• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9ec03ec26b5671a0f928897090f653b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><meta content=\"Word.Document\" name=\"ProgId\" /><br />\n<meta content=\"Microsoft Word 11\" name=\"Generator\" /><br />\n<meta content=\"Microsoft Word 11\" name=\"Originator\" /></p>\n<link href=\"file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C04%5Cclip_filelist.xml\" rel=\"File-List\" />\n<style>\n<!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-parent:\"\";\nmargin:0cm;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page Section1\n{size:595.3pt 841.9pt;\nmargin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt;\nmso-header-margin:35.4pt;\nmso-footer-margin:35.4pt;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n{page:Section1;}\n--><!--\n/* Font Definitions */\n@font-face\n{font-family:\"Angsana New\";\npanose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\nmso-font-charset:0;\nmso-generic-font-family:roman;\nmso-font-pitch:variable;\nmso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n/* Style Definitions */\np.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n{mso-style-parent:\"\";\nmargin:0cm;\nmargin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:12.0pt;\nmso-bidi-font-size:14.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\n@page Section1\n{size:595.3pt 841.9pt;\nmargin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt;\nmso-header-margin:35.4pt;\nmso-footer-margin:35.4pt;\nmso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n{page:Section1;}\n--></style><p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 16pt\">ไต้ฝุ่น</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 16pt\">ไต้ฝุ่นเกิดได้ ยังไงใครไม่รู้ลองมาดูกันดีกว่า</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">      <span style=\"color: #99cc00\">&quot;<span lang=\"TH\">ไต้ฝุ่น&quot; (</span>typhoon<span lang=\"TH\">) เป็นพายุหมุนเขตร้อน เกิดก่อตัวในทะเล ทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ เช่น บริเวณทะเลจีนใต้ อ่าวไทย อ่าวตังเกี๋ย ประเทศญี่ปุ่น ทั้งนี้ไต้ฝุ่นมีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางบริเวณผิวพื้นตั้งแต่ </span>64 <span lang=\"TH\">นอตขึ้นไป (</span>118 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร ต่อชั่วโมง) แต่ถ้ามีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางบริเวณพื้นผิวมากกว่า </span>130 <span lang=\"TH\">นอต</span> (241 <span lang=\"TH\">กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง) เรียกพายุหมุนนี้ว่า &quot;ซุปเปอร์ไต้ฝุ่น&quot; (</span>Supper Typhoon<span lang=\"TH\">) ที่รุนแรงยิ่ง</span><br />\n</span><span style=\"color: #003366\">         <span lang=\"TH\"> ศ.ดร.จอห์นนี่ ซี.แอล. ชาน นัก วิทยาศาสตร์ด้านชั้นบรรยากาศ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโคโลราโด ผู้เคยทำหน้าที่ นักสังเกตการณ์ด้าน อุตุนิยมวิทยา สถาบันรอยัล ออบเซอร์เวตอรี ฮ่องกง อธิบายถึงใต้ฝุ่น ว่า เนื่องจากบริเวณเขตร้อนมีน่านน้ำอุ่น ที่สุดในโลกอยู่ทางฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้ จึงเป็นแหล่ง กำเนิดพายุลูกใหญ่และ รุนแรงที่สุด ซึ่งเมื่อก่อตัวในระยะทาง </span>200 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร จะมีความรุนแรงสูง วัดความกว้างแนวตั้ง </span>16 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร แนวนอน </span>800 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร ก่อนจะพัดเข้า สู่ชายฝั่งตรงบริเวณเกาะ ฮ่องกง ครอบคลุมถึงจีน เวียดนาม ลาว กัมพูชา และประเทศไทย หากเกิดเหนือ เส้นศูนย์สูตรจะมีทิศทาง การหมุนทวนเข็มนาฬิกา หากเกิดใต้เส้น ศูนย์สูตรจะหมุนตามเข็มนาฬิกา </span><o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #003366; font-size: 16pt\">ย้อน ไป </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #003366; font-size: 16pt\">50 <span lang=\"TH\">ปีก่อน คือ พ.ศ.</span>2499 <span lang=\"TH\">เคยเกิดขึ้นมา แล้วครั้งหนึ่ง ไต้ฝุ่นลูกนั้นชื่อ วันเดอร์ ซัดเข้าอ่าวโทโล คร่าชีวิตผู้คนไป </span>127 <span lang=\"TH\">คน และจากสถิติพายุไต้ฝุ่นในแถบฮ่องกง ล่าสุดได้รับการยืนยันว่าทวีความรุนแรงขึ้น จึง เชื่อว่าในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าเกาะฮ่องกงจะเกิดไต้ฝุ่นที่เรียกว่าซุปเปอร์ ไต้ฝุ่นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงตุลาคมของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงอุณหภูมิน้ำอุ่นสูง </span>28 <span lang=\"TH\">องศา</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><br />\n<span style=\"color: #33cccc\">        <span lang=\"TH\"> สำหรับประเทศไทย จากสถิติ </span>48 <span lang=\"TH\">ปี ระหว่าง พ.ศ.</span>2494-2541 <span lang=\"TH\">พบว่าพายุหมุนที่ เคลื่อน เข้าสู่ประเทศไทย </span>164 <span lang=\"TH\">ลูก ส่วนใหญ่เป็นดีเปรสชั่น มี </span>11 <span lang=\"TH\">ครั้งที่ไม่ใช่ และ </span>1 <span lang=\"TH\">ครั้ง ที่เป็นไต้ฝุ่น นั่นคือ </span>&quot;<span lang=\"TH\">เกย์&quot; ที่มีศูนย์กลางอยู่ในอ่าวไทยทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ อ.เมือง จ.ชุมพร เคลื่อนตัวเข้า สู่ฝั่งบริเวณ อ.ปะทิว และ อ.ท่าแซะ ชุมพร ด้วยความเร็วประมาณ </span>130 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร ต่อชั่วโมง เมื่อ </span>4 <span lang=\"TH\">พฤศจิกายน </span>2532</span><br />\n<span style=\"color: fuchsia\">       <span lang=\"TH\"> ก่อให้เกิดฝนตกหนักตั้งแต่ จ.เพชรบุรี ลงไป โดยเฉพาะ จ.ชุมพรและประจวบคีรีขันธ์ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ต้นไม้ใหญ่ เสาไฟฟ้า อาคารบ้านเรือนเรือกสวนไร่นาพินาศในชั่วระยะเวลา </span>3-4 <span lang=\"TH\">ชั่วโมงที่เกย์โหม เรือประมง เรือเดินทะเล และเรือขุดเจาะสำรวจก๊าซธรรมชาติได้ รับความเสียหายและประสบภัยพิบัติหลายร้อยลำ ผู้ คนเสียชีวิตทั้งบนบกและในทะเลไม่ต่ำกว่า </span>1,000 <span lang=\"TH\">คน นับเป็นพายุที่ก่อให้เกิดความ เสียหาย มากที่สุดในประเทศไทย </span><o:p></o:p></span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 16pt\"><br />\n</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: fuchsia\"><o:p></o:p></span>  <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: fuchsia\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span></p>\n', created = 1728483682, expire = 1728570082, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9ec03ec26b5671a0f928897090f653b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไต้ฝุ่น



ไต้ฝุ่น ไต้ฝุ่นเกิดได้ ยังไงใครไม่รู้ลองมาดูกันดีกว่า       "ไต้ฝุ่น" (typhoon) เป็นพายุหมุนเขตร้อน เกิดก่อตัวในทะเล ทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ เช่น บริเวณทะเลจีนใต้ อ่าวไทย อ่าวตังเกี๋ย ประเทศญี่ปุ่น ทั้งนี้ไต้ฝุ่นมีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางบริเวณผิวพื้นตั้งแต่ 64 นอตขึ้นไป (118 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง) แต่ถ้ามีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางบริเวณพื้นผิวมากกว่า 130 นอต (241 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง) เรียกพายุหมุนนี้ว่า "ซุปเปอร์ไต้ฝุ่น" (Supper Typhoon) ที่รุนแรงยิ่ง
          ศ.ดร.จอห์นนี่ ซี.แอล. ชาน นัก วิทยาศาสตร์ด้านชั้นบรรยากาศ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโคโลราโด ผู้เคยทำหน้าที่ นักสังเกตการณ์ด้าน อุตุนิยมวิทยา สถาบันรอยัล ออบเซอร์เวตอรี ฮ่องกง อธิบายถึงใต้ฝุ่น ว่า เนื่องจากบริเวณเขตร้อนมีน่านน้ำอุ่น ที่สุดในโลกอยู่ทางฝั่งตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้ จึงเป็นแหล่ง กำเนิดพายุลูกใหญ่และ รุนแรงที่สุด ซึ่งเมื่อก่อตัวในระยะทาง 200 กิโลเมตร จะมีความรุนแรงสูง วัดความกว้างแนวตั้ง 16 กิโลเมตร แนวนอน 800 กิโลเมตร ก่อนจะพัดเข้า สู่ชายฝั่งตรงบริเวณเกาะ ฮ่องกง ครอบคลุมถึงจีน เวียดนาม ลาว กัมพูชา และประเทศไทย หากเกิดเหนือ เส้นศูนย์สูตรจะมีทิศทาง การหมุนทวนเข็มนาฬิกา หากเกิดใต้เส้น ศูนย์สูตรจะหมุนตามเข็มนาฬิกา
ย้อน ไป 50 ปีก่อน คือ พ.ศ.2499 เคยเกิดขึ้นมา แล้วครั้งหนึ่ง ไต้ฝุ่นลูกนั้นชื่อ วันเดอร์ ซัดเข้าอ่าวโทโล คร่าชีวิตผู้คนไป 127 คน และจากสถิติพายุไต้ฝุ่นในแถบฮ่องกง ล่าสุดได้รับการยืนยันว่าทวีความรุนแรงขึ้น จึง เชื่อว่าในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าเกาะฮ่องกงจะเกิดไต้ฝุ่นที่เรียกว่าซุปเปอร์ ไต้ฝุ่นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงตุลาคมของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงอุณหภูมิน้ำอุ่นสูง 28 องศา
         สำหรับประเทศไทย จากสถิติ 48 ปี ระหว่าง พ.ศ.2494-2541 พบว่าพายุหมุนที่ เคลื่อน เข้าสู่ประเทศไทย 164 ลูก ส่วนใหญ่เป็นดีเปรสชั่น มี 11 ครั้งที่ไม่ใช่ และ 1 ครั้ง ที่เป็นไต้ฝุ่น นั่นคือ "เกย์" ที่มีศูนย์กลางอยู่ในอ่าวไทยทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ อ.เมือง จ.ชุมพร เคลื่อนตัวเข้า สู่ฝั่งบริเวณ อ.ปะทิว และ อ.ท่าแซะ ชุมพร ด้วยความเร็วประมาณ 130 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง เมื่อ 4 พฤศจิกายน 2532
        ก่อให้เกิดฝนตกหนักตั้งแต่ จ.เพชรบุรี ลงไป โดยเฉพาะ จ.ชุมพรและประจวบคีรีขันธ์ได้รับความเสียหายอย่างหนัก ต้นไม้ใหญ่ เสาไฟฟ้า อาคารบ้านเรือนเรือกสวนไร่นาพินาศในชั่วระยะเวลา 3-4 ชั่วโมงที่เกย์โหม เรือประมง เรือเดินทะเล และเรือขุดเจาะสำรวจก๊าซธรรมชาติได้ รับความเสียหายและประสบภัยพิบัติหลายร้อยลำ ผู้ คนเสียชีวิตทั้งบนบกและในทะเลไม่ต่ำกว่า 1,000 คน นับเป็นพายุที่ก่อให้เกิดความ เสียหาย มากที่สุดในประเทศไทย

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 412 คน กำลังออนไลน์