• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7a6e42b65c677169303a22eb1cc7a79d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008080\"><img height=\"229\" width=\"600\" src=\"/files/u31708/00.gif\" border=\"0\" /> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008080\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #808080\">ตำนานนกปรอทหัวจุก</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008080\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       <span style=\"color: #000000\">นกกรงหัวจุก ที่เราๆท่านๆนำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้น มีตำนานเล่าสืบต่อกันมา และ มีหนังสือบางเล่มได้เขียนเอาไว้ว่า<br />\nชนชาติแรกที่นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงคือชาวจีน เมื่อประมาณ พ.ศ.2410 คนจีนได้นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้น<br />\nที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนน หรือ นั่งร้านกาแฟ หรือ ไปหาเพื่อนๆที่รู้ใจที่เลี้ยงนกเหมือนกัน<br />\nและเจ้านกโรบิ้น มักจะเป็นนกที่ตกใจง่าย และ ตื่นคน บางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช๊อคตายคากรง<br />\nดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนกันมาเลี้ยงนกปรอดหัวจุก หรือ นกหัวจุกกันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา<br />\nนกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น ในทวีปเอเซีย พบได้ประเทศจีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย อินเดีย<br />\nเวียดนาม กัมพูชา ลาว ส่วนใหญ่ เราจะพบนกชนิดนี้ได้ทั่วทุกภาคของประเทศ<br />\nนกกรงหัวจุกเป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนาน โดยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินโดนีเซีย สิงคโปร์<br />\nมาเลเซีย นั่นคือการแข่งขันประชันเสียงเพลงที่มีลีลาการร้องของสำนวนเสียง ในนกแต่ละตัวว่าใครจะเหนือกว่ากัน<br />\nแต่ในสมัยก่อนของภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส กระบี่ นครศรีธรรมราช<br />\nนิยมนำนกกรงหัวจุกมาชนกัน หรือ ตีกันเหมือนกับการชนไก่ คือ การนำนกมาเทียบขนาดให้ใกล้เคียงกันแล้วจับใส่กรงกลางที่มีขนาดใหญ่<br />\nแล้วปล่อยให้นกทั้งสองตัวไล่จิกตีกันภายในกรงจนกว่าจะรู้แพ้รู้ชนะ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า นกปรอดหัวจุกมีนิสัยดุร้าย<br />\nและชอบไล่จิก และ ตีกันตามธรรมชาติอยู่แล้ว<br />\nการแข่งขันนกกรงหัวจุก ได้มาเปลี่ยนแปลงไปเมื่อประมาณปี พ.ศ.2515 เพราะว่า ชาวจังหวัดสงขลา มีแนวความคิดที่จะเปลี่ยน<br />\nจากการตีกันมาเป็นแบบแข่งขันประชันเสียง โดยเอาแบบมาจากการแข่งขันของนกเขาชวา คือ นำนกป่า ที่ต่อมาได้นำมาเลี้ยง<br />\nและฝึกให้เกิดความเชื่องกับคนเลี้ยง หรือ เชื่องกับผู้ที่เป็นเจ้าของ พร้อมกับฝึกให้นกมีความสามารถในการร้องในลีลาต่างๆตามแต่ที่นกในแต่ละตัวจะทำได้<br />\nและผู้เล่นนกกรงหัวจุกก็เริ่มเปลี่ยนการละเล่นที่นำนกมาตีกัน มาเป็นอย่างเดียวกันกบนกเขาชวา คือ การเล่นฟังเสียงอันไพเราะของนก<br />\nจากนั้นการแข่งขันประชันเสียงของนกกรงหัวจุกก็เริ่มมีผู้นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ จึงได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อปี พ.ศ. 2519<br />\nที่สนามบริเวณหลังสถานีรถไฟ เมืองหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ซึ่งในการจัดครั้งนั้นถือว่า เป็นรายการใหญ่ที่สุดในยุคนั้น<br />\nและได้ยกเลิกการแข่งขันนกกรงหัวจุกในแบบตีกัน ต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ.2520 ทางจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้จัดให้มีการรวมกลุ่มผู้เลี้ยงนกกรงหัวจุก<br />\nโดยจัดตั้งขึ้นเป็นชมรม ซึ่งทำให้ทุกวันนี้มีชมรมต่างๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย<br />\nกรุงเทพมหานคร ได้มีการเล่นนกกรงหัวจุก เมื่อประมาณ พ.ศ. 2524 โดยมีกลุ่มคนทางภาคใต้นำเอากีฬาชนิดนี้เข้ามาเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จัก<br />\nและได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้น เป็นครั้งแรกที่ตลาดสวนจตุจักร<br />\nนับแต่นั้นมากระแสความนิยมแข่งขันประชันเสียงของนกกรงหัวจุกก็ได้รับความนิยมสืบมาจนถึงปัจจุบัน</span></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #000000\">ที่มา : <a href=\"http://www.noksiam.com/modules.php?name=Content&amp;pa=showpage&amp;pid=32\">http://www.noksiam.com/modules.php?name=Content&amp;pa=showpage&amp;pid=32</a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n<a href=\"/node/79984\"><img height=\"111\" width=\"204\" src=\"/files/u31708/01.jpg\" border=\"0\" /></a>        <a href=\"/node/80002\"><img height=\"111\" width=\"204\" src=\"/files/u31708/02.jpg\" border=\"0\" /></a>        <a href=\"/node/80003\"><img height=\"111\" width=\"204\" src=\"/files/u31708/16.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/80004\"><img height=\"111\" width=\"204\" src=\"/files/u31708/25.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1728325181, expire = 1728411581, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7a6e42b65c677169303a22eb1cc7a79d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติของนกปรอทหัวจุก

รูปภาพของ sss27524

 

ตำนานนกปรอทหัวจุก

 

       นกกรงหัวจุก ที่เราๆท่านๆนำมาแข่งขันประชันเสียงกันนั้น มีตำนานเล่าสืบต่อกันมา และ มีหนังสือบางเล่มได้เขียนเอาไว้ว่า
ชนชาติแรกที่นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงคือชาวจีน เมื่อประมาณ พ.ศ.2410 คนจีนได้นำนกปรอดหัวจุกมาเลี้ยงแทนนกโรบิ้น
ที่คนจีนส่วนใหญ่นิยมนำมาใส่กรงพาเดินไปตามถนน หรือ นั่งร้านกาแฟ หรือ ไปหาเพื่อนๆที่รู้ใจที่เลี้ยงนกเหมือนกัน
และเจ้านกโรบิ้น มักจะเป็นนกที่ตกใจง่าย และ ตื่นคน บางครั้งตกใจมากจนถึงขั้นช๊อคตายคากรง
ดังนั้นจึงเป็นเหตุให้ชาวจีนกันมาเลี้ยงนกปรอดหัวจุก หรือ นกหัวจุกกันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
นกกรงหัวจุกมีถิ่นอาศัยอยู่ในแถบประเทศที่มีอากาศร้อนชื้น ในทวีปเอเซีย พบได้ประเทศจีน มาเลเซีย อินโดนีเซีย อินเดีย
เวียดนาม กัมพูชา ลาว ส่วนใหญ่ เราจะพบนกชนิดนี้ได้ทั่วทุกภาคของประเทศ
นกกรงหัวจุกเป็นที่นิยมของคนภาคใต้มายาวนาน โดยได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างอินโดนีเซีย สิงคโปร์
มาเลเซีย นั่นคือการแข่งขันประชันเสียงเพลงที่มีลีลาการร้องของสำนวนเสียง ในนกแต่ละตัวว่าใครจะเหนือกว่ากัน
แต่ในสมัยก่อนของภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส กระบี่ นครศรีธรรมราช
นิยมนำนกกรงหัวจุกมาชนกัน หรือ ตีกันเหมือนกับการชนไก่ คือ การนำนกมาเทียบขนาดให้ใกล้เคียงกันแล้วจับใส่กรงกลางที่มีขนาดใหญ่
แล้วปล่อยให้นกทั้งสองตัวไล่จิกตีกันภายในกรงจนกว่าจะรู้แพ้รู้ชนะ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า นกปรอดหัวจุกมีนิสัยดุร้าย
และชอบไล่จิก และ ตีกันตามธรรมชาติอยู่แล้ว
การแข่งขันนกกรงหัวจุก ได้มาเปลี่ยนแปลงไปเมื่อประมาณปี พ.ศ.2515 เพราะว่า ชาวจังหวัดสงขลา มีแนวความคิดที่จะเปลี่ยน
จากการตีกันมาเป็นแบบแข่งขันประชันเสียง โดยเอาแบบมาจากการแข่งขันของนกเขาชวา คือ นำนกป่า ที่ต่อมาได้นำมาเลี้ยง
และฝึกให้เกิดความเชื่องกับคนเลี้ยง หรือ เชื่องกับผู้ที่เป็นเจ้าของ พร้อมกับฝึกให้นกมีความสามารถในการร้องในลีลาต่างๆตามแต่ที่นกในแต่ละตัวจะทำได้
และผู้เล่นนกกรงหัวจุกก็เริ่มเปลี่ยนการละเล่นที่นำนกมาตีกัน มาเป็นอย่างเดียวกันกบนกเขาชวา คือ การเล่นฟังเสียงอันไพเราะของนก
จากนั้นการแข่งขันประชันเสียงของนกกรงหัวจุกก็เริ่มมีผู้นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ จึงได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อปี พ.ศ. 2519
ที่สนามบริเวณหลังสถานีรถไฟ เมืองหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ซึ่งในการจัดครั้งนั้นถือว่า เป็นรายการใหญ่ที่สุดในยุคนั้น
และได้ยกเลิกการแข่งขันนกกรงหัวจุกในแบบตีกัน ต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ.2520 ทางจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้จัดให้มีการรวมกลุ่มผู้เลี้ยงนกกรงหัวจุก
โดยจัดตั้งขึ้นเป็นชมรม ซึ่งทำให้ทุกวันนี้มีชมรมต่างๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย
กรุงเทพมหานคร ได้มีการเล่นนกกรงหัวจุก เมื่อประมาณ พ.ศ. 2524 โดยมีกลุ่มคนทางภาคใต้นำเอากีฬาชนิดนี้เข้ามาเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จัก
และได้จัดให้มีการแข่งขันขึ้น เป็นครั้งแรกที่ตลาดสวนจตุจักร
นับแต่นั้นมากระแสความนิยมแข่งขันประชันเสียงของนกกรงหัวจุกก็ได้รับความนิยมสืบมาจนถึงปัจจุบัน

ที่มา : http://www.noksiam.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=32


                

รูปภาพของ ssspoonsak

เป็นกำลังใจ ขอมอบลูกไก่ให้ไปเลี้ยงจ้า

 

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 362 คน กำลังออนไลน์