• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7e915c00a41437dac17559760493a46f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                              </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span style=\"color: #800080\"> </span><span style=\"color: #000000\">หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #800080\">                       วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไทยและของโลก</span></span><span style=\"font-size: 20pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: Times New Roman\">      </span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: Times New Roman\">       </span></span></span></span> </p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: Times New Roman\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt\"><span><span style=\"font-family: Times New Roman\">           </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลกได้สะสมขึ้นนับตั้งแต่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมเมื่อราว 200 ปีที่ผ่านมา โดนการสร้างโรงงานอุตสาหกรรมในทวีปยุโรปและประเทศสหรัฐอเมริกานั้นทำให้มีการนำพลังงานถ่านหินและน้ำมันมาใช้มากขึ้น เป็นการเพิ่มมลพิษให้แก่สิ่งแวดล้อมจากสารที่ผสมอยู่ในน้ำมันต่อมาในกลางศตวรรษที่ 20 การพัฒนาการเกษตรยุคใหม่ได้หันมาใช้ปุ๋ยเคมีและยาฆ่าแมลง ซึ่งส่งผลให้สารเคมีเกิดการแพร่กระจายไปในน้ำ อากาศ ดิน และในห่วงโซ่อาหาร </span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมที่สะสมทำให้เริ่มตระหนักว่าเป็นปัญหาของโลก คือ การเกิดภาวะฝนแล้งและอุณหภูมิของโลกที่ร้อน ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศและการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทำให้เมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมาโลกได้หันมาสนใจต่อสิ่งแวดล้อม แต่แม้ว่าปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมได้รุนแรงถึงขั้นวิกฤตแล้ว ความตระหนักในการร่วมกันแก้ไขปัญหานั้นก็ยังคงมีความแตกต่างกันอยู่มาก ในปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เข้าสู่ภาวะวิกฤต มีดังนี้</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>               </span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>            </span><span style=\"color: #ff0000\">4.1 การ</span><span style=\"color: #ff0000\">เกิดแผ่นดินไหว</span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>ในระยะหลังนี้ได้เกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงขึ้นหลายครั้งในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งต่อชีวิตของมนุษย์และระบบสาธารณูปโภคอย่างมาก เช่น ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ได้เกิดแผ่นดินไหวที่ประเทศอิหร่าน วัดความรุนแรงได้ 6.8 ริกเตอร์ ซึ่งทำให้บ้านเรือนเสียหายและมีผู้เสียชีวิตไม่ต่ำกว่า 35</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">,</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">000 คน เป็นต้น</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหวยังทำให้เกิดคลื่นยักษ์ในทะเล ที่เรียกว่า สึนามิ (</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">Tsunami</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)<span>  </span>ซึ่งสร้างความเสียหายต่อเมืองที่อยู่ตาชายฝั่งทะเลเป็นอย่างมาก เช่น การเกิดสึนามิจากการเกิดแผ่นดินไหวที่มีศูนย์กลางในมหาสมุมทรอินเดีย ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ขนาด 9.0 ริกเตอร์<span>  </span>ในปลาย พ.ศ. 2547 ทำให้เกิดสึนามิซัดเข้าชายฝั่งของประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อกับมหาสมุทรอินเดีย เช่น ประเทศไทย อินเดีย ศรีลังกาและมัลดีฟส์ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>              </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff0000\">4.2 ภาวะโลกร้อน</span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>อุณหภูมิของโลกได้ร้อนขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลา 50 ปีที่ผ่านมา<span>  </span>การที่อุณหภูมิของโลกที่ร้อนขึ้นนั้นเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศโดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน (</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">CFCs</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">)<span>  </span>มีเทนและไนตรัสออกไซด์ อุณหภูมิของโลกที่ร้อนขึ้น นอกจากจะทำให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์แล้วยังเกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศของโลก เช่น ทำให้ปะการังตามแนวชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียตาย เกิดไฟป่าทำให้สูญเสียป่าไม้และสัตว์ป่า อีกทั้งทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอย่างน้อย 17 เซนติเมตร เป็นต้น นอกจากนี้อุณหภูมที่สูงขึ้นของโลกยังก่อให้เกิดโรคระบาดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์เลี้ยง ซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของโลกอีกด้วย </span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>              </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span><span style=\"color: #ff0000\">4.3 น้ำเสียและการขาดแคลนน้ำ</span> </span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>จากภาวะโลกร้อนแม้จะทำให้ปริมาณน้ำผิวดินเพิ่มขึ้น แต่ก็ไม่อยู่ในสภาพที่สามารถนำมาใช้อุปโภคบริโภคได้ เนื่องจากอยู่ในรูปของน้ำเค็ม ในขณะเดียวกันน้ำในแหล่งที่ใช้อุปโภคบริโภคกลับมีสารพิษเพิ่มขึ้นไม่สามารถนำมใช้ได้อีกทั้งยังมีความต้องการใช้น้ำมากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากรโลก การขยายตัวของอุตสาหกรรมและใช้สำหรับเพาะปลูก แหล่งที่มาของน้ำเสียนอกจากจะเกิดขึ้น โดยการชะล้างสารพิษในอากาศของน้ำฝนหรือหิมะแล้ว ยังเกิดจากสารพิษในน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาที่ขาดระบบบำบัดและการควบคุมการทิ้งของเสีย</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>แม้ในปัจจุบันในประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศในทวีปยุโรป จะมีการปรับปรุงคุณภาพน้ำในแม่น้ำให้ดีขึ้นแล้ว แต่ในหลายประเทศยังประสบปัญหาน้ำเสียจนไม่สามารถนำมาอุปโภคบริโภคได้ เช่น แม่น้ำยมุนาในประเทศอินเดีย แม่น้ำวิสทุลา ในประเทศโปแลนด์ แม่น้ำในประเทศจีน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย เป็นต้น</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>การขาดแคลนน้ำใช้จะรุนแรงยิ่งขึ้นในฤดูร้อน โดยทวีปแอฟริกาขาดแคลนน้ำมากที่สุด รองลงไปเป็นภูมิภาค ตะวันออกกลาง ประเทศอินเดีย และบริเวณที่ราบตอนเหนือของประเทศจีน เนื่องจากน้ำในแหล่งน้ำมีน้อยทั้งประเภทน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>               </span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>              <span style=\"color: #ff0000\"> </span></span><span style=\"color: #ff0000\">4.4 อากาศเสีย</span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>   </span>อากาศเสียหรืออากาศเป็นพิษนับวันจะมีปัญหาเพิ่มมากขึ้น และจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์โดยตรง ในแต่ละปีทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากอากาศเป็นพิษนับแสนคนโดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนภูมิภาคยุโรปตะวันออกและประเทศจีนอากาศเป็นพิษเกิดจากการทำเหมืองถ่านหินและการใช้ถ่านหินในโรงงานอุตสาหกรรม เกิดสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์และเขม่าควันเข้าสู่บรรยากาศ ทำให้เกิดโรคหอบหืด หลอดลมอักเสบและถุงลมโป่งพอง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>สารพิษที่เกิดจากการใช้น้ำมันในรถยนต์ ได้แก่ ไนโตรเจนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ ตะกั่ว และไฮโดรคาร์บอน มีผลต่อสุขภาพอนามัยโดยเฉพาะโรคระบบทางเดินหายใจ ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาทและอาจเป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>เมืองสำคัญหลายแห่งที่มีซัลเฟอร์ไดออกไซด์และสารแขวนลอยในอากาศเกินมาตรฐานได้แก่ นิวเดลี ซีอาน ปักกิ่ง เตหะราน กรุงเทพฯ มาดริด กัวลาลัมเปอร์ ซาเกร็บ เซาเปาลู ปารีส นิวยอร์ก มิลาน และโซล </span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>           <span style=\"color: #ff0000\"> </span></span><span style=\"color: #ff0000\">4.5 การสูญเสียป่าไม้และสัตว์ป่า</span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>ในอดีตโลกมีพื้นที่ป่าไม้อยู่ประมาณร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดหรือประมาณ 37</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">,</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">800 ล้านไร่ แต่ในปัจจุบันพื้นที่ป่าไม้ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั้งหมดหรือประมาณ 22</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">,</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">500 ล้านไร่เท่านั้น โดยการสูญเสียป่าไม้นั้นมีสาเหตุมาจากการตัดไม้ไปใช้เป็นสินค้า สร้างที่อยู่อาศัยความต้องการพื้นที่ในการเพาะปลูกและการเกิดไฟป่า ซึ่งปัจจุบันเนื่องจากโลกยังมีอุณหภูมิสูงขึ้นทำให้เกิดไฟป่าขึ้นบ่อยครั้ง ทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส และอินโดนีเซีย </span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>นอกจากนี้การสูญเสียป่าไม้เท่ากับเป็นการทำลายแหล่งที่อยู่อาศัยและอาหารของสัตว์ป่าการลดลงของพื้นที่ป่าจึงทำให้สัตว์ป่าลดลงหรือสูญพันธุ์ไป อีกทั้งการจับสัตว์ป่าไปขายเป็นสินค้าหรืออาหารก็ทำให้สัตว์ป่าลดลงเช่นกัน</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ป่าไม้และสัตว์ป่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของระบบนิเวศ และป่าไม้ก็มีความสัมพันธ์กับทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เช่น ความชุ่มชื้นของดินฟ้าอากาศ ช่วยควบคุมปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ ทำให้ฝนตกและช่วยลดการพังทลายของดิน เป็นต้น การสูญเสียป่าไม้จึงเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหาสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ด้วย</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>              </span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>               </span><span style=\"color: #ff0000\">4.6 ปัญหาพลังงาน</span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>พลังงานเป็นปัจจัยสำคัญของการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน โดยใช้ยานพาหนะทุกชนิด การใช้แสงสว่าง เครื่องใช้ในบ้านเรือน ตลอดจนเกษตรกรรม แต่ในขณะที่มีความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นปริมาณพลังงานที่มีอยู่อย่างจำกัดจึงทำให้ราคาสูงขึ้น มีผลกระทบต่อฐานะทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก ประชาชนในบางประเทศก็ยังคงใช้พลังงานจากไม้ในการหุงต้มและการให้ความร้อน การขาดแคลนป่าไม้ก็ยิ่งทำให้ชีวิตที่ดำรงอยู่กับธรรมชาติลำบากยิ่งขึ้น ส่วนประเทศผู้บริโภคน้ำมันก็ต้องซื้อน้ำมันในราคาที่แพงขึ้น ทำให้สินค้าในประเทศมีราคาแพงตามไปด้วย</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ปัญหาของการใช้พลังงานนอกจากเป็นทรัพยากรที่มีจำกัดและราคาแพงแล้ว การใช้พลังงานยังก่อให้เกิดสารพิษในสิ่งแวดล้อม เกิดการเปลี่ยนแปลงของดินฟ้าอากาศ และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ตามมา</span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nแหล่งอ้างอิง  :  หนังสือภูมิศาสตร์ ม.4 - ม.6 , รศ.ดร.อภิสิทธิ์  เอี่ยมหน่อ  รศ.ดร.วินัย  วีระวัฒนานนท์ ผศ.วิโรจน์ เอี่ยมเจริญ. บริษัทอักษรเจริญทัศน์. 2544. \n</p>\n', created = 1727093971, expire = 1727180371, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7e915c00a41437dac17559760493a46f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

รูปภาพของ sila15722

                             

  หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

                       วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไทยและของโลก             

           ปัญหาสิ่งแวดล้อมของโลกได้สะสมขึ้นนับตั้งแต่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมเมื่อราว 200 ปีที่ผ่านมา โดนการสร้างโรงงานอุตสาหกรรมในทวีปยุโรปและประเทศสหรัฐอเมริกานั้นทำให้มีการนำพลังงานถ่านหินและน้ำมันมาใช้มากขึ้น เป็นการเพิ่มมลพิษให้แก่สิ่งแวดล้อมจากสารที่ผสมอยู่ในน้ำมันต่อมาในกลางศตวรรษที่ 20 การพัฒนาการเกษตรยุคใหม่ได้หันมาใช้ปุ๋ยเคมีและยาฆ่าแมลง ซึ่งส่งผลให้สารเคมีเกิดการแพร่กระจายไปในน้ำ อากาศ ดิน และในห่วงโซ่อาหาร  ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมที่สะสมทำให้เริ่มตระหนักว่าเป็นปัญหาของโลก คือ การเกิดภาวะฝนแล้งและอุณหภูมิของโลกที่ร้อน ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศและการดำรงชีวิตของมนุษย์ ทำให้เมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมาโลกได้หันมาสนใจต่อสิ่งแวดล้อม แต่แม้ว่าปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมได้รุนแรงถึงขั้นวิกฤตแล้ว ความตระหนักในการร่วมกันแก้ไขปัญหานั้นก็ยังคงมีความแตกต่างกันอยู่มาก ในปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เข้าสู่ภาวะวิกฤต มีดังนี้               

            4.1 การเกิดแผ่นดินไหว  ในระยะหลังนี้ได้เกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงขึ้นหลายครั้งในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งต่อชีวิตของมนุษย์และระบบสาธารณูปโภคอย่างมาก เช่น ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 ได้เกิดแผ่นดินไหวที่ประเทศอิหร่าน วัดความรุนแรงได้ 6.8 ริกเตอร์ ซึ่งทำให้บ้านเรือนเสียหายและมีผู้เสียชีวิตไม่ต่ำกว่า 35,000 คน เป็นต้น ผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหวยังทำให้เกิดคลื่นยักษ์ในทะเล ที่เรียกว่า สึนามิ (Tsunami)  ซึ่งสร้างความเสียหายต่อเมืองที่อยู่ตาชายฝั่งทะเลเป็นอย่างมาก เช่น การเกิดสึนามิจากการเกิดแผ่นดินไหวที่มีศูนย์กลางในมหาสมุมทรอินเดีย ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ขนาด 9.0 ริกเตอร์  ในปลาย พ.ศ. 2547 ทำให้เกิดสึนามิซัดเข้าชายฝั่งของประเทศที่มีอาณาเขตติดต่อกับมหาสมุทรอินเดีย เช่น ประเทศไทย อินเดีย ศรีลังกาและมัลดีฟส์ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก  

              4.2 ภาวะโลกร้อน  อุณหภูมิของโลกได้ร้อนขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลา 50 ปีที่ผ่านมา  การที่อุณหภูมิของโลกที่ร้อนขึ้นนั้นเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศโดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFCs)  มีเทนและไนตรัสออกไซด์ อุณหภูมิของโลกที่ร้อนขึ้น นอกจากจะทำให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์แล้วยังเกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศของโลก เช่น ทำให้ปะการังตามแนวชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียตาย เกิดไฟป่าทำให้สูญเสียป่าไม้และสัตว์ป่า อีกทั้งทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอย่างน้อย 17 เซนติเมตร เป็นต้น นอกจากนี้อุณหภูมที่สูงขึ้นของโลกยังก่อให้เกิดโรคระบาดที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสัตว์เลี้ยง ซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของโลกอีกด้วย                

               4.3 น้ำเสียและการขาดแคลนน้ำ  จากภาวะโลกร้อนแม้จะทำให้ปริมาณน้ำผิวดินเพิ่มขึ้น แต่ก็ไม่อยู่ในสภาพที่สามารถนำมาใช้อุปโภคบริโภคได้ เนื่องจากอยู่ในรูปของน้ำเค็ม ในขณะเดียวกันน้ำในแหล่งที่ใช้อุปโภคบริโภคกลับมีสารพิษเพิ่มขึ้นไม่สามารถนำมใช้ได้อีกทั้งยังมีความต้องการใช้น้ำมากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากรโลก การขยายตัวของอุตสาหกรรมและใช้สำหรับเพาะปลูก แหล่งที่มาของน้ำเสียนอกจากจะเกิดขึ้น โดยการชะล้างสารพิษในอากาศของน้ำฝนหรือหิมะแล้ว ยังเกิดจากสารพิษในน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนาที่ขาดระบบบำบัดและการควบคุมการทิ้งของเสีย แม้ในปัจจุบันในประเทศที่พัฒนาแล้ว เช่น ประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา และประเทศในทวีปยุโรป จะมีการปรับปรุงคุณภาพน้ำในแม่น้ำให้ดีขึ้นแล้ว แต่ในหลายประเทศยังประสบปัญหาน้ำเสียจนไม่สามารถนำมาอุปโภคบริโภคได้ เช่น แม่น้ำยมุนาในประเทศอินเดีย แม่น้ำวิสทุลา ในประเทศโปแลนด์ แม่น้ำในประเทศจีน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย เป็นต้น                การขาดแคลนน้ำใช้จะรุนแรงยิ่งขึ้นในฤดูร้อน โดยทวีปแอฟริกาขาดแคลนน้ำมากที่สุด รองลงไปเป็นภูมิภาค ตะวันออกกลาง ประเทศอินเดีย และบริเวณที่ราบตอนเหนือของประเทศจีน เนื่องจากน้ำในแหล่งน้ำมีน้อยทั้งประเภทน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน               

               4.4 อากาศเสีย   อากาศเสียหรืออากาศเป็นพิษนับวันจะมีปัญหาเพิ่มมากขึ้น และจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์โดยตรง ในแต่ละปีทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากอากาศเป็นพิษนับแสนคนโดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนภูมิภาคยุโรปตะวันออกและประเทศจีนอากาศเป็นพิษเกิดจากการทำเหมืองถ่านหินและการใช้ถ่านหินในโรงงานอุตสาหกรรม เกิดสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์และเขม่าควันเข้าสู่บรรยากาศ ทำให้เกิดโรคหอบหืด หลอดลมอักเสบและถุงลมโป่งพอง สารพิษที่เกิดจากการใช้น้ำมันในรถยนต์ ได้แก่ ไนโตรเจนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ ตะกั่ว และไฮโดรคาร์บอน มีผลต่อสุขภาพอนามัยโดยเฉพาะโรคระบบทางเดินหายใจ ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาทและอาจเป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง  เมืองสำคัญหลายแห่งที่มีซัลเฟอร์ไดออกไซด์และสารแขวนลอยในอากาศเกินมาตรฐานได้แก่ นิวเดลี ซีอาน ปักกิ่ง เตหะราน กรุงเทพฯ มาดริด กัวลาลัมเปอร์ ซาเกร็บ เซาเปาลู ปารีส นิวยอร์ก มิลาน และโซล                

            4.5 การสูญเสียป่าไม้และสัตว์ป่า  ในอดีตโลกมีพื้นที่ป่าไม้อยู่ประมาณร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดหรือประมาณ 37,800 ล้านไร่ แต่ในปัจจุบันพื้นที่ป่าไม้ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั้งหมดหรือประมาณ 22,500 ล้านไร่เท่านั้น โดยการสูญเสียป่าไม้นั้นมีสาเหตุมาจากการตัดไม้ไปใช้เป็นสินค้า สร้างที่อยู่อาศัยความต้องการพื้นที่ในการเพาะปลูกและการเกิดไฟป่า ซึ่งปัจจุบันเนื่องจากโลกยังมีอุณหภูมิสูงขึ้นทำให้เกิดไฟป่าขึ้นบ่อยครั้ง ทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส และอินโดนีเซีย  นอกจากนี้การสูญเสียป่าไม้เท่ากับเป็นการทำลายแหล่งที่อยู่อาศัยและอาหารของสัตว์ป่าการลดลงของพื้นที่ป่าจึงทำให้สัตว์ป่าลดลงหรือสูญพันธุ์ไป อีกทั้งการจับสัตว์ป่าไปขายเป็นสินค้าหรืออาหารก็ทำให้สัตว์ป่าลดลงเช่นกัน ป่าไม้และสัตว์ป่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของระบบนิเวศ และป่าไม้ก็มีความสัมพันธ์กับทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ เช่น ความชุ่มชื้นของดินฟ้าอากาศ ช่วยควบคุมปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ ทำให้ฝนตกและช่วยลดการพังทลายของดิน เป็นต้น การสูญเสียป่าไม้จึงเป็นจุดเริ่มต้นของปัญหาสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ด้วย              

               4.6 ปัญหาพลังงาน  พลังงานเป็นปัจจัยสำคัญของการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน โดยใช้ยานพาหนะทุกชนิด การใช้แสงสว่าง เครื่องใช้ในบ้านเรือน ตลอดจนเกษตรกรรม แต่ในขณะที่มีความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้นปริมาณพลังงานที่มีอยู่อย่างจำกัดจึงทำให้ราคาสูงขึ้น มีผลกระทบต่อฐานะทางเศรษฐกิจไปทั่วโลก ประชาชนในบางประเทศก็ยังคงใช้พลังงานจากไม้ในการหุงต้มและการให้ความร้อน การขาดแคลนป่าไม้ก็ยิ่งทำให้ชีวิตที่ดำรงอยู่กับธรรมชาติลำบากยิ่งขึ้น ส่วนประเทศผู้บริโภคน้ำมันก็ต้องซื้อน้ำมันในราคาที่แพงขึ้น ทำให้สินค้าในประเทศมีราคาแพงตามไปด้วย ปัญหาของการใช้พลังงานนอกจากเป็นทรัพยากรที่มีจำกัดและราคาแพงแล้ว การใช้พลังงานยังก่อให้เกิดสารพิษในสิ่งแวดล้อม เกิดการเปลี่ยนแปลงของดินฟ้าอากาศ และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ตามมา 

 

 

แหล่งอ้างอิง  :  หนังสือภูมิศาสตร์ ม.4 - ม.6 , รศ.ดร.อภิสิทธิ์  เอี่ยมหน่อ  รศ.ดร.วินัย  วีระวัฒนานนท์ ผศ.วิโรจน์ เอี่ยมเจริญ. บริษัทอักษรเจริญทัศน์. 2544. 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 341 คน กำลังออนไลน์