คำกริยา

รูปภาพของ sss27847

 หน้าหลัก         ภาษาบาลี-สันสกฤต      ชนิดของคำ       อักษรควบกล้ำ      ชนิดของประโยค      ระดับภาษา     

 เสียงในภาษาไทย        อักษรคู่ - อักษรเดี่ยว      คำมูล - คำประสม      เสียงวรรณยุกต์      เสียงในภาษาไทย      

 คำซ้ำ - คำซ้อน      พยางค์และมาตราตัวสะกด         ไตรยางศ์           ธรรมชาติของภาษา          สรรพนาม

คำกริยา  คือคำแสดงอาการ  การกระทำของคำนาม  หรือ  สรรพนาม  หรือ แสดงการกระทำของประธาน  ในประโยค มี  ๔  ชนิด                              
        ๑.  สกรรมกริยา      คือ  กริยาที่ไม่สมบูรณ์ในตัวเอง  จะต้องมีกรรมมารับข้างท้าย  จึงจะได้ความสมบูรณ์  เช่น 
                                   ชาวบ้านยิงเสือ  เด็กนักเรียนถือ  พาน  ครูชมศิษย์


        ๒.  อกรรมกริยา     คือ  คำกริยาที่มีความหมายครบถ้วนสมบูรณ์ในตัวเอง  ไม่จำเป็นต้องมีกรรมมารับท้าย  เช่น
                     นายกรัฐมนตรีป่วย   นกเขาของเขาตายแล้ว  กระดาษปลิว


        ๓. วิกตรรถกริยา   หรือ  กริยาอาศัยส่วนเติมเต็ม  เป็นกริยาที่ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง  ต้องมีคำตามมาข้างหลัง  หรือมีคำมาเติมข้างท้ายจึงจะมีความสมบูรณ์  กริยาพวกนี้ได้แก่คำ   เป็น  เหมือน  คล้าย  เท่า  คือ  ดุจว่า  เช่น
                      ฉันเป็นครู  เธอเหมือนคุณแม่เธอ  แมวคล้ายเสือ  คนดีคือผู้มีเกียรติ


        ๔.  กริยานุเคราะห์  คือ กริยาที่ทำหน้าที่ช่วยหรือ  ประกอบกริยาสำคัญในประโยค  ได้แก่คำ  คง  พึง  กำลัง  ย่อม  น่า  จะ  จง  โปรด  เช่น
                                   โปรดงดบุหรี่  เราต้อง  ทำงาน  ฝนน่าจะตก

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 575 คน กำลังออนไลน์