• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:05b7b2c519af52856fd70361cd13e4e6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 24pt; color: #ff0066; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การประชุมเอเชีย-ยุโรป หรืออาเซม</span><span style=\"font-size: 24pt; color: #ff0066; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 24pt; color: #ff0066; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                       </span><span> </span>(</span><span style=\"font-size: 24pt; color: #ff0066; font-family: \'Angsana New\'\">Asia-Europe Meeting : ASEM)</span><span style=\"font-size: 10pt; color: #ff0066; font-family: Verdana\"></span></p>\n<p><span style=\"font-size: 8pt; color: #ff0066; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: purple; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความเป็นมา</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n             <span lang=\"TH\">การประชุมเอเชีย-ยุโรป หรือที่เรียกว่า </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อาเซม (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Angsana New\'\">Asia-Europe Meeting : ASEM)</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรกที่กรุงเทพฯ ในวันที่ </span>1 -2 <span lang=\"TH\">มีนาคม </span>2539 <span lang=\"TH\">เป็นการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป ซึ่งเป็นก้าวแรกที่จะเชื่อโยงภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และยุโรป</span><br />\n<span> </span><span>               </span><span lang=\"TH\">อาเซมเริ่มต้นจากข้อเสนอของนายกรัฐมนตรี </span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">Goh Chok Tong</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: red; font-family: \'Angsana New\'\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ของสิงคโปร์ ที่ต้องการรักษาความสมดุลของภูมิภาค โดยให้มีการเชื่อมโยงระหว่าง แอตแลนติกกับแปซิฟิค เพราะในขณะนั้น มีความเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคเพียง </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">กระแส คือ ความร่วมมือในกรอบเอเปค และความสัมพันธ์ ใกล้ชิดระหว่างอเมริกาและยุโรป ที่เรียกว่า ทรานส์แอตแลนติก ในขณะที่การเชื่อมโยงระหว่างเอเชียกับยุโรปกลับหายไป</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ในระหว่างการประชุมสุดยอดเอเปค ครั้งที่ </span>2 <span lang=\"TH\">ที่เมืองโบกอร์ ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อเดือนพฤศจิกายน </span>2537<span lang=\"TH\">ซึ่งนายกรัฐมนตรีของไทย (นายชวน หลีกภัย) ได้พบปะหารือกับนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ และทั้งสองเห็นพ้องกันว่าควรมีการประชุมระหว่างผู้นำของเอเชียและยุโรป จากนั้นสิงคโปร์ ก็ได้ทาบทามสหภาพยุโรปโดยผ่านฝรั่งเศส ซึ่งต่อมาที่ประชุมคณะมนตรีก็ได้เห็นพ้องกับข้อเสนอนี้ เมื่อวันที่ </span>7 <span lang=\"TH\">มีนาคม </span>2538 <span lang=\"TH\">โดยสิงคโปร์ได้เสนอ ให้ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดขึ้น</span></span><span style=\"font-size: 8pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 20pt; color: purple; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">องค์ประกอบของการประชุมเอเชีย-ยุโรป</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span lang=\"TH\"><span>     </span><span>           </span>การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน-สหภาพยุโรป เมื่อวันที่ </span>3 - 4 <span lang=\"TH\">พฤษภาคม</span> 2538 <span lang=\"TH\">ได้หารือเกี่ยวกับการเตรียมการประชุมเอเชีย-ยุโรป และได้ตกลงกันว่า ให้อาเซียนเป็นผู้เสนอรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุมจากเอเชีย และสหภาพยุโรปเสนอฝ่ายยุโรป ซึ่งต่อมาทั้งสองฝ่ายเห็นพ้อง ให้ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย</span> <br />\n<span> </span><span>               </span> <span lang=\"TH\">ฝ่ายเอเชีย </span>10 <span lang=\"TH\">ประเทศ ได้แก่</span> 7 <span lang=\"TH\">ประเทศในอาเซียน คือ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม กับจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้</span> <br />\n<span> </span><span>               </span><span lang=\"TH\">ฝ่ายยุโรป </span>15 <span lang=\"TH\">ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบอร์ก เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน สวีเดน และสหราชอาณาจักร รวมทั้งผู้แทนสหภาพยุโรป</span></span></p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: purple; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป ( </span><span style=\"font-size: 20pt; color: purple; font-family: \'Angsana New\'\">Asia-Europe Meeting : ASEM )</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"></span></p>\n<p>             <span lang=\"TH\">ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป หรืออาเซม (</span>ASEM) <span lang=\"TH\">ครั้งที่ </span>1 <span lang=\"TH\">ในวันที่ </span>1-2 <span lang=\"TH\">มีนาคม </span>2539 <span lang=\"TH\">ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ นั้น เป็นการเริ่มต้นกระชับความสัมพันธ์อันดีระหว่างเอเชียและสหภาพยุโรป ซึ่งนำไปสู่การดำเนินกิจกรรมร่วมกันต่อไปในด้านเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยอาเชีย </span>10 <span lang=\"TH\">ประเทศ สหภาพยุโรป </span>15 <span lang=\"TH\">ประเทศ และคณะกรรมาธิการยุโรป</span><br />\n<span lang=\"TH\">การประชุมผู้นำอาเซมจะมีขึ้นทุกๆ </span>2 <span lang=\"TH\">ปี หลังจากที่ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมครั้งแรกไปแล้ว การประชุมอาเซม ครั้งที่ </span>2 (ASEM II) <span lang=\"TH\">มีขึ้นเมื่อวันที่ </span>3-4 <span lang=\"TH\">เมษายน </span>2541 <span lang=\"TH\">ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร และการประชุมอาเซม ครั้งที่ </span>3 (ASEM III) <span lang=\"TH\">มีขึ้นในวันที่ </span>20 - 21 <span lang=\"TH\">ตุลาคม </span>2543 <span lang=\"TH\">ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี</span></p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: purple; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความร่วมมืออาเซมทางเศรษฐกิจ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span> </span><span>               </span> <span lang=\"TH\">ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของขบวนการอาเซม มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ โดยได้มีการหารือเรื่องการค้าและการลงทุน เรื่องที่เกี่ยวกับ องค์การการค้าโลก ในการประชุมครั้งนี้ ที่ประชุมได้ให้คำรับรองแผนปฏิบัติการส่งเสริมการลงทุน</span> (Investment Promotion Action Plan : IPAP) <span lang=\"TH\">ครอบคลุมด้านการส่งเสริมการลงทุน รวมทั้งด้านนโยบายและกฎระเบียบทางการลงทุน แผนปฏิบัติการอำนวยความสะดวกทางการค้า</span> (Trade Facilitation Action Plan : TFAP) <span lang=\"TH\">เพื่อลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซมและเพิ่มโอกาสทางการค้าด้วย ีการประชุมระดับ รัฐมนตรีจะมีขึ้นทุกๆ </span>2 <span lang=\"TH\">ปี นอกจากนี้ ยังมีการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการค้าและการลงทุน </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Angsana New\'\">(Senior Officials Meeting on Trade and Investment : SOMTI)</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">เป็นประจำ</span></span></p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: purple; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประโยชน์ต่อประเทศไทยทางเศรษฐกิจ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n             <span lang=\"TH\">ขบวนการอาเซมเป็นความร่วมมือระหว่างเอเซียและยุโรป ซึ่งครอบคลุมในเรื่องการเมือง เศรษฐกิจและการเงิน ตลอดจนกิจกรรมด้านอื่นๆ แม้อาเซม จะเพิ่งเริ่มต้น แต่ก็มีกิจกรรมที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องจำนวนมาก ทั้งในภาครัฐบาลและเอกชน ในความร่วมมือด้านเศรษฐกิจสามารถใช้เวทีนี้ สำหรับการหารือในเรื่องต่างๆ เพื่อให้ประเทศสมาชิกมีความเข้าใจกันมากขึ้น และเกิดทัศนที่ดีต่อกัน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการขยายการค้า และการลงทุนระหว่างสองภูมิภาคในระยะยาว</span></span></p>\n<p>             <span lang=\"TH\">การดำเนินการตามแผน </span>TFAP <span lang=\"TH\">เพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสมาชิกเอเชีย-ยุโรปเป็นไปได้สะดวกขึ้น จะเป็นประโยชน์ต่อการค้าทั้งสองภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะวิกฤติการทางการเงินของเอเชีย ประเทศสมาชิกในเอเชียหลายประเทศมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งขยายการส่งออก การเร่งให้มีดำเนินการตามแผน </span>TFAP <span lang=\"TH\">จะเป็นหนทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาในเรื่องการลงทุนนั้น การดำเนินการตามแผน </span>IPAP <span lang=\"TH\">อย่างเป็นรูปธรรมจะเป็นประโยชน์ต่อการขยายการลงทุนของสองภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ภูมิภาคเอเชียต้องการให้มีการขยายการลงทุนจากยุโรปมากขึ้น จึงควรผลักดันให้มีการดำเนินการตามแผน </span>IPAP <span lang=\"TH\">โดยเร็ว</span><strong><span style=\"font-weight: normal; font-size: 8pt; color: #444444; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></strong><span style=\"font-size: 20pt; color: purple; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป้าหมายของประเทศไทยใน</span><span style=\"font-size: 20pt; color: purple; font-family: \'Angsana New\'\"> ASEM<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">                     <span lang=\"TH\">ตั้งแต่มีการริเริ่มกระบวนการ </span>ASEM <span lang=\"TH\">ประเทศสมาชิกได้เห็นพ้องกันว่า </span>ASEM <span lang=\"TH\">ควรเป็นเวทีหารือเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหว่างกัน อันจะนำไปสู่ความเข้าใจระหว่างเอเชียกับยุโรป และระหว่างการประชุม </span>ASEM <span lang=\"TH\">ครั้งที่ </span>5 <span lang=\"TH\">เมื่อเดือนตุลาคม </span>2547 <span lang=\"TH\">ที่ประชุมได้เห็นพ้องกันว่า ควรยกระดับ </span>ASEM <span lang=\"TH\">ให้เป็นทั้งเวทีหารือและเวทีความร่วมมือ ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของไทยที่จะให้</span> ASEM <span lang=\"TH\">เป็นเวทีส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหภาพยุโรปและสมาชิก </span>ASEM <span lang=\"TH\">ฝ่ายเอเชียอื่นๆ โดยการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกันทั้งในระดับเจ้าหน้าที่และระดับประชาชนต่อประชาชน การเพิ่มพูนความร่วมมือระหว่างเอเชียกับยุโรปในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะในด้านที่เป็นประโยชน์ต่อไทย เช่น ในด้านเศรษฐกิจ</span> (<span lang=\"TH\">เพิ่มการค้าการลงทุนระหว่างกัน) และการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการต่าง ๆ ที่ยุโรปมีความก้าวหน้า</span>  <span lang=\"TH\">ทั้งนี้ ภายหลังจากการประชุม </span>ASEM 1 <span lang=\"TH\">ที่กรุงเทพฯ ในปี </span>2539 ASEM <span lang=\"TH\">ได้ริเริ่มและพัฒนากิจกรรมความร่วมมือมากมายในสาขาต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อไทยและประเทศสมาชิกอื่น ๆ</span>  <span lang=\"TH\">นอกจากนี้ ไทยประสงค์ให้ </span>ASEM <span lang=\"TH\">เป็นกลไกในการเสริมสร้าง </span>strategic partnership <span lang=\"TH\">ระหว่างเอเชียกับยุโรปในทุกด้าน โดยเฉพาะในการส่งเสริมสันติภาพความมั่นคง และสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างประเทศในเอเชียและยุโรปมากยิ่งขึ้นบนพื้นฐานของความร่วมมือที่เท่าเทียมกัน เคารพซึ่งกันและกัน และผลประโยชน์ร่วมกันของทั้งสองภูมิภาค ซึ่งจะนำไปสู่การส่งเสริมความร่วมมือในสาขาอื่นต่อไป</span><o:p></o:p></span><span style=\"color: black\"><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"color: black\"><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"color: black\"><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"color: black\"><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"color: black\"><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แหล่งอ้างอิง<span>  </span></span><span style=\"color: black\"><a href=\"http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=2203.0\"><u><span style=\"color: #800080\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2203.0</span></span></u></a><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                      </span></span><span style=\"color: black\"><a href=\"http://www.oknation.net/blog/sarunra/2009/01/20/entry-7\"><u><span style=\"color: #800080\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">http://www.oknation.net/blog/sarunra/</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2009/01/20/</span><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">entry-</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">7</span></span></u></a></span><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: black\"><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span></p>\n', created = 1727093925, expire = 1727180325, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:05b7b2c519af52856fd70361cd13e4e6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อาเซม

รูปภาพของ sila15722

การประชุมเอเชีย-ยุโรป หรืออาเซม                        (Asia-Europe Meeting : ASEM)

ความเป็นมา
             การประชุมเอเชีย-ยุโรป หรือที่เรียกว่า
อาเซม (Asia-Europe Meeting : ASEM) ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรกที่กรุงเทพฯ ในวันที่ 1 -2 มีนาคม 2539 เป็นการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป ซึ่งเป็นก้าวแรกที่จะเชื่อโยงภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และยุโรป
                อาเซมเริ่มต้นจากข้อเสนอของนายกรัฐมนตรี
Goh Chok Tong ของสิงคโปร์ ที่ต้องการรักษาความสมดุลของภูมิภาค โดยให้มีการเชื่อมโยงระหว่าง แอตแลนติกกับแปซิฟิค เพราะในขณะนั้น มีความเชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคเพียง 2 กระแส คือ ความร่วมมือในกรอบเอเปค และความสัมพันธ์ ใกล้ชิดระหว่างอเมริกาและยุโรป ที่เรียกว่า ทรานส์แอตแลนติก ในขณะที่การเชื่อมโยงระหว่างเอเชียกับยุโรปกลับหายไป  ในระหว่างการประชุมสุดยอดเอเปค ครั้งที่ 2 ที่เมืองโบกอร์ ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2537ซึ่งนายกรัฐมนตรีของไทย (นายชวน หลีกภัย) ได้พบปะหารือกับนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ และทั้งสองเห็นพ้องกันว่าควรมีการประชุมระหว่างผู้นำของเอเชียและยุโรป จากนั้นสิงคโปร์ ก็ได้ทาบทามสหภาพยุโรปโดยผ่านฝรั่งเศส ซึ่งต่อมาที่ประชุมคณะมนตรีก็ได้เห็นพ้องกับข้อเสนอนี้ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2538 โดยสิงคโปร์ได้เสนอ ให้ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดขึ้น
องค์ประกอบของการประชุมเอเชีย-ยุโรป
                การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน-สหภาพยุโรป เมื่อวันที่ 3 - 4 พฤษภาคม 2538 ได้หารือเกี่ยวกับการเตรียมการประชุมเอเชีย-ยุโรป และได้ตกลงกันว่า ให้อาเซียนเป็นผู้เสนอรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุมจากเอเชีย และสหภาพยุโรปเสนอฝ่ายยุโรป ซึ่งต่อมาทั้งสองฝ่ายเห็นพ้อง ให้ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย
                 ฝ่ายเอเชีย 10 ประเทศ ได้แก่ 7 ประเทศในอาเซียน คือ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม กับจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้
                ฝ่ายยุโรป 15 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย เบลเยียม เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบอร์ก เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สเปน สวีเดน และสหราชอาณาจักร รวมทั้งผู้แทนสหภาพยุโรป

การประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป ( Asia-Europe Meeting : ASEM )

             ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป หรืออาเซม (ASEM) ครั้งที่ 1 ในวันที่ 1-2 มีนาคม 2539 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ นั้น เป็นการเริ่มต้นกระชับความสัมพันธ์อันดีระหว่างเอเชียและสหภาพยุโรป ซึ่งนำไปสู่การดำเนินกิจกรรมร่วมกันต่อไปในด้านเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยอาเชีย 10 ประเทศ สหภาพยุโรป 15 ประเทศ และคณะกรรมาธิการยุโรป
การประชุมผู้นำอาเซมจะมีขึ้นทุกๆ 2 ปี หลังจากที่ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมครั้งแรกไปแล้ว การประชุมอาเซม ครั้งที่ 2 (ASEM II) มีขึ้นเมื่อวันที่ 3-4 เมษายน 2541 ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร และการประชุมอาเซม ครั้งที่ 3 (ASEM III) มีขึ้นในวันที่ 20 - 21 ตุลาคม 2543 ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี

ความร่วมมืออาเซมทางเศรษฐกิจ
                 ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งของขบวนการอาเซม มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ โดยได้มีการหารือเรื่องการค้าและการลงทุน เรื่องที่เกี่ยวกับ องค์การการค้าโลก ในการประชุมครั้งนี้ ที่ประชุมได้ให้คำรับรองแผนปฏิบัติการส่งเสริมการลงทุน (Investment Promotion Action Plan : IPAP) ครอบคลุมด้านการส่งเสริมการลงทุน รวมทั้งด้านนโยบายและกฎระเบียบทางการลงทุน แผนปฏิบัติการอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation Action Plan : TFAP) เพื่อลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซมและเพิ่มโอกาสทางการค้าด้วย ีการประชุมระดับ รัฐมนตรีจะมีขึ้นทุกๆ 2 ปี นอกจากนี้ ยังมีการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการค้าและการลงทุน
(Senior Officials Meeting on Trade and Investment : SOMTI) เป็นประจำ

ประโยชน์ต่อประเทศไทยทางเศรษฐกิจ
             ขบวนการอาเซมเป็นความร่วมมือระหว่างเอเซียและยุโรป ซึ่งครอบคลุมในเรื่องการเมือง เศรษฐกิจและการเงิน ตลอดจนกิจกรรมด้านอื่นๆ แม้อาเซม จะเพิ่งเริ่มต้น แต่ก็มีกิจกรรมที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องจำนวนมาก ทั้งในภาครัฐบาลและเอกชน ในความร่วมมือด้านเศรษฐกิจสามารถใช้เวทีนี้ สำหรับการหารือในเรื่องต่างๆ เพื่อให้ประเทศสมาชิกมีความเข้าใจกันมากขึ้น และเกิดทัศนที่ดีต่อกัน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการขยายการค้า และการลงทุนระหว่างสองภูมิภาคในระยะยาว

             การดำเนินการตามแผน TFAP เพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสมาชิกเอเชีย-ยุโรปเป็นไปได้สะดวกขึ้น จะเป็นประโยชน์ต่อการค้าทั้งสองภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาวะวิกฤติการทางการเงินของเอเชีย ประเทศสมาชิกในเอเชียหลายประเทศมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งขยายการส่งออก การเร่งให้มีดำเนินการตามแผน TFAP จะเป็นหนทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาในเรื่องการลงทุนนั้น การดำเนินการตามแผน IPAP อย่างเป็นรูปธรรมจะเป็นประโยชน์ต่อการขยายการลงทุนของสองภูมิภาค อย่างไรก็ตาม ขณะนี้ภูมิภาคเอเชียต้องการให้มีการขยายการลงทุนจากยุโรปมากขึ้น จึงควรผลักดันให้มีการดำเนินการตามแผน IPAP โดยเร็วเป้าหมายของประเทศไทยใน ASEM                     ตั้งแต่มีการริเริ่มกระบวนการ ASEM ประเทศสมาชิกได้เห็นพ้องกันว่า ASEM ควรเป็นเวทีหารือเพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหว่างกัน อันจะนำไปสู่ความเข้าใจระหว่างเอเชียกับยุโรป และระหว่างการประชุม ASEM ครั้งที่ 5 เมื่อเดือนตุลาคม 2547 ที่ประชุมได้เห็นพ้องกันว่า ควรยกระดับ ASEM ให้เป็นทั้งเวทีหารือและเวทีความร่วมมือ ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของไทยที่จะให้ ASEM เป็นเวทีส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหภาพยุโรปและสมาชิก ASEM ฝ่ายเอเชียอื่นๆ โดยการเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกันทั้งในระดับเจ้าหน้าที่และระดับประชาชนต่อประชาชน การเพิ่มพูนความร่วมมือระหว่างเอเชียกับยุโรปในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะในด้านที่เป็นประโยชน์ต่อไทย เช่น ในด้านเศรษฐกิจ (เพิ่มการค้าการลงทุนระหว่างกัน) และการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการต่าง ๆ ที่ยุโรปมีความก้าวหน้า  ทั้งนี้ ภายหลังจากการประชุม ASEM 1 ที่กรุงเทพฯ ในปี 2539 ASEM ได้ริเริ่มและพัฒนากิจกรรมความร่วมมือมากมายในสาขาต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อไทยและประเทศสมาชิกอื่น ๆ  นอกจากนี้ ไทยประสงค์ให้ ASEM เป็นกลไกในการเสริมสร้าง strategic partnership ระหว่างเอเชียกับยุโรปในทุกด้าน โดยเฉพาะในการส่งเสริมสันติภาพความมั่นคง และสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างประเทศในเอเชียและยุโรปมากยิ่งขึ้นบนพื้นฐานของความร่วมมือที่เท่าเทียมกัน เคารพซึ่งกันและกัน และผลประโยชน์ร่วมกันของทั้งสองภูมิภาค ซึ่งจะนำไปสู่การส่งเสริมความร่วมมือในสาขาอื่นต่อไป     แหล่งอ้างอิง  http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=2203.0                      http://www.oknation.net/blog/sarunra/2009/01/20/entry-7 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 335 คน กำลังออนไลน์