> <span lang=\"TH\">และช่วยในการสร้างงานในท้องถิ่น</span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สถานที่นันทนาการนับว่าเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่ง และเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำการบำรุงรักษาไว้ ทั้งนี้เพราะสถานที่นันทนาการจะเสื่อมสภาพไปตามกาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานที่นันทนาการทางวัฒนธรรม แม้แต่สถานที่นันทนาการทางธรรมชาติ</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">เช่น</span> <span lang=\"TH\">ทะเลสาบ</span> <span lang=\"TH\">ชายหาด ถ้ำ น้ำตกและอื่น ๆ เมื่อมีผู้เข้าไปใช้บริการมาก ๆ จะทำให้เสื่อมโทรมและสกปรกได้เช่นเดียวกัน</span> <span lang=\"TH\">ถ้าหากไม่มีการบำรุงรักษาอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทรัพยากรธรรมชาติ</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในอดีต ประเทศไทยเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติทั้งบนบกและในน้ำ การเร่งรัดพัฒนาประเทศที่เริ่มต้นเมื่อกว่าสามสิบปีมาแล้ว โดยมิได้ระมัดระวังและให้ความสำคัญต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเท่าที่ควร ทำให้มีการตักตวง </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประโยชน์<wbr></wbr>จาก<wbr></wbr>ทรัพยากร<wbr></wbr>ธรรมชาติ<wbr></wbr>อย่าง<wbr></wbr>สิ้น<wbr></wbr>เปลือง<wbr></wbr>มิ<wbr></wbr>ได้<wbr></wbr>คำนึง<wbr></wbr>ถึง<wbr></wbr>อัตรา<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>เกิด<wbr></wbr>ทด<wbr></wbr>แทน<wbr></wbr>หรือ<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>ฟื้น<wbr></wbr>ตัว<wbr></wbr>ตาม<wbr></wbr>ธรรมชาติ ดัง<wbr></wbr>นั้น<wbr></wbr><span class=\"SpellE\">ใน<wbr></wbr>ปัจุ</span>บัน<wbr></wbr>ทรัพยากร<wbr></wbr>ธรรมชาติ<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>ประเทศ<wbr></wbr>จึง<wbr></wbr>อยู่<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>สภาพ<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>เสื่อม<wbr></wbr>โทรม สร้าง<wbr></wbr>ข้อ<wbr></wbr>จำกัด<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>พัฒนา<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>ระยะ<wbr></wbr>ต่อ<wbr></wbr>ไป ใน<wbr></wbr>ขณะ<wbr></wbr>นี้<wbr></wbr>จึง<wbr></wbr>จำเป็น<wbr></wbr>อย่าง<wbr></wbr>ยิ่ง<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>ทุกฝ่าย ทั้ง<wbr></wbr>ส่วน<wbr></wbr>ราชการ<wbr></wbr>และ<wbr></wbr>เอกชน<wbr></wbr>จะ<wbr></wbr>ต้อง<wbr></wbr>หัน<wbr></wbr>มา<wbr></wbr>สนใจ และ<wbr></wbr>ร่วม<wbr></wbr>มือ<wbr></wbr>กัน<wbr></wbr>เพื่อ<wbr></wbr>จัด<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>ทรัพยากร<wbr></wbr>ธรรมชาติ<wbr></wbr>อย่าง<wbr></wbr>จริงจัง ให้<wbr></wbr>สามารถ<wbr></wbr>ใช้<wbr></wbr>ประโยชน์<wbr></wbr>ทรัพยากร<wbr></wbr>ธรรมชาติ<wbr></wbr>เพื่อ<wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>ปัจจัย<wbr></wbr>พื้น<wbr></wbr>ฐาน<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>ดำรง<wbr></wbr>ชีวิต<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>ประชาชน ทั้ง<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>เมือง<wbr></wbr>และ<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>ชนบท และ<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>พัฒนา<wbr></wbr>ประเทศ<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>ยั่ง<wbr></wbr>ยืน<wbr></wbr>ตลอด<wbr></wbr>ไป</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามหลักวิชาการ จัดประเภททรัพยากรธรรมชาติ ออกเป็น </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\">3 <span lang=\"TH\">ประเภท ที่สำคัญดังนี้ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: BrowalliaUPC\" lang=\"TH\"><span>๑.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">      </span></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมด หรือสูญหายไป เราสามารถใช้ทรัพยากรประเภทนี้ได้อย่างไม่จำกัด เนื่องจากธรรมชาติสร้างให้มีใช้อยู่ตลอดเวลา ได้แก่ บรรยากาศน้ำที่อยู่ใน </span><span class=\"SpellE\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วัฎ<wbr></wbr></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">จักร ซึ่ง<wbr></wbr>เกิด<wbr></wbr>จาก<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>หมุน<wbr></wbr>เวียน<wbr></wbr>เปลี่ยน<wbr></wbr>แปลง<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>น้ำ กล่าว<wbr></wbr>คือ เมื่อ<wbr></wbr>น้ำ<wbr></wbr>ตาม<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>ต่างๆ ได้<wbr></wbr>รับ<wbr></wbr>ความ<wbr></wbr>ร้อน<wbr></wbr>จาก<wbr></wbr>ดวง<wbr></wbr>อาทิตย์ ก็<wbr></wbr>จะ<wbr></wbr>ระเหย<wbr></wbr>กลาย<wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>ไอ<wbr></wbr>น้ำ<wbr></wbr>ลอย<wbr></wbr>ขึ้น<wbr></wbr>ไป<wbr></wbr>บน<wbr></wbr>บรรยากาศ<wbr></wbr>เมื่อ<wbr></wbr>กระทบ<wbr></wbr>กับ<wbr></wbr>ความ<wbr></wbr>เย็น<wbr></wbr>ก็<wbr></wbr>จะ รวม<wbr></wbr>ตัว<wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>ละออง<wbr></wbr>น้ำ<wbr></wbr>เล็กๆ ลอย<wbr></wbr>จับ<wbr></wbr>ตัว<wbr></wbr>กัน<wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>กลุ่ม<wbr></wbr>เมฆ เมื่อ<wbr></wbr>จับ<wbr></wbr>ตัว<wbr></wbr>กัน<wbr></wbr>มาก<wbr></wbr>ขึ้น<wbr></wbr>และ<wbr></wbr>กระทบ<wbr></wbr>กับ<wbr></wbr>ความ<wbr></wbr>เย็น ก็<wbr></wbr>จะ<wbr></wbr>กลั่น<wbr></wbr>ตัว<wbr></wbr>กลายเป็น<wbr></wbr>หยด<wbr></wbr>น้ำ<wbr></wbr>ตกลง<wbr></wbr>สู่<wbr></wbr>พื้น<wbr></wbr>โลก แล้ว<wbr></wbr>ไหล<wbr></wbr>ลง<wbr></wbr>สู่<wbr></wbr>แม่น้ำ ลำธาร และ<wbr></wbr>ไหล<wbr></wbr>ออก<wbr></wbr>สู่<wbr></wbr>ทะเล เป็น<wbr></wbr>ลักษณะ<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>เปลี่ยน<wbr></wbr>แปลง<wbr></wbr>หมุน<wbr></wbr>เวียน<wbr></wbr>ต่อ<wbr></wbr>เนื่อง<wbr></wbr>กัน<wbr></wbr>ตลอด<wbr></wbr>เวลา ทำ<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr>มี<wbr></wbr>น้ำ<wbr></wbr>เกิด<wbr></wbr>ขึ้น<wbr></wbr>บน<wbr></wbr>ผิว<wbr></wbr>โลก<wbr></wbr>อยู่<wbr></wbr>สม่ำ<wbr></wbr>เสมอ<wbr></wbr>ทรัพยากร<wbr></wbr>ประเภท<wbr></wbr>นี้<wbr></wbr>รวม<wbr></wbr>ทั้ง<wbr></wbr>แสง<wbr></wbr>แดด ลม และ<wbr></wbr>ทัศนียภาพ<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>สวย<wbr></wbr>งาม<wbr></wbr>ตาม<wbr></wbr>ธรรมชาติ อีก<wbr></wbr>ด้วย</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: BrowalliaUPC\" lang=\"TH\"><span>๒.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">     </span></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดแต่สร้างทดแทนได้ ตัวอย่างเช่น ป่าไม้ ดิน ที่ดิน แหล่งน้ำ ทุ่งหญ้า และสัตว์ป่า เป็นต้น ทรัพยากรประเภทนี้เมื่อใช้แล้วจะสามารถสร้างขึ้นมาทดแทนได้ตามธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ อย่างไรก็ดีการใช้ประโยชน์ก็ต้องเป็นไปอย่างเหมาะสม ไม่ควรใช้มากเกินต้องการและเกินกว่าที่ธรรมชาติ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">จะ<wbr></wbr>สร้าง<wbr></wbr>ขึ้น<wbr></wbr>มา<wbr></wbr>ทด<wbr></wbr>แทน<wbr></wbr>ได้ มิฉะนั้น<wbr></wbr>ทรัพยากร<wbr></wbr>ชนิด<wbr></wbr>นั้น<wbr></wbr>ก็<wbr></wbr>จะ<wbr></wbr>ร่อย<wbr></wbr>หรอ เสื่อม<wbr></wbr>โทรม<wbr></wbr>ลง และ<wbr></wbr>สูญ<wbr></wbr>สิ้น<wbr></wbr>ไป การ<wbr></wbr>เสื่อม<wbr></wbr>โทรม<wbr></wbr>และ<wbr></wbr>สูญ<wbr></wbr>สิ้น<wbr></wbr>ก่อ<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr>เกิด<wbr></wbr>ผล<wbr></wbr>กระทบ<wbr></wbr>ต่อ<wbr></wbr>ทรัพยากร<wbr></wbr>ชนิด<wbr></wbr>อื่นๆ ที่<wbr></wbr>มี<wbr></wbr>ความ<wbr></wbr>สัมพันธ์ และ<wbr></wbr>อยู่<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>สภาพ<wbr></wbr>แวด<wbr></wbr>ล้อม<wbr></wbr>เดียว<wbr></wbr>กัน</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: BrowalliaUPC\" lang=\"TH\"><span>๓.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">     </span></span></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป ไม่มีการสร้างทดแทนได้ เช่น แร่น้ำมัน ที่ดิน ในสภาพธรรมชาติ แหล่งที่เหมาะสมสำหรับศึกษาธรรมชาติแหล่งธรรมชาติที่หาดูได้ยาก แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว รวมทั้งสภาพธรรมชาติใดๆ ที่ถูกใช้ไปแล้วก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้เหมือนเดิมอีก เช่น แร่ธาตุ น้ำมัน เมื่อนำมา </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ใช้<wbr></wbr>ประโยชน์<wbr></wbr>ก็<wbr></wbr>จะ<wbr></wbr>หมด<wbr></wbr>สิ้น<wbr></wbr>ไป โดย<wbr></wbr>ธรรมชาติ<wbr></wbr>ไม่<wbr></wbr>อาจ<wbr></wbr>จะ<wbr></wbr>สร้าง<wbr></wbr>ขึ้น<wbr></wbr>ทด<wbr></wbr>แทน<wbr></wbr>ได้<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>ชั่ว<wbr></wbr>อายุ<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>คน<wbr></wbr>รุ่น<wbr></wbr>ปัจจุบัน<wbr></wbr>ทรัพยากร<wbr></wbr>ประเภท<wbr></wbr>นี้<wbr></wbr>ควร<wbr></wbr>ใช้<wbr></wbr>โดย<wbr></wbr>ประหยัด<wbr></wbr>ที่สุด คุ้ม<wbr></wbr>ค่า และ<wbr></wbr>ไม่<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr>เกิด<wbr></wbr>ผล<wbr></wbr>กระทบ<wbr></wbr>ต่อ<wbr></wbr>สภาพ<wbr></wbr>แวด<wbr></wbr>ล้อม ทรัพยากร<wbr></wbr>ประเภท<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>ดิน<wbr></wbr>สวย<wbr></wbr>งาม<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>สภาพธรรม<wbr></wbr>ชาติ เช่น แพะเมือง<wbr></wbr>ผี ที่<wbr></wbr>จังหวัด<wbr></wbr>แพร่ เกิด<wbr></wbr>จาก<wbr></wbr>การ<wbr></wbr>กัด<wbr></wbr>กร่อน<wbr></wbr>ตาม<wbr></wbr>ธรรมชาติ ทำ<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr>มี<wbr></wbr>รูป<wbr></wbr>ร่าง<wbr></wbr>ลักษณะ<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>เอกลักษณ์<wbr></wbr>เป็น<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>สนใจ<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>นัก<wbr></wbr>ท่อง<wbr></wbr>เที่ยว<wbr></wbr>ผู้<wbr></wbr>ไป<wbr></wbr>เยี่ยม<wbr></wbr>ชม<wbr></wbr>มาก<wbr></wbr>มาย เรา<wbr></wbr>จึง<wbr></wbr>ควร<wbr></wbr>ช่วย<wbr></wbr>กัน<wbr></wbr>ดูแล<wbr></wbr>รักษา<wbr></wbr>ไว้ ให้<wbr></wbr>คง<wbr></wbr>สภาพ<wbr></wbr>ตาม<wbr></wbr>ธรรมชาติ<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr>นาน<wbr></wbr>ที่สุด</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การพัฒนา</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การพัฒนา</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> คือ การเปลี่ยนแปลงชีวาลัย</span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"> (Biosphere) <span lang=\"TH\">อันเป็นบริเวณที่เป็นส่วนหนึ่งของโลกที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ได้แก่ บริเวณที่เป็นมหาสมุทร ที่ซึ่งมีน้ำจืด บรรยากาศและชั้นดินบางส่วน โดยการใช้ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพย์สินเงินทอง ทรัพยากรที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ และปรับปรุงชีวิตมนุษย์ให้มีคุณภาพ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span></p>\n', created = 1715458087, expire = 1715544487, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a595ed900722dcbf960c3db44bcb313f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การอนุรักษืทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก

สิ่งแวดล้อมมีทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเกิดจากการกระทำของมนุษย์หรือมีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น อากาศ ดิน หิน แร่ธาตุ น้ำ ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทร พืชพรรณสัตว์ต่าง ๆ ภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ ฯลฯ สิ่งแวดล้อมดังกล่าวจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะมนุษย์เป็นตัวการสำคัญยิ่งที่ทำให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงทั้งในทางเสริมสร้างและทำลาย จะเห็นว่า ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ต่างกันที่สิ่งแวดล้อมนั้นรวมทุกสิ่งทุกอย่างที่ปรากฎอยู่รอบตัวเรา ส่วนทรัพยากรธรรมชาติเน้นสิ่งที่อำนวยประโยชน์แก่มนุษย์มากกว่าสิ่งอื่น ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก. ทรัพยากรธรรมชาติ แบ่งตามลักษณะที่นำมาใช้ได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วไม่หมดสิ้น ได้แก่   1) ประเภทที่คงอยู่ตามสภาพเดิมไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เลย เช่น พลังงาน จากดวงอาทิตย์ ลม อากาศ ฝุ่น ใช้เท่าไรก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่รู้จักหมด    2) ประเภทที่มีการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากถูกใช้ในทางที่ผิด เช่น ที่ดิน น้ำ ลักษณะภูมิประเทศ ฯลฯ ถ้าใช้ไม่เป็นจะก่อให้เกิดปัญหาตามมา ได้แก่ การปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำ ๆ ซาก ๆ ในที่เดิม ย่อมทำให้ดินเสื่อมคุณภาพ ได้ผลผลิตน้อยลงถ้าต้องการให้ดินมีคุณภาพดีต้องใส่ปุ๋ยหรือปลูกพืชสลับและหมุนเวียน 2. ทรัพยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วหมดสิ้นไป ได้แก่   1) ประเภทที่ใช้แล้วหมดไป แต่สามารถรักษาให้คงสภาพเดิมไว้ได้ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า ประชากรโลก ความอุดมสมบูรณ์ของดิน น้ำเสียจากโรงงาน น้ำในดิน ปลาบางชนิด ทัศนียภาพอันงดงาม ฯลฯ ซึ่งอาจทำให้เกิดขึ้นใหม่ได้    2) ประเภทที่ไม่อาจทำให้มีใหม่ได้ เช่น คุณสมบัติธรรมชาติของดิน พร สวรรค์ของมนุษย์ สติปัญญา เผ่าพันธุ์ของมนุษย์ชาติ ไม้พุ่ม ต้นไม้ใหญ่ ดอกไม้ป่า สัตว์บก สัตว์น้ำ ฯลฯ    3) ประเภทที่ไม่อาจรักษาไว้ได้ เมื่อใช้แล้วหมดไป แต่ยังสามารถนำมายุบให้ กลับเป็นวัตถุเช่นเดิม แล้วนำกลับมาประดิษฐ์ขึ้นใหม่ เช่น โลหะต่าง ๆ สังกะสี ทองแดง เงิน ทองคำ ฯลฯ    4) ประเภทที่ใช้แล้วหมดสิ้นไปนำกลับมาใช้อีกไม่ได้ เช่น ถ่านหิน น้ำมันก๊าซ อโลหะส่วนใหญ่ ฯลฯ ถูกนำมาใช้เพียงครั้งเดียวก็เผาไหม้หมดไป ไม่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้    ทรัพยากรธรรมชาติหลักที่สำคัญของโลก และของประเทศไทยได้แก่ ดิน ป่าไม้ สัตว์ป่า น้ำ แร่ธาตุ และประชากร (มนุษย์) ข. สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมของมนุษย์ที่อยู่รอบ ๆ ตัว ทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ซึ่งเกิดจาก การกระทำของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 2. สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อมประดิษฐ์ หรือมนุษย์เสริมสร้างกำหนดขึ้น สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ จำแนกได้ 2 ชนิด คือ 1) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อากาศ ดิน ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะ ภูมิอากาศ ทัศนียภาพต่าง ๆ ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ ทะเล มหาสมุทรและทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิด 2) สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพหรือชีวภูมิศาสตร์ ได้แก่ พืชพันธุ์ธรรมชาติต่าง ๆ สัตว์ป่า ป่าไม้ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่อยู่รอบตัวเราและมวลมนุษย์ สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม หรือสิ่งแวดล้อมประดิษฐ์ หรือมนุษย์เสริมสร้างขึ้น ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่มนุษย์เสริมสร้างขึ้นโดยใช้กลวิธีสมัยใหม่ ตามความเหมาะสมของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรม เช่น เครื่องจักร เครื่องยนต์ รถยนต์ พัดลม โทรทัศน์ วิทยุ ฝนเทียม เขื่อน บ้านเรือน โบราณสถาน โบราณวัตถุท อื่น ๆ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ค่านิยม และสุขภาพอนามัย สิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งเกิดจากสาเหตุ 2 ประการ คือ 1) มนุษย์ 2) ธรรมชาติแวดล้อม มนุษย์ เป็นตัวการเปลี่ยนแปลงสังคมเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง มากกว่าสิ่ง อื่น เช่น ชอบจับปลาในฤดูวางไข่ ใช้เครื่องมือถี่เกินไปทำให้ปลาเล็ก ๆ ติดมาด้วย ลักลอบตัดไม้ทำลายป่า เพื่อนำมาสร้างที่อยู่อาศัย ส่งเป็นสินค้า หรือเพื่อใช้พื้นที่เพาะปลูกปล่อยของเสียจากโรงงานและไอเสียจากรถยนต์ทำให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (น้ำเน่า อากาศเสีย) ธรรมชาติแวดล้อม ส่วนใหญ่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ เช่น แม่น้ำที่พัดพาตะกอนไปทับถมบริเวณน้ำท่วม และปากแม่น้ำต้องใช้เวลานานจึงจะมีตะกอนมาก การกัดเซาะพังทลายของดินก็เช่นเดียวกัน ส่วนการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนั้นเกิดจากแรงภายในโลก เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด อื่น ๆ ได้แก่ อุทกภัยและวาตภัย ไฟป่า เป็นต้น ซึ่งภัยธรรมชาติดังกล่าวจะไม่เกิดบ่อยครั้งนัก สรุป มนุษย์เป็นตัวการสร้าง และทำลายสิ่งแวดล้อมมากกว่าธรรมชาติ ความสำคัญของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สหรัฐอเมริกา ได้ส่งดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก (Earth Resources Technology Satellite หรือ ERTS) ดวงแรกของโลกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 ดาวเทียมนี้จะโคจรรอบโลกจากขั้วโลกเหนือไปทางขั้วโลกใต้รวม 14 รอบต่อวันและจะโคจรกลับมาจุดเดิมอีกทุก ๆ 18 วัน ข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมจะมีทั้งรูปภาพและเทปสมองกลบันทึกไว้ ซึ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งในการช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติของโลก ส่วนประเทศไทยก็ได้รับข้อมูล และภาพที่เป็นประโยชน์ในด้านการเกษตร การสำรวจทางธรณีวิทยา ป่าไม้ การชลประทาน การประมง หลังจากที่สหรัฐส่งดาวเทียมดวงแรกได้ 1 ปีแล้ว ได้ส่งสกายแล็บ และดาวเทียมตามโครงการดังกล่าวอีก 2 ดวง ในปี พ.ศ. 2520 และ พ.ศ. 2522 นับว่ามีส่วนช่วยส่งเสริมพัฒนาความรู้ในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและการวางโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทุกชนิดบนพื้นโลก ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ ป่าไม้ สัตว์ป่าและปลา น้ำ ดิน อากาศ แร่ธาตุ มนุษย์และทุ่งหญ้า

ทรัพยากรนันทนาการ

 นันทนาการ หมายถึง การกระทำใด ๆ  ที่ทำให้เกิดความสุข ความพึงพอใจ สนุนสนาน เกิดความเลื่อมใสศรัทธา เสริมสร้างความรู้ และออกกำลังกาย การนันทนาการเปรียบเสมือนอาหารใจที่ทำให้คนเกิดความสมบูรณ์ทางด้านสมองและจิตใจ  ดังนั้นการนันทนาการจึงมีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าอาหารที่มนุษย์รับประทานเข้าไป จากการที่มนุษย์ต้องตรากตรำทำงานหนักตลอดทั้งวันหรือสัปดาห์ จะทำให้ร่างกายเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า สมองตึงเครียด และเบื่อหน่ายต่องานที่ทำ จึงจำเป็นที่ต้องหาเวลาพักผ่อนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานในการทำงานให้ดียิ่งขึ้น ดังจะเห็นได้จากวันสิ้นสุดสัปดาห์หรือวันหยุดเทศกาลต่าง ๆ ประชาชนชาวเมืองจะเดินทางออกไปพักผ่อนในชนบทที่อยู่ห่างไกลออกไป ในขณะที่คนในชนบทจะหลั่งไหลกันเข้าเมืองเพื่อพักผ่อนตามโรงภาพยนตร์ หรือแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและเลือกซื้อสินค้าตามศูนย์การค้าต่าง ๆ อย่างไรก็ตามการนันทนาการอาจจะทำได้หลายวิธีทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรสนิยม ความถนัด และความต้องการ ในสภาพปัจจุบันสถานที่นันทนาการจะเพิ่มความสำคัญมากยิ่งขึ้น เพราะการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี และมีเวลาว่าง จึงทำให้การเดินทางท่องเที่ยวเพื่อการพักผ่อนกระทำได้ไกลจากถิ่นที่อยู่มาก ซึ่งทำให้สถานที่นันทนาการทั้งทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่อยู่ห่างไกลออกไปจากย่านชุมชน มีผู้เข้าไปใช้บริการมากยิ่งขึ้น เอกชนบางแห่งได้หันมาลงทุนเพื่อดำเนินการทำธุรกิจทางด้านนันทนาการเป็นจำนวนมาก เป็นต้นว่า การจัดสร้างสวนสนุก สวนสัตว์ โรงภาพยนตร์ ศูนย์การค้า รีสอร์ต การบริการทางด้านการขนส่ง และสนามกีฬา ซึ่งธุรกิจเหล่านี้นอกจากจะทำรายได้ให้กับผู้ประกอบการอย่างดีแล้วยังช่วยในการสร้างงานให้กับประชาชนโดยทั่วไปอีกด้วย การนันทนาการจะทำได้หลายลักษณะ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเพศ วัย และความสนใจของแต่ละบุคคล ถ้าหากจะจัดชนิดของการนันทนาการตามหลักสากลแล้ว อาจจะแบ่งออกได้ 4 กลุ่มใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ การกีฬา การออกกำลังกาย เพื่อศึกษาหาความรู้ และเปลี่ยนบรรยากาศ ความสำคัญของสถานที่นันทนาการ สถานที่ที่่ใช้นันทนาการ สามารถมีหลายสถานที่เช่น สนามกีฬา สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ  สวนสัตว์ พิพิธภัณฑ์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ  วัด โรงมหรสพ ศูนย์การค้า เป็นต้น สถานที่ดังกล่าว เป็นแหล่งความรู้ เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้ยังเป็นการนำทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ และช่วยในการสร้างงานในท้องถิ่น สถานที่นันทนาการนับว่าเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่ง และเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำการบำรุงรักษาไว้ ทั้งนี้เพราะสถานที่นันทนาการจะเสื่อมสภาพไปตามกาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานที่นันทนาการทางวัฒนธรรม แม้แต่สถานที่นันทนาการทางธรรมชาติ เช่น ทะเลสาบ ชายหาด ถ้ำ น้ำตกและอื่น ๆ เมื่อมีผู้เข้าไปใช้บริการมาก ๆ จะทำให้เสื่อมโทรมและสกปรกได้เช่นเดียวกัน ถ้าหากไม่มีการบำรุงรักษาอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ  ทรัพยากรธรรมชาติ ในอดีต ประเทศไทยเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติทั้งบนบกและในน้ำ การเร่งรัดพัฒนาประเทศที่เริ่มต้นเมื่อกว่าสามสิบปีมาแล้ว โดยมิได้ระมัดระวังและให้ความสำคัญต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเท่าที่ควร ทำให้มีการตักตวง ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลืองมิได้คำนึงถึงอัตราการเกิดทดแทนหรือการฟื้นตัวตามธรรมชาติ ดังนั้นในปัจุบันทรัพยากรธรรมชาติของประเทศจึงอยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรม สร้างข้อจำกัดของการพัฒนาในระยะต่อไป ในขณะนี้จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่าย ทั้งส่วนราชการและเอกชนจะต้องหันมาสนใจ และร่วมมือกันเพื่อจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างจริงจัง ให้สามารถใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของประชาชน ทั้งในเมืองและในชนบท และการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนตลอดไปตามหลักวิชาการ จัดประเภททรัพยากรธรรมชาติ ออกเป็น 3 ประเภท ที่สำคัญดังนี้ ๑.      ทรัพยากรที่ใช้แล้วไม่หมด หรือสูญหายไป เราสามารถใช้ทรัพยากรประเภทนี้ได้อย่างไม่จำกัด เนื่องจากธรรมชาติสร้างให้มีใช้อยู่ตลอดเวลา ได้แก่ บรรยากาศน้ำที่อยู่ใน วัฎจักร ซึ่งเกิดจากการหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงของน้ำ กล่าวคือ เมื่อน้ำตามที่ต่างๆ ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ ก็จะระเหยกลายเป็นไอน้ำลอยขึ้นไปบนบรรยากาศเมื่อกระทบกับความเย็นก็จะ รวมตัวเป็นละอองน้ำเล็กๆ ลอยจับตัวกันเป็นกลุ่มเมฆ เมื่อจับตัวกันมากขึ้นและกระทบกับความเย็น ก็จะกลั่นตัวกลายเป็นหยดน้ำตกลงสู่พื้นโลก แล้วไหลลงสู่แม่น้ำ ลำธาร และไหลออกสู่ทะเล เป็นลักษณะของการเปลี่ยนแปลงหมุนเวียนต่อเนื่องกันตลอดเวลา ทำให้มีน้ำเกิดขึ้นบนผิวโลกอยู่สม่ำเสมอทรัพยากรประเภทนี้รวมทั้งแสงแดด ลม และทัศนียภาพที่สวยงามตามธรรมชาติ อีกด้วย๒.     ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดแต่สร้างทดแทนได้ ตัวอย่างเช่น ป่าไม้ ดิน ที่ดิน แหล่งน้ำ ทุ่งหญ้า และสัตว์ป่า เป็นต้น ทรัพยากรประเภทนี้เมื่อใช้แล้วจะสามารถสร้างขึ้นมาทดแทนได้ตามธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ อย่างไรก็ดีการใช้ประโยชน์ก็ต้องเป็นไปอย่างเหมาะสม ไม่ควรใช้มากเกินต้องการและเกินกว่าที่ธรรมชาติ จะสร้างขึ้นมาทดแทนได้ มิฉะนั้นทรัพยากรชนิดนั้นก็จะร่อยหรอ เสื่อมโทรมลง และสูญสิ้นไป การเสื่อมโทรมและสูญสิ้นก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรชนิดอื่นๆ ที่มีความสัมพันธ์ และอยู่ในสภาพแวดล้อมเดียวกัน๓.     ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป ไม่มีการสร้างทดแทนได้ เช่น แร่น้ำมัน ที่ดิน ในสภาพธรรมชาติ แหล่งที่เหมาะสมสำหรับศึกษาธรรมชาติแหล่งธรรมชาติที่หาดูได้ยาก แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว รวมทั้งสภาพธรรมชาติใดๆ ที่ถูกใช้ไปแล้วก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้เหมือนเดิมอีก เช่น แร่ธาตุ น้ำมัน เมื่อนำมา ใช้ประโยชน์ก็จะหมดสิ้นไป โดยธรรมชาติไม่อาจจะสร้างขึ้นทดแทนได้ในชั่วอายุของคนรุ่นปัจจุบันทรัพยากรประเภทนี้ควรใช้โดยประหยัดที่สุด คุ้มค่า และไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทรัพยากรประเภทที่ดินสวยงามในสภาพธรรมชาติ เช่น แพะเมืองผี ที่จังหวัดแพร่ เกิดจากการกัดกร่อนตามธรรมชาติ ทำให้มีรูปร่างลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยวผู้ไปเยี่ยมชมมากมาย เราจึงควรช่วยกันดูแลรักษาไว้ ให้คงสภาพตามธรรมชาติให้นานที่สุด การพัฒนา การพัฒนา คือ การเปลี่ยนแปลงชีวาลัย (Biosphere) อันเป็นบริเวณที่เป็นส่วนหนึ่งของโลกที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ได้แก่ บริเวณที่เป็นมหาสมุทร ที่ซึ่งมีน้ำจืด บรรยากาศและชั้นดินบางส่วน โดยการใช้ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพย์สินเงินทอง ทรัพยากรที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ และปรับปรุงชีวิตมนุษย์ให้มีคุณภาพ   

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 180 คน กำลังออนไลน์