• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a6b4daea69597edc0e607014b4f546a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"> ความหมาย       </span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">        สำนวน</span></strong> หมายถึง คำกล่าวสั้นๆๆ กระชับรัดกุ้ม แต่ไม่มีความหมายตรงตามตัวอักษร จะมีความหมายแปลกไปจากความหมายเดิมที่ใช้กันเป็นปกติในวัฒนธรรม เช่น <strong>จูงจมูก</strong> หมายถึง ยอมให้คนอื่นพาหรือนำไปทางไหน ทำอะไรก็ได้ <strong>ต่อยหอย</strong> หมายถึง พูดไม่หยุดปาก ถอยหลังเข้าคลอง หมายถึง ถอยกลับไปสู่ยุคเก่าหรือแบบเก่า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">       <span style=\"color: #0000ff\"> <strong>สุภาษิต</strong></span> หมายถึง ข้อความสั้นๆ กะทัดรัด แต่มีความหมายชัดเจนลึกซึ้ง มีคติสอนใจ หรือให้ความจริงเกี่ยวกับคววามคิดและแนวปฏิบัติ ซึ่สามารถพิสูจน์ เชื่อถือได้ เช่น <strong>แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        <span style=\"color: #0000ff\"><strong>คำพังเพย</strong></span> มีลักษณะคล้ายสุภาษิตและเกือบเป็นสุภาษิต แต่ไม่ได้สอนใจหรือให้ความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้โดยตรง เป็นคำกล่าวที่มีลักษณะติชม แสดงความเห็นอยู่ในตัว เช่น <strong>ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ</strong></span>\n</p>\n<p>\n       ถึงแม้จะสามารถแยกว่าคำไหนเป็น สำนวน สุภาษิต คำพังเพย แต่ในทางปฏบัติจริงๆมีปัญหามาก เพราะข้อความหรือคำกล่าวเช่นนี้มีจำนวนมากมีลักษณะคาบเกี่ยวอยู่ระหว่างสำนวน สุภาษิต คำพังเพย จนไม่อาจตัดสินเด็ดขาดว่าอยู่ไหนประเภทไหน เช่น น้ำขึ้นให้รีบตัก(เป็นสำนวน เพราะความหมายไม่ตรงตามอักษร เป็นคำพังเพย เพราะกล่าวติชมแสดงความเห็นเกี่ยวกับคนที่ฉวยโอกาส เป็นสุภาษิต เพราะให้คติสอนใจว่า เมื่อมีโอกาส จงรีบทำกิจการให้ได้รับผลสำเร็จ) น้ำลดต่อผุด (เป็นสำนวน เพาระ ความหมายไม่ตรงตามอักษร เป็นคำพังเพย เพราะ กล่าวติหรือเย้ยหยัน คนทำชั่วที่ความชั่วนั้นได้ปรากฏขึ้น เป็นสุภาษิต เพราะ สอนความจริงที่ว่า ความชั่ว ความผิดพลาดนั้น ไม่สามารถปิดบังได้ตลอดไป) เพราะเหตุนี้จะไม่เน้นความสามารถในการแยกประเภทแต่จะเน้นความหมาย เพื่อจะนำไปใช้ได้ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคลในสถานการณ์ต่างๆ(วัฒนธรรมในการใช้ภาษา)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n    \n</p>\n', created = 1715724146, expire = 1715810546, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a6b4daea69597edc0e607014b4f546a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหมายของสำนวน สุภาษิต และคำพังเพย

รูปภาพของ sss28818

 ความหมาย      

        สำนวน หมายถึง คำกล่าวสั้นๆๆ กระชับรัดกุ้ม แต่ไม่มีความหมายตรงตามตัวอักษร จะมีความหมายแปลกไปจากความหมายเดิมที่ใช้กันเป็นปกติในวัฒนธรรม เช่น จูงจมูก หมายถึง ยอมให้คนอื่นพาหรือนำไปทางไหน ทำอะไรก็ได้ ต่อยหอย หมายถึง พูดไม่หยุดปาก ถอยหลังเข้าคลอง หมายถึง ถอยกลับไปสู่ยุคเก่าหรือแบบเก่า

        สุภาษิต หมายถึง ข้อความสั้นๆ กะทัดรัด แต่มีความหมายชัดเจนลึกซึ้ง มีคติสอนใจ หรือให้ความจริงเกี่ยวกับคววามคิดและแนวปฏิบัติ ซึ่สามารถพิสูจน์ เชื่อถือได้ เช่น แพ้เป็นพระ ชนะเป็นมาร น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

        คำพังเพย มีลักษณะคล้ายสุภาษิตและเกือบเป็นสุภาษิต แต่ไม่ได้สอนใจหรือให้ความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้โดยตรง เป็นคำกล่าวที่มีลักษณะติชม แสดงความเห็นอยู่ในตัว เช่น ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ

       ถึงแม้จะสามารถแยกว่าคำไหนเป็น สำนวน สุภาษิต คำพังเพย แต่ในทางปฏบัติจริงๆมีปัญหามาก เพราะข้อความหรือคำกล่าวเช่นนี้มีจำนวนมากมีลักษณะคาบเกี่ยวอยู่ระหว่างสำนวน สุภาษิต คำพังเพย จนไม่อาจตัดสินเด็ดขาดว่าอยู่ไหนประเภทไหน เช่น น้ำขึ้นให้รีบตัก(เป็นสำนวน เพราะความหมายไม่ตรงตามอักษร เป็นคำพังเพย เพราะกล่าวติชมแสดงความเห็นเกี่ยวกับคนที่ฉวยโอกาส เป็นสุภาษิต เพราะให้คติสอนใจว่า เมื่อมีโอกาส จงรีบทำกิจการให้ได้รับผลสำเร็จ) น้ำลดต่อผุด (เป็นสำนวน เพาระ ความหมายไม่ตรงตามอักษร เป็นคำพังเพย เพราะ กล่าวติหรือเย้ยหยัน คนทำชั่วที่ความชั่วนั้นได้ปรากฏขึ้น เป็นสุภาษิต เพราะ สอนความจริงที่ว่า ความชั่ว ความผิดพลาดนั้น ไม่สามารถปิดบังได้ตลอดไป) เพราะเหตุนี้จะไม่เน้นความสามารถในการแยกประเภทแต่จะเน้นความหมาย เพื่อจะนำไปใช้ได้ถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคลในสถานการณ์ต่างๆ(วัฒนธรรมในการใช้ภาษา)

 

    

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 452 คน กำลังออนไลน์