• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3dd13d715094e78ccf9ca5fa21a13655' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 26pt\">การเลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">ในปี พ . ศ . ๒๔๕๘ อัลเฟรด เวกเกอเนอร์ นักธรณีวิทยาและนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันเสนอทฤษฎีทวีปเลื่อน (</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">Continental Drift) <span lang=\"TH\">เป็นครั้งแรก เขาเชื่อว่าแผ่นดินลอยอยู่บนของเหลวซึ่งหุ้มแกนโลกอยู่ การค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ในทวีปที่อยู่ห่างไกลกันสนับสนุนทฤษฎีนี้ เวกเกอเนอร์เสนอว่าเมื่อ ๒๐๐ ล้านปีที่แล้ว โลกมีทวีปเดียวขนาดใหญ่เรียกว่าพันเจีย (</span>Pangaea-- <span lang=\"TH\">แปลว่าทั้งโลก ) จนกระทั่งถึงยุคจูแรสซิก แผ่นดินจึงเริ่มแยกจากกันเป็น ๒ ส่วนเรียกว่า กอนวานาแลนด์</span> (Gonwanaland) <span lang=\"TH\">ทางซีกใต้ของโลก และลอเรเซีย (</span>Laurasia) <span lang=\"TH\">ทางซีกเหนือ โดยมีทะเลทีธิส</span> (Tethys) <span lang=\"TH\">คั่นกลาง เมื่อสิ้นสุดยุคครีเทเชียส แผ่นดินก็แตกออกเป็นทวีปต่างๆ และค่อยๆเคลื่อนตัวมายังตำแหน่งที่เราเห็นในปัจจุบัน</span><br />\n<span lang=\"TH\">เอ็ดวาร์ด ซูส (</span>Eduard Suess) <span lang=\"TH\">นักธรณีวิทยาชาวออสเตรีย เป็นผู้พบหลักฐานที่ทำให้เขาเชื่อว่าแผ่นดินของทวีปอเมริกา อัฟริกา อินเดีย ออสเตรเลีย และแอนตาร์กติกา เคยเชื่อมต่อกัน เขาเป็นผู้ตั้งชื่อแผ่นดินนี้ว่ากอนวานาแลนด์ ตามชื่อเขตที่พบซากดึกดำบรรพ์ของพืชกลอสส็อปเทอริส ( </span>Glossopteris ) <span lang=\"TH\">เป็นครั้งแรก และต่อมาก็พบในทวีปอื่นๆด้วย นอกจากนั้นยังมีซากสัตว์เลื้อยคลานดึกดำบรรพ์มีโซซอรัส</span> (Mesosaurus) <span lang=\"TH\">ที่พบในอเมริกาใต้ และอัฟริกาใต้อีกด้วย</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">การเลื่อนของทวีปทำให้ภูมิประเทศของโลกเปลี่ยนไป ทำให้เกิดมหาสมุทร และภูเขา อีกทั้งยังมีพลังมหาศาลที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิด</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"><v:shapetype o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" filled=\"f\" stroked=\"f\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" coordsize=\"21600,21600\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape type=\"#_x0000_t75\" alt=\"26594\" id=\"_x0000_i1025\" style=\"width: 207pt; height: 81pt\"><v:imagedata o:href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/26/26594.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.gif\"></v:imagedata></v:shape>&lt;!--[if !vml]--&gt;<br />\n&lt;!--[endif]--&gt;<o:p></o:p></span> <b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">โครงสร้างของโลก</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"> แบ่งตามลักษณะมวลสารได้</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">3<span lang=\"TH\">ชั้น</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 10pt\"><br />\n</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\">1</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">. <span lang=\"TH\">ชั้นเปลือกโลก เสมือนผิวด้านนอกที่ปกคลุมโลก แบ่งออกได้เป็น </span>2 <span lang=\"TH\">บริเวณ</span><br />\n- <span lang=\"TH\">ภาคพื้นทวีป หมายถึงส่วนที่เป็นแผ่นดินทั้งหมด ประกอบด้วยธาตุซิลิคอนและอลูมิเนียม</span><br />\n- <span lang=\"TH\">ใต้มหาสมุทร หมายถึง เปลือกโลกส่วนที่ปกคลุมด้วยน้ำ ประกอบด้วยธาตุ ซิลิคอนและแมกนีเซียม</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ชั้นเนื้อโลก มีความลึก </span><st1:metricconverter productid=\"2,900 กิโลเมตร\" w:st=\"on\">2,900 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> แบ่งเป็น </span>3 <span lang=\"TH\">ส่วน</span><br />\n- <span lang=\"TH\">ส่วนบน เป็นหินที่เย็นตัวมีรอยแยก หรือรอยแตกเนื่องจากความเปราะ </span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt; font-weight: normal\">ชั้นเนื้อโลกส่วนบน กับชั้นเปลือกโลกรวมกันเรียกว่า</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt; font-weight: normal\"> &quot;<span lang=\"TH\">ธรณีภาค&quot;</span></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"><br />\n- <span lang=\"TH\">ชั้นฐานธรณีภาค เป็นชั้นหินหลอมละลายหรือหินหนืด ที่เรียกว่า แมกมา</span><br />\n- <span lang=\"TH\">ชั้นล่างสุด เป็นชั้นของแข็งร้อนที่แน่นและหนืดกว่าตอนบน ธาตุอื่นก็ประกอบด้วยแมกนีเซียมและเหล็ก</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ชั้นแก่นโลก อยู่ในความลึก</span> 2,900 <span lang=\"TH\">กิโลเมตรลงไป แบ่งเป็น </span>2 <span lang=\"TH\">ส่วน คือ</span><br />\n- <span lang=\"TH\">แก่นโลกชั้นนอก เป็นของเหลวร้อนของโลหะเหล็กและนิกเกิล</span><br />\n- <span lang=\"TH\">แก่นโลกชั้นใน มีส่วนประกอบเหมือนชั้นนอกแต่อยู่ในสภาพของแข็งเนื่องจากมีความดันและอุณหภูมิสูงมาก</span><br />\n</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 10pt\"><br />\n</span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: green; font-size: 20pt\">ธรณีภาค</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\"><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">ปี พ.ศ. </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">2458 <span lang=\"TH\">ดร.<st1:personname productid=\"อัลเฟรด เวกาเนอร์\" w:st=\"on\">อัลเฟรด เวกาเนอร์</st1:personname> นักอุตุนิยมชาวเยอรมัน ได้ตั้งสมมุติฐานว่า</span><br />\n&quot;<span lang=\"TH\">ผืนแผ่นดินทั้งหมดบนโลกแต่เดิมเป็นแผ่นดินเดียวกัน เรียกว่า </span>“<i><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\">พันเจีย</span></i><br />\n<span lang=\"TH\">เมื่อ </span>200 - 135 <span lang=\"TH\">ล้านปีที่แล้ว แยกออกเป็น </span>2 <span lang=\"TH\">ทวีปใหญ่ คือ <i><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">ลอเรเชีย</span></i> ทางตอนเหนือ และ<i><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">กอนด์วานา</span></i>ทางตอนใต้และเมื่อ </span>135 - 65 <span lang=\"TH\">ล้านปีที่แล้ว ลอเรเชียเริ่มแยกเป็นอเมริกาเหนือ และแผ่นยูเรเชีย ส่วนกอนด์วานาจะแยกเป็น อเมริกาใต้ แอฟริกา ออสเตรเลีย </span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">แอนตาร์กติก และอินเดีย</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: green; font-size: 22pt; font-weight: normal\">แผ่นธรณีภาคและการเคลื่อนที่</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\"><br />\n</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: green; font-size: 18pt\">1. <b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\">ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน</span></b></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\"><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">เกิดจากการดันตัวของแมกมา ทำให้เกิดรอยแยก จนแมกมาถ่ายโอนความร้อนสู่เปลือกโลกได้ ทำให้อุณหภูมิและความดันลดลง ทำให้เปลือกโลกทรุดตัวกลายเป็นหุบเขาทรุดในระยะเวลาต่อมาเมื่อมีน้ำไหลมาสะสมเกิดเป็นทะเล และเกิดเป็นรอยแยกทำให้เกิดร่องลึก แมกมาจึงเคลื่อนตัวแทรกดันขึ้นมาอีก ทำให้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรแยกจากไปทั้งสองด้านเกิด การขยายตัวของพื้นทะเล</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"> (Sea floor spreading) <span lang=\"TH\">และทำให้เกิดเทือกเขากลางสมุทร เช่น บริเวณทะเลแดง อ่าวแคลิฟอร์เนีย แอฟริกาตะวันออก มีลักษณะหุบเขาทรุด มีร่องรอยแยก เกิดแผ่นดินไหวตื้นๆ มีภูเขาไฟและลาวาไหลอยู่ใต้มหาสมุทร</span><br />\n</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\"><br />\n2</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: green; font-size: 18pt\">. <b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\">ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน</span></b><span lang=\"TH\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\">มี </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\">3 <span lang=\"TH\">แบบ</span><br />\n</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">- <span lang=\"TH\">แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกันกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร แผ่นธรณีภาคอีกแผ่นหนึ่งจะมุดลงใต้อีกแผ่นหนึ่ง ปลายของแผ่นที่มุดลงจะหลอมกลายเป็นแมกมา และปะทุขึ้นมา บนแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร เกิดเป็นแนวภูเขาไฟใต้มหาสมุทร และมีร่องใต้ทะเลลึก มีแนวการเกิดแผ่นดินไหวตามขอบแผ่นธรณีภาคลึกลงไปถึงชั้นเนื้อโลก จนมีภูเขาไฟที่ยังมีพลัง เช่น ที่หมู่เกาะมาริอานาส์ อาลูเทียน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์</span> <br />\n- <span lang=\"TH\">แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป</span><br />\n<span lang=\"TH\">แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรซึ่งหนักกว่ามุดตัวลงข้างล่างใต้แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป เกิดเป็นร่องใต้ทะเลและเกิดเทือกเขา ตามแนงขอบทวีปเป็นแนวภูเขาไฟชายฝั่ง และแผ่นดินไหวรุนแรง เช่น อเมริกาใต้แถบตะวันตก</span> <br />\n- <span lang=\"TH\">แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป ซึ่งทั้งสองแผ่นมีความหนามาก ทำให้แผ่นหนึ่งมุดลงแต่อีกแผ่นหนึ่งเกยขึ้นเกิดเป็นเทือกเขาแนวยาวอยู่กลางทวีปหรือแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป เช่นเทือกเขาหิมาลัย ในทวีปเอเชีย เทือกเขาแอลป์ ในทวีปยุโรป</span> </span></p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: green; font-size: 18pt\">3. <b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\">ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน</span></b></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\"><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">เกิดจากอัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน จึงทำให้แผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ไม่เท่ากันด้วยส่งผลให้เปลือกโลกและเทือกเขาใต้มหาสมุทรเลื่อนไถลผ่านและเฉือนกัน เกิดเป็นรอยเลื่อนเฉือนระนาบด้านข้างขนาดใหญ่ สันเขากลางมหาสมุทรเลื่อนเป็นแนวเหลื่อมกันอยู่ มีลักษณะเป็นแนวรอยแตกแคบยาวมีทิศทางตั้งฉากกับเทือกเขากลางมหาสมุทรและร่องใต้ทะเลลึก มักจะเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในระดับตื้นๆ ระหว่างขอบของแผ่นธรณีภาคที่ซ้อนเกยกัน เช่น รอยเลื่อนซานแอนเดรียส ประเทศอเมริกา รอยเลื่อนอัลไพล์ ประเทศนิวซีแลนด์ </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" alt=\"2002\" id=\"_x0000_i1026\" style=\"width: 226.5pt; height: 130.5pt\"><v:imagedata o:href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/2/2002.gif\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMINI~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata></v:shape>&lt;!--[if !vml]--&gt;<br />\n&lt;!--[endif]--&gt;<o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\"><span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"><span lang=\"TH\">โลกของเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา</span> (<span lang=\"TH\">เนื่องจากภายในโลกมีความร้อน มีแร่ธาตุหลอมเหลว และหินหนืดเคลื่อนที่วนอยู่... ดังกล่าว) แผ่นเปลือกโลกจึงมีการเคลื่อนที่ แยกออก เข้าหา หรือผ่านกัน และเนื่องจากแรงที่มากระทำต่อแผ่นเปลือกโลกนั้น ๆ จึงเกิดเป็นโครงสร้างทางธรณีวิทยาหลายรูปแบบ เช่น การโค้ง (</span>folding) <span lang=\"TH\">การแตก</span> (fracturing) <span lang=\"TH\">การเลื่อนของหิน (</span>Faulting) <span lang=\"TH\">ซึ่งกระบวนการอันเป็นสาเหตุนี้เรียกว่า กระบวนการแปรสัณฐานแผ่นเปลือกโลก</span><br />\n<span lang=\"TH\">ต่อจากนั้นเปลือกโลกต้องเผชิญหน้ากับแรงโน้มถ่วง สภาพอากาศ น้ำ ลม ซึ่งทำหน้าที่กัดกร่อน (</span>erosion) <span lang=\"TH\">ทำให้หินผุพัง (</span>weathering) <span lang=\"TH\">และพัดพา (</span>transportation) <span lang=\"TH\">ไปทับถมเพื่อสะสมตัว (</span>deposition) <span lang=\"TH\">กระบวนการนี้จึงเป็นการปรับระดับเปลือกโลกให้สมดุลย์</span><br />\n<span lang=\"TH\">ทีนี้ลองมาดูความหมายของแต่ละคำที่ถามเลยก็แล้วกันนะ</span><br />\n<span lang=\"TH\">การยกตัว</span> (uplift) <span lang=\"TH\">คือชั้นหินหรือเปลือกโลกยกตัวขึ้น หรือเลื่อนขึ้น ทำให้เปลือกโลกบริเวณนั้นสูงขึ้น เมื่อทราบดังนี้ก็มีหลายกระบวนการที่เกี่ยวข้อง อาจเป็น </span>faulting, folding <span lang=\"TH\">การแทรกดันของมวลหินอัคนี หรือ ชั้นเกลือหินก็ได้</span><br />\n<span lang=\"TH\">การยุบตัว (</span>subsidence) <span lang=\"TH\">คือแผ่นดินบริเวณนั้นทรุดหรือยุบตัวลง ซึ่งก็อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุเช่นกัน อาทิ หินด้านล่างถูกละลายออกไป</span> (<span lang=\"TH\">โพรงในหินปูนหรือเกลือหิน) น้ำหนักของชั้นตะกอนที่ทับถมอยู่ด้านบน หรือการทำเหมืองใต้ดินที่ออกแบบไม่ถูกต้องเหมาะสม เป็นต้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">การคดโค้งโก่งงอ</span> (Folding) <span lang=\"TH\">เกิดจากชั้นหินในสภาพอ่อนนิ่มถูกทำให้เปลี่ยนลักษณะเป็นรูปคดโค้งโก่งงอ เนื่องจากมีแรงมากระทำ ส่วนมากจะทำให้เปลือกโลกหดสั้นลงและหนาขึ้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">การผุพังอยู่กับที่ (</span>weathering) <span lang=\"TH\">เป็นกระบวนการที่หินผุลงเนื่องจากสภาพอากาศ น้ำ และ ลม การแตก หักกร่อน รวมทั้งกิจกรรมทางชีวภาพด้วย</span><br />\n<span lang=\"TH\">การกร่อน (</span>erosion) <span lang=\"TH\">คือกระบวนการที่ทำให้สารเปลือกโลกหลุดไป ละลายไป หรือกร่อนโดยตัวการทางธรรมชาติ ได้แก่ สภาพลมฟ้าอากาศ สานละลาย การถู ครูด การนำพา</span><br />\n<span lang=\"TH\">การพัดพา (</span>transportation) <span lang=\"TH\">คือกระบวนการพัดพาเศษหิน เศษแร่ ตะกอน จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยมีตัวการเช่น น้ำ ลม ธารน้ำแข็ง นำพาไป</span><br />\n<span lang=\"TH\">การทับถม (</span>deposition) <span lang=\"TH\">คือการที่เศษหิน แร่ ตะกอน อินทรียวัตถุ จากการนำพาของน้ำ ลม ธารน้ำแข็ง หรือตะกอนที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี มาสะสมตัวทับถมกัน</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: green; font-size: 20pt\">ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว แ ป ร รู ป ข อ ง เ ป ลื อ ก โ ล ก</span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: green; font-size: 9pt\"> </span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: green; font-size: 18pt\">(Diastrophism)</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 9pt\"><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">การแปรสัณฐานเปลือกโลก(</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">Diastrophism ; tectonism ) <span lang=\"TH\">หมายถึง กระบวนการเคลื่อนไหวของเปลือกโลกหรือส่วนของผิวโลก เช่น การเลื่อนตัวตามรอยแตก(</span>faulting) <span lang=\"TH\">การโก่งงอ(</span>Folding) <span lang=\"TH\">การแตกร้าว (</span>fracture) <span lang=\"TH\">การยกตัวขึ้นมาของชั้นหิน(</span>Uplifting) <span lang=\"TH\">การทรุดตัวลงของชั้นหิน(</span>subsidence) <span lang=\"TH\">ซึ่งกระบวนการเหล่านี้จะทำให้เกิดลักษณะต่าง ๆ เป็นต้นว่า ทวีปและแอ่งมหาสมุทร ที่ราบสูงและภูเขา ซั้นหินที่คดโค้งหรือเอียงเท </span></span><v:shape o:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" id=\"_x0000_s1026\" style=\"z-index: 1; position: absolute; margin-top: 0px; width: 126pt; height: 183.75pt; margin-left: 86pt\"><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></v:shape>&lt;!--[if !vml]--&gt;&lt;!--[endif]--&gt;<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">การยุบตัว(</span>Subsidence) <span lang=\"TH\">การยุบตัวของผืนดินอันเกิดจากดินหรือหินที่รองรับอยู่ถูกละลายไป หรือถูกนำออกไปตามธรรมชาติ หรือโดยมนุษย์เป็นผู้กระทำเหมืองแร่หรือเหมืองใต้ดิน</span><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: green; font-size: 24pt\">การประทุภูเขาไฟ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 18pt\"><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">การประทุของภูเขาไฟ หรือการชนกันของแผ่นเปลือกโลก เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหว(</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">earthquake) <span lang=\"TH\">ขณะที่เกิดแผ่นดินไหวพื้นผิวโลกจะมีการเคลื่อนที่ขึ้น-ลง คล้ายคลื่นทะเล หรือพื้นผิวโลกบางแห่งมีการเคลื่อนที่แยกจากกันภูเขาไฟบางแห่งที่สู่พื้นผิวจากแนวร่องมหาสมุทรใต้น้ำในเขตโซนร้อนของโลก หินโสโครกที่เป็นหินปะการังเกิดขึ้นรอบภูเขาไฟ ขณะที่ชั้นแผ่นดินเคลื่อนที่บรรทุกภูเขาไฟออกจากแนวร่องเข้าสู่น้ำที่ลึกกว่าด้วย ดังนั้นการระเบิดพุ่งจึงหยุดลงและภูเขาไฟก็จมลง แต่หินโสโครกยังคงถูกสร้างขึ้นต่อไป และแนวหินปะการังก็ถูกสร้างขึ้นรอบ ๆเกาะที่หดสั้นลง สิ่งที่เป็นไปได้คือภูเขาไฟค่อย ๆจมน้ำ ปล่อยให้หินโสโครกก่อตัวเป็นรูปวงแหวนซึ่งเรียกว่า แอทอล</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">ชนิดของภูเขาไฟแบ่งออกเป็น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: #cc3300; font-size: 22pt\">3 <span lang=\"TH\">ชนิด<b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"> ตามลักษณะการเกิดการระเบิด</span></b></span><br />\n1 <span lang=\"TH\">ภูเขาไฟที่กำลังพ่นควันอยู่</span> (Active Vocanoes) <span lang=\"TH\">ขณะนั้นเบื้องล่างของภูเขาไฟมีแมกมาที่พร้อมจะส่งลาวา และเถ้าถ่านออกมาเมื่อไรก็ได้</span> <br />\n2. <span lang=\"TH\">ภูเขาไฟที่ดับแล้วแต่ยังสามารถระเบิดได้(</span>Dominate Volcanoes) <span lang=\"TH\">ขณะนี้ดับแต่จะระเบิดขึ้นมาเมื่อไรก็ได้ เช่น ภูเขาฟูจียามาในญี่ปุ่น พินาตู ภูเขาเหล่านี้มีประวัติการระเบิดมาแล้ว และมีอายุต่ำกว่าแสนปี</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ภูเขาไฟที่ดับสนิท (</span>Extinct Volcanoes) <span lang=\"TH\">เป็นภูเขาที่ไม่มีโอกาสระเบิดขึ้นมาอีก ใต้พิภพนั้นไม่มีจุดที่ร้อนมาก เปลือกโลกบริเวณนั้นสงบ และอยู่ในสภาวะเสถียร เช่น ภูเขาพนมรุ้งที่ตัวประสาทหินพนมรุ้งตั้งอยู่ หรือคอกหินฟู อ.แม่เมาะ จังหวัดลำปาง การพุ่งขึ้นมาของลาวามีผลทำให้ได้ภูเขาที่มีรูปทรงลักษณะต่าง ๆ เช่น</span><br />\nShield Volcanoes <span lang=\"TH\">มีรูปทรงเป็นเนินเตี้ย ๆแบบกะทะคว่ำ เนื่องจากลาวาที่ถูกพ่นออกมาอาจจะเป็นหนึ่งหรือหลาย ๆปล่องในกลุ่มบริเวณเดียวกันที่เรียกว่า </span>Fissure eruption <span lang=\"TH\">การระเบิดไม่รุนแรง ลาวาไหลเอ่อออกมาแผ่กระจาย อาจซ้อนกันหลาย ๆชั้นก็ได้ ลาวาจะไม่ข้นหรือหนืดมากแต่เหลวจัด</span> <br />\nCone or dome <span lang=\"TH\">มีลักษณะเป็นภูเขาพูนสูงขึ้นเป็นรูปโดมหรือกรวย อาจมีปล่องตรงกลางหรือไม่ก็ได้ ขณะที่ลาวาแข็งตัวกลายเป็นหินอุดปล่องเอาไว้จนเต็ม ภูเขาไฟลักษณะนี้เกิดจากการพอกพูนของลาวาเนื้อข้นหรือหนืดมาก ลาวาที่ไหลออกมาจึงไม่ไหลแผ่ออก</span> <br />\nCinder cone <span lang=\"TH\">เป็นภูเขาไฟที่สองข้างลาดชันขึ้นเป็นรูปกรวยสมมาตร เกิดจากการพอกพูนตัวของวัสดุเถ้าถ่านหรือเศษหินที่ถูกพ่นออกมาแล้วตกลงรอบ ๆปล่อง พอกพูนทีละชั้นสูงขึ้นเรื่อย ๆ</span><br />\nComposite volcanoes <span lang=\"TH\">เป็นภูเขาไฟที่เกิดจากชั้นสลับกันของลาวา และเถ้าถ่าน มักมีลักษณะเป็นปล่องมากกว่าหนึ่งแตกแขนงออกไผ เช่น ภูเขาไฟปอมเปอิ ของอิตาลี เกิดจากรอยร้าวหลาย ๆรอยเชื่อมต่อกันถึงแล้วลาวาแทรกเข้าไป แนวภูเขาไฟในโลกจะปรากฏเป็นแนวยาว แนวที่สำคัญคือ บริเวณรอบมหาสมุทรแปซิฟิก หรือที่เรียกว่า วงแหวนแห่งไฟรอบมหาสมุทรแปซิฟิก (</span>Pacific Ring of Fire) <span lang=\"TH\">แนวภูเขาไฟของโลกจะเป็นแนวเดียวกันกับแนวที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อย ๆ ทั้งสองแนวจึงมีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน สำหรับประเทศไทยไม่ได้ตั้งอยู่ในแนวทั้งสองจึงไม่ค่อยมีปรากฏการณ์ ภูเขาไฟระเบิด หรือแผ่นดินไหว</span></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727530219, expire = 1727616619, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3dd13d715094e78ccf9ca5fa21a13655' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สังคม ศาสนา วัฒนธรรม

 

การเลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก ในปี พ . ศ . ๒๔๕๘ อัลเฟรด เวกเกอเนอร์ นักธรณีวิทยาและนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันเสนอทฤษฎีทวีปเลื่อน (Continental Drift) เป็นครั้งแรก เขาเชื่อว่าแผ่นดินลอยอยู่บนของเหลวซึ่งหุ้มแกนโลกอยู่ การค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ในทวีปที่อยู่ห่างไกลกันสนับสนุนทฤษฎีนี้ เวกเกอเนอร์เสนอว่าเมื่อ ๒๐๐ ล้านปีที่แล้ว โลกมีทวีปเดียวขนาดใหญ่เรียกว่าพันเจีย (Pangaea-- แปลว่าทั้งโลก ) จนกระทั่งถึงยุคจูแรสซิก แผ่นดินจึงเริ่มแยกจากกันเป็น ๒ ส่วนเรียกว่า กอนวานาแลนด์ (Gonwanaland) ทางซีกใต้ของโลก และลอเรเซีย (Laurasia) ทางซีกเหนือ โดยมีทะเลทีธิส (Tethys) คั่นกลาง เมื่อสิ้นสุดยุคครีเทเชียส แผ่นดินก็แตกออกเป็นทวีปต่างๆ และค่อยๆเคลื่อนตัวมายังตำแหน่งที่เราเห็นในปัจจุบัน
เอ็ดวาร์ด ซูส (Eduard Suess) นักธรณีวิทยาชาวออสเตรีย เป็นผู้พบหลักฐานที่ทำให้เขาเชื่อว่าแผ่นดินของทวีปอเมริกา อัฟริกา อินเดีย ออสเตรเลีย และแอนตาร์กติกา เคยเชื่อมต่อกัน เขาเป็นผู้ตั้งชื่อแผ่นดินนี้ว่ากอนวานาแลนด์ ตามชื่อเขตที่พบซากดึกดำบรรพ์ของพืชกลอสส็อปเทอริส ( Glossopteris ) เป็นครั้งแรก และต่อมาก็พบในทวีปอื่นๆด้วย นอกจากนั้นยังมีซากสัตว์เลื้อยคลานดึกดำบรรพ์มีโซซอรัส (Mesosaurus) ที่พบในอเมริกาใต้ และอัฟริกาใต้อีกด้วย
การเลื่อนของทวีปทำให้ภูมิประเทศของโลกเปลี่ยนไป ทำให้เกิดมหาสมุทร และภูเขา อีกทั้งยังมีพลังมหาศาลที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหว และภูเขาไฟระเบิด <!--[if !vml]-->
<!--[endif]-->
โครงสร้างของโลก แบ่งตามลักษณะมวลสารได้3ชั้น
1. ชั้นเปลือกโลก เสมือนผิวด้านนอกที่ปกคลุมโลก แบ่งออกได้เป็น 2 บริเวณ
- ภาคพื้นทวีป หมายถึงส่วนที่เป็นแผ่นดินทั้งหมด ประกอบด้วยธาตุซิลิคอนและอลูมิเนียม
- ใต้มหาสมุทร หมายถึง เปลือกโลกส่วนที่ปกคลุมด้วยน้ำ ประกอบด้วยธาตุ ซิลิคอนและแมกนีเซียม
2. ชั้นเนื้อโลก มีความลึก 2,900 กิโลเมตร แบ่งเป็น 3 ส่วน
- ส่วนบน เป็นหินที่เย็นตัวมีรอยแยก หรือรอยแตกเนื่องจากความเปราะ
ชั้นเนื้อโลกส่วนบน กับชั้นเปลือกโลกรวมกันเรียกว่า "ธรณีภาค"
- ชั้นฐานธรณีภาค เป็นชั้นหินหลอมละลายหรือหินหนืด ที่เรียกว่า แมกมา
- ชั้นล่างสุด เป็นชั้นของแข็งร้อนที่แน่นและหนืดกว่าตอนบน ธาตุอื่นก็ประกอบด้วยแมกนีเซียมและเหล็ก
3. ชั้นแก่นโลก อยู่ในความลึก 2,900 กิโลเมตรลงไป แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
- แก่นโลกชั้นนอก เป็นของเหลวร้อนของโลหะเหล็กและนิกเกิล
- แก่นโลกชั้นใน มีส่วนประกอบเหมือนชั้นนอกแต่อยู่ในสภาพของแข็งเนื่องจากมีความดันและอุณหภูมิสูงมาก

ธรณีภาค
ปี พ.ศ. 2458 ดร.อัลเฟรด เวกาเนอร์ นักอุตุนิยมชาวเยอรมัน ได้ตั้งสมมุติฐานว่า
"ผืนแผ่นดินทั้งหมดบนโลกแต่เดิมเป็นแผ่นดินเดียวกัน เรียกว่า พันเจีย
เมื่อ 200 - 135 ล้านปีที่แล้ว แยกออกเป็น 2 ทวีปใหญ่ คือ ลอเรเชีย ทางตอนเหนือ และกอนด์วานาทางตอนใต้และเมื่อ 135 - 65 ล้านปีที่แล้ว ลอเรเชียเริ่มแยกเป็นอเมริกาเหนือ และแผ่นยูเรเชีย ส่วนกอนด์วานาจะแยกเป็น อเมริกาใต้ แอฟริกา ออสเตรเลีย
แอนตาร์กติก และอินเดีย แผ่นธรณีภาคและการเคลื่อนที่
1. ขอบแผ่นธรณีภาคแยกออกจากกัน
เกิดจากการดันตัวของแมกมา ทำให้เกิดรอยแยก จนแมกมาถ่ายโอนความร้อนสู่เปลือกโลกได้ ทำให้อุณหภูมิและความดันลดลง ทำให้เปลือกโลกทรุดตัวกลายเป็นหุบเขาทรุดในระยะเวลาต่อมาเมื่อมีน้ำไหลมาสะสมเกิดเป็นทะเล และเกิดเป็นรอยแยกทำให้เกิดร่องลึก แมกมาจึงเคลื่อนตัวแทรกดันขึ้นมาอีก ทำให้แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรแยกจากไปทั้งสองด้านเกิด การขยายตัวของพื้นทะเล (Sea floor spreading) และทำให้เกิดเทือกเขากลางสมุทร เช่น บริเวณทะเลแดง อ่าวแคลิฟอร์เนีย แอฟริกาตะวันออก มีลักษณะหุบเขาทรุด มีร่องรอยแยก เกิดแผ่นดินไหวตื้นๆ มีภูเขาไฟและลาวาไหลอยู่ใต้มหาสมุทร

2
. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนเข้าหากัน มี 3 แบบ
- แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกันกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร แผ่นธรณีภาคอีกแผ่นหนึ่งจะมุดลงใต้อีกแผ่นหนึ่ง ปลายของแผ่นที่มุดลงจะหลอมกลายเป็นแมกมา และปะทุขึ้นมา บนแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร เกิดเป็นแนวภูเขาไฟใต้มหาสมุทร และมีร่องใต้ทะเลลึก มีแนวการเกิดแผ่นดินไหวตามขอบแผ่นธรณีภาคลึกลงไปถึงชั้นเนื้อโลก จนมีภูเขาไฟที่ยังมีพลัง เช่น ที่หมู่เกาะมาริอานาส์ อาลูเทียน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์
- แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป
แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรซึ่งหนักกว่ามุดตัวลงข้างล่างใต้แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป เกิดเป็นร่องใต้ทะเลและเกิดเทือกเขา ตามแนงขอบทวีปเป็นแนวภูเขาไฟชายฝั่ง และแผ่นดินไหวรุนแรง เช่น อเมริกาใต้แถบตะวันตก
- แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป ซึ่งทั้งสองแผ่นมีความหนามาก ทำให้แผ่นหนึ่งมุดลงแต่อีกแผ่นหนึ่งเกยขึ้นเกิดเป็นเทือกเขาแนวยาวอยู่กลางทวีปหรือแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป เช่นเทือกเขาหิมาลัย ในทวีปเอเชีย เทือกเขาแอลป์ ในทวีปยุโรป

3. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน
เกิดจากอัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน จึงทำให้แผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ไม่เท่ากันด้วยส่งผลให้เปลือกโลกและเทือกเขาใต้มหาสมุทรเลื่อนไถลผ่านและเฉือนกัน เกิดเป็นรอยเลื่อนเฉือนระนาบด้านข้างขนาดใหญ่ สันเขากลางมหาสมุทรเลื่อนเป็นแนวเหลื่อมกันอยู่ มีลักษณะเป็นแนวรอยแตกแคบยาวมีทิศทางตั้งฉากกับเทือกเขากลางมหาสมุทรและร่องใต้ทะเลลึก มักจะเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในระดับตื้นๆ ระหว่างขอบของแผ่นธรณีภาคที่ซ้อนเกยกัน เช่น รอยเลื่อนซานแอนเดรียส ประเทศอเมริกา รอยเลื่อนอัลไพล์ ประเทศนิวซีแลนด์ <!--[if !vml]-->
<!--[endif]-->
โลกของเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (เนื่องจากภายในโลกมีความร้อน มีแร่ธาตุหลอมเหลว และหินหนืดเคลื่อนที่วนอยู่... ดังกล่าว) แผ่นเปลือกโลกจึงมีการเคลื่อนที่ แยกออก เข้าหา หรือผ่านกัน และเนื่องจากแรงที่มากระทำต่อแผ่นเปลือกโลกนั้น ๆ จึงเกิดเป็นโครงสร้างทางธรณีวิทยาหลายรูปแบบ เช่น การโค้ง (folding) การแตก (fracturing) การเลื่อนของหิน (Faulting) ซึ่งกระบวนการอันเป็นสาเหตุนี้เรียกว่า กระบวนการแปรสัณฐานแผ่นเปลือกโลก
ต่อจากนั้นเปลือกโลกต้องเผชิญหน้ากับแรงโน้มถ่วง สภาพอากาศ น้ำ ลม ซึ่งทำหน้าที่กัดกร่อน (erosion) ทำให้หินผุพัง (weathering) และพัดพา (transportation) ไปทับถมเพื่อสะสมตัว (deposition) กระบวนการนี้จึงเป็นการปรับระดับเปลือกโลกให้สมดุลย์
ทีนี้ลองมาดูความหมายของแต่ละคำที่ถามเลยก็แล้วกันนะ
การยกตัว (uplift) คือชั้นหินหรือเปลือกโลกยกตัวขึ้น หรือเลื่อนขึ้น ทำให้เปลือกโลกบริเวณนั้นสูงขึ้น เมื่อทราบดังนี้ก็มีหลายกระบวนการที่เกี่ยวข้อง อาจเป็น faulting, folding การแทรกดันของมวลหินอัคนี หรือ ชั้นเกลือหินก็ได้
การยุบตัว (subsidence) คือแผ่นดินบริเวณนั้นทรุดหรือยุบตัวลง ซึ่งก็อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุเช่นกัน อาทิ หินด้านล่างถูกละลายออกไป (โพรงในหินปูนหรือเกลือหิน) น้ำหนักของชั้นตะกอนที่ทับถมอยู่ด้านบน หรือการทำเหมืองใต้ดินที่ออกแบบไม่ถูกต้องเหมาะสม เป็นต้น
การคดโค้งโก่งงอ (Folding) เกิดจากชั้นหินในสภาพอ่อนนิ่มถูกทำให้เปลี่ยนลักษณะเป็นรูปคดโค้งโก่งงอ เนื่องจากมีแรงมากระทำ ส่วนมากจะทำให้เปลือกโลกหดสั้นลงและหนาขึ้น
การผุพังอยู่กับที่ (weathering) เป็นกระบวนการที่หินผุลงเนื่องจากสภาพอากาศ น้ำ และ ลม การแตก หักกร่อน รวมทั้งกิจกรรมทางชีวภาพด้วย
การกร่อน (erosion) คือกระบวนการที่ทำให้สารเปลือกโลกหลุดไป ละลายไป หรือกร่อนโดยตัวการทางธรรมชาติ ได้แก่ สภาพลมฟ้าอากาศ สานละลาย การถู ครูด การนำพา
การพัดพา (transportation) คือกระบวนการพัดพาเศษหิน เศษแร่ ตะกอน จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยมีตัวการเช่น น้ำ ลม ธารน้ำแข็ง นำพาไป
การทับถม (deposition) คือการที่เศษหิน แร่ ตะกอน อินทรียวัตถุ จากการนำพาของน้ำ ลม ธารน้ำแข็ง หรือตะกอนที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี มาสะสมตัวทับถมกัน
ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว แ ป ร รู ป ข อ ง เ ป ลื อ ก โ ล ก (Diastrophism)
การแปรสัณฐานเปลือกโลก(Diastrophism ; tectonism ) หมายถึง กระบวนการเคลื่อนไหวของเปลือกโลกหรือส่วนของผิวโลก เช่น การเลื่อนตัวตามรอยแตก(faulting) การโก่งงอ(Folding) การแตกร้าว (fracture) การยกตัวขึ้นมาของชั้นหิน(Uplifting) การทรุดตัวลงของชั้นหิน(subsidence) ซึ่งกระบวนการเหล่านี้จะทำให้เกิดลักษณะต่าง ๆ เป็นต้นว่า ทวีปและแอ่งมหาสมุทร ที่ราบสูงและภูเขา ซั้นหินที่คดโค้งหรือเอียงเท <!--[if !vml]--><!--[endif]-->
การยุบตัว(Subsidence) การยุบตัวของผืนดินอันเกิดจากดินหรือหินที่รองรับอยู่ถูกละลายไป หรือถูกนำออกไปตามธรรมชาติ หรือโดยมนุษย์เป็นผู้กระทำเหมืองแร่หรือเหมืองใต้ดิน
การประทุภูเขาไฟ
การประทุของภูเขาไฟ หรือการชนกันของแผ่นเปลือกโลก เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหว(earthquake) ขณะที่เกิดแผ่นดินไหวพื้นผิวโลกจะมีการเคลื่อนที่ขึ้น-ลง คล้ายคลื่นทะเล หรือพื้นผิวโลกบางแห่งมีการเคลื่อนที่แยกจากกันภูเขาไฟบางแห่งที่สู่พื้นผิวจากแนวร่องมหาสมุทรใต้น้ำในเขตโซนร้อนของโลก หินโสโครกที่เป็นหินปะการังเกิดขึ้นรอบภูเขาไฟ ขณะที่ชั้นแผ่นดินเคลื่อนที่บรรทุกภูเขาไฟออกจากแนวร่องเข้าสู่น้ำที่ลึกกว่าด้วย ดังนั้นการระเบิดพุ่งจึงหยุดลงและภูเขาไฟก็จมลง แต่หินโสโครกยังคงถูกสร้างขึ้นต่อไป และแนวหินปะการังก็ถูกสร้างขึ้นรอบ ๆเกาะที่หดสั้นลง สิ่งที่เป็นไปได้คือภูเขาไฟค่อย ๆจมน้ำ ปล่อยให้หินโสโครกก่อตัวเป็นรูปวงแหวนซึ่งเรียกว่า แอทอล ชนิดของภูเขาไฟแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ตามลักษณะการเกิดการระเบิด
1 ภูเขาไฟที่กำลังพ่นควันอยู่ (Active Vocanoes) ขณะนั้นเบื้องล่างของภูเขาไฟมีแมกมาที่พร้อมจะส่งลาวา และเถ้าถ่านออกมาเมื่อไรก็ได้
2. ภูเขาไฟที่ดับแล้วแต่ยังสามารถระเบิดได้(Dominate Volcanoes) ขณะนี้ดับแต่จะระเบิดขึ้นมาเมื่อไรก็ได้ เช่น ภูเขาฟูจียามาในญี่ปุ่น พินาตู ภูเขาเหล่านี้มีประวัติการระเบิดมาแล้ว และมีอายุต่ำกว่าแสนปี
3. ภูเขาไฟที่ดับสนิท (Extinct Volcanoes) เป็นภูเขาที่ไม่มีโอกาสระเบิดขึ้นมาอีก ใต้พิภพนั้นไม่มีจุดที่ร้อนมาก เปลือกโลกบริเวณนั้นสงบ และอยู่ในสภาวะเสถียร เช่น ภูเขาพนมรุ้งที่ตัวประสาทหินพนมรุ้งตั้งอยู่ หรือคอกหินฟู อ.แม่เมาะ จังหวัดลำปาง การพุ่งขึ้นมาของลาวามีผลทำให้ได้ภูเขาที่มีรูปทรงลักษณะต่าง ๆ เช่น
Shield Volcanoes มีรูปทรงเป็นเนินเตี้ย ๆแบบกะทะคว่ำ เนื่องจากลาวาที่ถูกพ่นออกมาอาจจะเป็นหนึ่งหรือหลาย ๆปล่องในกลุ่มบริเวณเดียวกันที่เรียกว่า Fissure eruption การระเบิดไม่รุนแรง ลาวาไหลเอ่อออกมาแผ่กระจาย อาจซ้อนกันหลาย ๆชั้นก็ได้ ลาวาจะไม่ข้นหรือหนืดมากแต่เหลวจัด
Cone or dome มีลักษณะเป็นภูเขาพูนสูงขึ้นเป็นรูปโดมหรือกรวย อาจมีปล่องตรงกลางหรือไม่ก็ได้ ขณะที่ลาวาแข็งตัวกลายเป็นหินอุดปล่องเอาไว้จนเต็ม ภูเขาไฟลักษณะนี้เกิดจากการพอกพูนของลาวาเนื้อข้นหรือหนืดมาก ลาวาที่ไหลออกมาจึงไม่ไหลแผ่ออก
Cinder cone เป็นภูเขาไฟที่สองข้างลาดชันขึ้นเป็นรูปกรวยสมมาตร เกิดจากการพอกพูนตัวของวัสดุเถ้าถ่านหรือเศษหินที่ถูกพ่นออกมาแล้วตกลงรอบ ๆปล่อง พอกพูนทีละชั้นสูงขึ้นเรื่อย ๆ
Composite volcanoes เป็นภูเขาไฟที่เกิดจากชั้นสลับกันของลาวา และเถ้าถ่าน มักมีลักษณะเป็นปล่องมากกว่าหนึ่งแตกแขนงออกไผ เช่น ภูเขาไฟปอมเปอิ ของอิตาลี เกิดจากรอยร้าวหลาย ๆรอยเชื่อมต่อกันถึงแล้วลาวาแทรกเข้าไป แนวภูเขาไฟในโลกจะปรากฏเป็นแนวยาว แนวที่สำคัญคือ บริเวณรอบมหาสมุทรแปซิฟิก หรือที่เรียกว่า วงแหวนแห่งไฟรอบมหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ring of Fire) แนวภูเขาไฟของโลกจะเป็นแนวเดียวกันกับแนวที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อย ๆ ทั้งสองแนวจึงมีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน สำหรับประเทศไทยไม่ได้ตั้งอยู่ในแนวทั้งสองจึงไม่ค่อยมีปรากฏการณ์ ภูเขาไฟระเบิด หรือแผ่นดินไหว

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 269 คน กำลังออนไลน์