• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.222.115.166', 0, '32015805ac4413029daf54edf2f82a7e', 144, 1719537946) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e1184540d141dc56200bf1af98c2748d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: lime; font-size: 16pt\"></span></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: lime; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\'; color: blue; font-size: 26pt\">สภาพปัญหาในการบริหารจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน</span></b></span><span><span><b><span style=\"font-family: \'Browallia New\'; color: blue; font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span> <span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">จากการศึกษาทบทวนรายงาน และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภัยพิบัติอุทกภัย </span></span></span><span><span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span><span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">วาตภัยและดินถล่มที่ผ่านมา ประกอบกับ การศึกษาสถานการณ์การป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ และการให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนแผนงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ สามารถสรุปสภาพปัญหาในภาพรวมที่เกิดขึ้น โดยแยกตามยุทธศาสตร์การบริหารจัดการภัยพิบัติ ดังนี้</span></span></span><span></span><span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\">2.1 <span lang=\"TH\">ปัญหาในการเตรียมการป้องกันและลดผลกระทบ</span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 26pt\"> </span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">1) <span lang=\"TH\">การจัดทำข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยและพื้นที่อพยพยังมีความซ้ำซ้อน เนื่องจากมีหลาย</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">หน่วยงานที่ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป และบางภัยพิบัติยังไม่มีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม<span>  </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">2) <span lang=\"TH\">ขาดการประสานงานในการจัดทำแผนงานและโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆในระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบ ดังเช่น การติดตั้งระบบเตือนภัยมีหลายหน่วยงานที่ดำเนินการในแต่ละวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">3) <span lang=\"TH\">การฝึกอบรมและเตรียมความพร้อมในการเผชิญกับภัยพิบัติมีไม่เพียงพอทั้งในหน่วยงานเดียวกันและระหว่างหน่วยงาน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงองค์กรเอกชนและมูลนิธิต่างๆ เนื่องจากขาดงบประมาณและอุปกรณ์ในการดำเนินการ</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">4) <span lang=\"TH\">บุคลากรของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีไม่เพียงพอ โดยเฉพาะบุคลากรประจำที่สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด นอกจากนี้ในพื้นที่หรือท้องถิ่นยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและรวมทั้งบุคลากรในระดับปฏิบัติการ</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">5) <span lang=\"TH\">ระบบเตือนภัยและเครือข่ายในการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติยังไม่ครอบคลุม</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ทุกพื้นที่ทั้งในส่วนของหน่วยงานอื่นๆ ที่ดำเนินการและที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดำเนินงานเนื่องจากอยู่ระหว่างการศึกษา พัฒนาและติดตั้ง อีกทั้งยังติดขัดในด้านงบประมาณ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">6) <span lang=\"TH\">การแจ้งเตือนภายในระหว่างหน่วยงานยังไม่มีรูปแบบแนวทางและดำเนินงาน</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ที่ชัดเจน ขึ้นอยู่กับความคุ้นเคยส่วนตัวของผู้ปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยงาน</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">7) <span lang=\"TH\">ขาดการวิจัยและพัฒนาในเรื่องภัยพิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เนื่องจากในปัจจุบัน</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">มีบุคลากรและงบประมาณจำกัด การดำเนินงานของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในปัจจุบันส่วนใหญ่จึงเป็นการช่วยเหลือและฟื้นฟูในปัญหาเฉพาะหน้า</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">8) <span lang=\"TH\">การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับภัยต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นไม่มีความต่อเนื่องและดำเนินการได้ไม่เต็มศักยภาพเนื่องจากขาดงบประมาณในการดำเนินงาน</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">9) <span lang=\"TH\">ระบบการพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่สมบูรณ์ การติดต่อระหว่าง</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ส่วนกลางกับท้องถิ่นยังมีปัญหาทั้งในด้านการเชื่อมโยงและข้อจำกัดในด้านบุคลากร</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">10) <span lang=\"TH\">การปฏิบัติตามนโยบายไม่ต่อเนื่อง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารระดับสูงอยู่เป็น</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ประจำเกือบทุกปี</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">11) <span lang=\"TH\">หน่วยงานในท้องถิ่น เช่น องค์กรบริหารส่วนตำบล</span> (<span lang=\"TH\">อบต</span>.) <span lang=\"TH\">และองค์กรบริหารส่วนจังหวัด</span> (<span lang=\"TH\">อบจ</span>.) <span lang=\"TH\">ไม่ให้ความสำคัญในภารกิจและอำนาจหน้าที่รับผิดชอบด้านการบริหารจัดการภัยพิบัติเท่าที่ควรจะเป็น บางท้องถิ่นไม่ได้มีการเตรียมงบประมาณการดำเนินการในด้านนี้</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">12) <span lang=\"TH\">เครื่องจักรกล เครื่องมือและอุปกรณ์ในการบริหารจัดการภัยพิบัติมีไม่เพียงพอและไม่เหมาะสม โดยส่วนใหญ่โอนมาจากหน่วยงานเดิมและเป็นเครื่องมือก่อสร้าง แต่เครื่องมือในการ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">จัดการภัยพิบัติ ยังมีไม่เพียงพอ อาทิเช่น รถยนต์กู้ภัยอเนกประสงค์ เรือท้องแบน สะพานเบลลีย์ เลื่อยโซ่ยนต์ เป็นต้น จึงจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมในด้านเครื่องจักรเครื่องมือให้เหมาะสมกับประเภทของภัยและสภาพภูมิประเทศ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: lime; font-size: 22pt\"><o:p> </o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 22pt\">2.2 <span lang=\"TH\">ปัญหาในการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ภัยพิบัติ ประกอบด้วย</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">1) <span lang=\"TH\">กำลังเจ้าหน้าที่ อาสาสมัครและอุปกรณ์ในการบริหารจัดการภัยพิบัติทุกหน่วยงาน</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในขณะนี้มีการรวบรวมข้อมูลแล้วบางส่วน ซึ่งต้องใช้เวลาในการดำเนินการในระยะหนึ่ง ทำให้ยังไม่สามารถจัดทำแผนงานเตรียมพร้อมรับภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">2.) <span lang=\"TH\">งบประมาณการฝึกซ้อมการบริหารจัดการภัยพิบัติ ในพื้นที่เสี่ยงภัยมีไม่เพียงพอทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องจริงจังและเต็มศักยภาพ นอกจากนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังขาดการมีส่วนร่วมในการตั้งงบประมาณและร่วมการฝึกซ้อมฯ แผน เท่าที่ควร</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">3) <span lang=\"TH\">งบประมาณในการส่งเสริมและให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับภัยพิบัติ การจัดการ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ภัยพิบัติและการเตรียมตัวเพื่อจะรับภัยที่จะเกิดขึ้นต่างๆ อย่างต่อเนื่องยังไม่เพียงพอทำให้ไม่สามารถ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ดำเนินการได้อย่างเต็มศักยภาพ อีกทั้งยังขาดแคลนบุคลากรและเครื่องมือในการฝึกอบรม</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">4) <span lang=\"TH\">ขาดแนวทางและกฎหมายเฉพาะ ที่จะรองรับในการจัดระบบประกันภัยกับประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อเป็นการลดภาระและค่าใช้จ่ายของรัฐบาล</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">5) <span lang=\"TH\">การศึกษา ฝึกอบรม การให้ความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักแก่ประชาชนและ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">เยาวชนเกี่ยวกับภัยพิบัติในด้านต่างๆ ยังดำเนินการได้ไม่ทั่วถึง เนื่องจากยังอยู่ระหว่างการฝึกอบรมเพื่อผลิตวิทยากรได้แก่ เจ้าหน้าที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอในการดำเนินการ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">6) <span lang=\"TH\">ในบางสถานการณ์และบางพื้นที่ ยังขาดการประชาสัมพันธ์หรือสื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีการเตรียมพร้อมในการรับภัยพิบัติได้อย่างทั่วถึง นอกจากนี้ในการประกาศเตือนภัยล่วงหน้าแต่ยังไม่มีขอบเขตความรุนแรงการเกิดภัยที่ชัดเจน</span><o:p><br />\n</o:p></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\">2.3 <span lang=\"TH\">ปัญหาการจัดการภัยในภาวะฉุกเฉิน</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: lime; font-size: 22pt\">1</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">) <span lang=\"TH\">แผนการบริหารจัดการสาธารณภัยยังมีไม่ครบถ้วนทุกประเด็น และตามสภาวะ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">การเกิดภัยบางแผนงานที่มีเป็นลักษณะกว้างๆ เป็นแนวทางหรือมาตรการ ไม่ได้ลงลึกถึงการปฏิบัติอย่างแท้จริง โดยควรระบุเป้าหมายทรัพยากรที่ต้องใช้และภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ และการควบคุมติดตามและประเมินผล</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">2) <span lang=\"TH\">แผนการบริหารจัดการสาธารณภัยในปัจจุบันมีการกำหนดเป็นแผนระดับชาติ คือ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และต้องมีการจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เพื่อให้มีความสอดคล้องเป็นระบบต่อเนื่องและมีกลไกในทางปฏิบัติในระดับพื้นที่ แต่ในทางปฏิบัติยังขาดคู่มือการปฏิบัติงานและแผนการประสานงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ อย่างบูรณาการ โดยส่วนใหญ่เป็นแผนเฉพาะกิจเพื่อป้องกันและช่วยเหลือเป็นปีๆ ไป และมีลักษณะต่างคนต่างทำ ไม่ประสานบูรณาการ รวมทั้งขาดการยอมรับจากทุกฝ่าย</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">3) <span lang=\"TH\">รัฐบาลและผู้บริหารระดับสูงในระบบราชการขาดความตระหนักและให้ความสนใจ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ในด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเท่าที่ควร เนื่องจากมีภารกิจด้านอื่นๆ อยู่มาก การบริหารจัดการสาธารณภัยจึงเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไม่ถือนโยบายและแผนเร่งด่วน หรือวาระแห่งชาติ ดังนั้น ในทางปฏิบัติเมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น ทั้งนักการเมืองและผู้บริหารระดับสูงมักสั่งการในทางที่เป็นการตัดสินใจทางการเมืองเป็นหลัก</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">4) <span lang=\"TH\">การบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการฝึกซ้อมและบรรเทาสาธารณภัย เป็นปัญหา</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ที่สำคัญอย่างยิ่งในการบริหารจัดการสาธารณภัย ปัญหาดังกล่าวอาจมีสาเหตุจำนวนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอกับปริมาณและคุณภาพของงาน ในหลายกรณีเจ้าหน้าที่ขาดความรู้และประสบการณ์ที่จะควบคุมกิจกรรมที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ บางกรณีเจ้าหน้าที่ขาดความสนใจละเลยปล่อยให้มีการฝ่าฝืนกฎหมาย และหลายกรณีมีการละเว้นการปฏิบัติ โดยจะมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดแค่ชั่วเวลาหนึ่งเท่านั้น</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">5) <span lang=\"TH\">ความสับสนวุ่นวายในการดำเนินการจนทำให้เกิดการกระทำ หรือพฤติกรรมที่ไร้</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">เหตุผลของผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์หรือผู้ช่วยเหลือจากภายนอก เช่น การขโมยทรัพย์สินของผู้ประสบภัย เป็นต้น</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">6) <span lang=\"TH\">ผู้ช่วยสนับสนุนและเหลือจากภายนอกมีจำนวนมากและต่างคนต่างปฏิบัติงานอย่างอิสระ ทำให้เกิดความซ้ำซ้อนในการทำงาน ไม่มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบที่ดี ประกอบกับ กำลังเจ้าหน้าที่</span>/<span lang=\"TH\">อาสาสมัครที่มาปฏิบัติงานอาจยังไม่เข้าใจแนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจนทำให้เกิดความสับสนและวุ่นวาย</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">7) <span lang=\"TH\">ขาดความสัมพันธ์และการประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน และการกำหนด</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ขอบเขตอำนาจหน้าที่ บทบาท และการสนับสนุนด้านต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แม้ว่าในปัจจุบันมีการฝึกซ้อมแผนร่วมกันในทุกภาคส่วนแต่ก็ยังไม่สามารถดำเนินการได้ทั่วถึงทั้งประเทศ และในทุกพื้นที่เสี่ยงภัยเนื่องจากในแต่ละภัยก็มีลักษณะการบริหารจัดการที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังติดขัดในด้านของความพร้อมและงบประมาณในการดำเนินการ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">8) <span lang=\"TH\">การให้ข่าวสารและเปิดเผยข้อมูลระหว่างหน่วยงาน เนื่องจากเกี่ยวข้องกับความมั่นคงของชาติ นอกจากนี้ผู้ให้ข่าวสารควรมีความเป็นเอกภาพ โดยในปัจจุบันเมื่อเกิดเหตุการณ์แล้วจะมีความสับสนในด้านข่าวสารค่อนข้างมาก</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">9) <span lang=\"TH\">การบริหารจัดการภัยพิบัติในบางพื้นที่มีปัญหาเนื่องจากผู้สั่งการไม่เข้าใจลักษณะ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">สภาพพื้นที่และพฤติกรรมของบุคคลในพื้นที่ ซึ่งอาจทำให้เกิดสถานการณ์ล่อแหลม ต่างฝ่ายต่างมี</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ความเครียด หากไม่ได้รับการฝึกอบรมการบริหารจัดการภัยพิบัติและการควบคุมสถานการณ์จะทำให้การดำเนินการในพื้นที่ทำได้ยาก</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 22pt\"><o:p> </o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: blue; font-size: 26pt\">2.4 <span lang=\"TH\">ปัญหาการจัดการหลังเกิดภัย</span></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 26pt\"> </span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 26pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">1) <span lang=\"TH\">การรวบรวมข้อมูลความเสียหายมีความล่าช้าในการดำเนินการ เนื่องจากบุคลากร</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นที่มีจำนวนจำกัด และมีภารกิจที่มากมายต้องดำเนิน การทั้งในด้านการประสานงาน การติดต่อสื่อสาร และการให้ความช่วยเหลือ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">2) <span lang=\"TH\">ปัญหาการกำหนดขอบเขตพื้นที่ประสบภัยพิบัติที่ได้รับความเสียหาย การประกาศ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">เขตพื้นที่เกิดภัยพิบัติเป็นไปในลักษณะกว้างๆ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">3) <span lang=\"TH\">ความล่าช้าในการให้ความช่วยเหลือเนื่องจากติดขัดกับระเบียบจากทางราชการ และ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">เมื่อมีการช่วยเหลือจากภาคเอกชน ทำให้เกิดการเปรียบเทียบในความไม่เท่าเทียมกัน</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">4) <span lang=\"TH\">ขาดการประชาสัมพันธ์งานที่ได้ดำเนินการให้ความช่วยเหลือหรืองานในอำนาจหน้าที่รวมทั้งปัญหาในด้านกฎระเบียบที่เข้มงวดทำให้ประชาชนที่ประสบภัยเกิดความสับสนในการร้องขอ เช่น เมื่อเกิดภัยพิบัติต่างคนต่างไม่ช่วยเหลือไม่ได้ผ่านผู้รับผิดชอบคือจังหวัด หรือสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดในพื้นที่ประสบภัย ทำให้เกิดปัญหาที่ตามมาในภายหลัง อาทิ ความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติ</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">5) <span lang=\"TH\">ขาดการติดตามในการแก้ไขปัญหาและไม่มีความต่อเนื่องการให้ความช่วยเหลือ</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ประชาชนผู้ประสบภัยทั้งในด้านชีวิตและจิตใจ เนื่องจากบุคลากรที่ดำเนินการในท้องถิ่นมีจำนวนจำกัดและมีภารกิจที่มากมายหลายด้านรวมทั้งการเกิดภัยพิบัติ โดยเฉพาะอุทกภัยซึ่งเกิดติดต่อกันตลอดเวลาทำให้ต้องใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่แทนที่จะต้องติดตามแก้ไขปัญหาเดิม</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">6) <span lang=\"TH\">ความล่าช้าในการบูรณะฟื้นฟู ปรับปรุง ซ่อมแซม และก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ที่ถูกทำลายให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เนื่องจากขาดเครื่องมือเครื่องใช้ และอุปกรณ์ในการดำเนินการรวมไปถึงงบประมาณและอำนาจหน้าที่ในการดำเนินงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">7) <span lang=\"TH\">การรวบรวมข้อมูลความเสียหายมีหลายหน่วยงานดำเนินการทำให้เกิดความสับสน</span><o:p></o:p></span> <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: red; font-size: 22pt\">ขาดเอกภาพ และปัญหาในการบริหารจัดการงบประมาณ และแนวทางในการให้ความช่วยเหลือ</span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: lime; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></b> </p>\n', created = 1719537958, expire = 1719624358, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e1184540d141dc56200bf1af98c2748d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สัมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม

 

สภาพปัญหาในการบริหารจัดการภัยพิบัติในปัจจุบัน จากการศึกษาทบทวนรายงาน และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภัยพิบัติอุทกภัย วาตภัยและดินถล่มที่ผ่านมา ประกอบกับ การศึกษาสถานการณ์การป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ และการให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนแผนงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ สามารถสรุปสภาพปัญหาในภาพรวมที่เกิดขึ้น โดยแยกตามยุทธศาสตร์การบริหารจัดการภัยพิบัติ ดังนี้ 2.1 ปัญหาในการเตรียมการป้องกันและลดผลกระทบ 1) การจัดทำข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยและพื้นที่อพยพยังมีความซ้ำซ้อน เนื่องจากมีหลาย หน่วยงานที่ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป และบางภัยพิบัติยังไม่มีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม  2) ขาดการประสานงานในการจัดทำแผนงานและโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆในระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบ ดังเช่น การติดตั้งระบบเตือนภัยมีหลายหน่วยงานที่ดำเนินการในแต่ละวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน 3) การฝึกอบรมและเตรียมความพร้อมในการเผชิญกับภัยพิบัติมีไม่เพียงพอทั้งในหน่วยงานเดียวกันและระหว่างหน่วยงาน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงองค์กรเอกชนและมูลนิธิต่างๆ เนื่องจากขาดงบประมาณและอุปกรณ์ในการดำเนินการ 4) บุคลากรของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีไม่เพียงพอ โดยเฉพาะบุคลากรประจำที่สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด นอกจากนี้ในพื้นที่หรือท้องถิ่นยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและรวมทั้งบุคลากรในระดับปฏิบัติการ 5) ระบบเตือนภัยและเครือข่ายในการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติยังไม่ครอบคลุม ทุกพื้นที่ทั้งในส่วนของหน่วยงานอื่นๆ ที่ดำเนินการและที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยดำเนินงานเนื่องจากอยู่ระหว่างการศึกษา พัฒนาและติดตั้ง อีกทั้งยังติดขัดในด้านงบประมาณ 6) การแจ้งเตือนภายในระหว่างหน่วยงานยังไม่มีรูปแบบแนวทางและดำเนินงาน ที่ชัดเจน ขึ้นอยู่กับความคุ้นเคยส่วนตัวของผู้ปฏิบัติงานในแต่ละหน่วยงาน 7) ขาดการวิจัยและพัฒนาในเรื่องภัยพิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เนื่องจากในปัจจุบัน มีบุคลากรและงบประมาณจำกัด การดำเนินงานของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในปัจจุบันส่วนใหญ่จึงเป็นการช่วยเหลือและฟื้นฟูในปัญหาเฉพาะหน้า 8) การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้เกี่ยวกับภัยต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นไม่มีความต่อเนื่องและดำเนินการได้ไม่เต็มศักยภาพเนื่องจากขาดงบประมาณในการดำเนินงาน 9) ระบบการพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่สมบูรณ์ การติดต่อระหว่าง ส่วนกลางกับท้องถิ่นยังมีปัญหาทั้งในด้านการเชื่อมโยงและข้อจำกัดในด้านบุคลากร 10) การปฏิบัติตามนโยบายไม่ต่อเนื่อง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารระดับสูงอยู่เป็น ประจำเกือบทุกปี 11) หน่วยงานในท้องถิ่น เช่น องค์กรบริหารส่วนตำบล (อบต.) และองค์กรบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ไม่ให้ความสำคัญในภารกิจและอำนาจหน้าที่รับผิดชอบด้านการบริหารจัดการภัยพิบัติเท่าที่ควรจะเป็น บางท้องถิ่นไม่ได้มีการเตรียมงบประมาณการดำเนินการในด้านนี้ 12) เครื่องจักรกล เครื่องมือและอุปกรณ์ในการบริหารจัดการภัยพิบัติมีไม่เพียงพอและไม่เหมาะสม โดยส่วนใหญ่โอนมาจากหน่วยงานเดิมและเป็นเครื่องมือก่อสร้าง แต่เครื่องมือในการ จัดการภัยพิบัติ ยังมีไม่เพียงพอ อาทิเช่น รถยนต์กู้ภัยอเนกประสงค์ เรือท้องแบน สะพานเบลลีย์ เลื่อยโซ่ยนต์ เป็นต้น จึงจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมในด้านเครื่องจักรเครื่องมือให้เหมาะสมกับประเภทของภัยและสภาพภูมิประเทศ   2.2 ปัญหาในการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ภัยพิบัติ ประกอบด้วย 1) กำลังเจ้าหน้าที่ อาสาสมัครและอุปกรณ์ในการบริหารจัดการภัยพิบัติทุกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในขณะนี้มีการรวบรวมข้อมูลแล้วบางส่วน ซึ่งต้องใช้เวลาในการดำเนินการในระยะหนึ่ง ทำให้ยังไม่สามารถจัดทำแผนงานเตรียมพร้อมรับภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.) งบประมาณการฝึกซ้อมการบริหารจัดการภัยพิบัติ ในพื้นที่เสี่ยงภัยมีไม่เพียงพอทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องจริงจังและเต็มศักยภาพ นอกจากนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังขาดการมีส่วนร่วมในการตั้งงบประมาณและร่วมการฝึกซ้อมฯ แผน เท่าที่ควร 3) งบประมาณในการส่งเสริมและให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับภัยพิบัติ การจัดการ ภัยพิบัติและการเตรียมตัวเพื่อจะรับภัยที่จะเกิดขึ้นต่างๆ อย่างต่อเนื่องยังไม่เพียงพอทำให้ไม่สามารถ ดำเนินการได้อย่างเต็มศักยภาพ อีกทั้งยังขาดแคลนบุคลากรและเครื่องมือในการฝึกอบรม 4) ขาดแนวทางและกฎหมายเฉพาะ ที่จะรองรับในการจัดระบบประกันภัยกับประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อเป็นการลดภาระและค่าใช้จ่ายของรัฐบาล 5) การศึกษา ฝึกอบรม การให้ความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักแก่ประชาชนและ เยาวชนเกี่ยวกับภัยพิบัติในด้านต่างๆ ยังดำเนินการได้ไม่ทั่วถึง เนื่องจากยังอยู่ระหว่างการฝึกอบรมเพื่อผลิตวิทยากรได้แก่ เจ้าหน้าที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอในการดำเนินการ 6) ในบางสถานการณ์และบางพื้นที่ ยังขาดการประชาสัมพันธ์หรือสื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีการเตรียมพร้อมในการรับภัยพิบัติได้อย่างทั่วถึง นอกจากนี้ในการประกาศเตือนภัยล่วงหน้าแต่ยังไม่มีขอบเขตความรุนแรงการเกิดภัยที่ชัดเจน
2.3 ปัญหาการจัดการภัยในภาวะฉุกเฉิน 1) แผนการบริหารจัดการสาธารณภัยยังมีไม่ครบถ้วนทุกประเด็น และตามสภาวะ การเกิดภัยบางแผนงานที่มีเป็นลักษณะกว้างๆ เป็นแนวทางหรือมาตรการ ไม่ได้ลงลึกถึงการปฏิบัติอย่างแท้จริง โดยควรระบุเป้าหมายทรัพยากรที่ต้องใช้และภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ และการควบคุมติดตามและประเมินผล 2) แผนการบริหารจัดการสาธารณภัยในปัจจุบันมีการกำหนดเป็นแผนระดับชาติ คือ แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และต้องมีการจัดทำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เพื่อให้มีความสอดคล้องเป็นระบบต่อเนื่องและมีกลไกในทางปฏิบัติในระดับพื้นที่ แต่ในทางปฏิบัติยังขาดคู่มือการปฏิบัติงานและแผนการประสานงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ อย่างบูรณาการ โดยส่วนใหญ่เป็นแผนเฉพาะกิจเพื่อป้องกันและช่วยเหลือเป็นปีๆ ไป และมีลักษณะต่างคนต่างทำ ไม่ประสานบูรณาการ รวมทั้งขาดการยอมรับจากทุกฝ่าย 3) รัฐบาลและผู้บริหารระดับสูงในระบบราชการขาดความตระหนักและให้ความสนใจ ในด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเท่าที่ควร เนื่องจากมีภารกิจด้านอื่นๆ อยู่มาก การบริหารจัดการสาธารณภัยจึงเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไม่ถือนโยบายและแผนเร่งด่วน หรือวาระแห่งชาติ ดังนั้น ในทางปฏิบัติเมื่อเกิดสาธารณภัยขึ้น ทั้งนักการเมืองและผู้บริหารระดับสูงมักสั่งการในทางที่เป็นการตัดสินใจทางการเมืองเป็นหลัก 4) การบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการฝึกซ้อมและบรรเทาสาธารณภัย เป็นปัญหา ที่สำคัญอย่างยิ่งในการบริหารจัดการสาธารณภัย ปัญหาดังกล่าวอาจมีสาเหตุจำนวนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอกับปริมาณและคุณภาพของงาน ในหลายกรณีเจ้าหน้าที่ขาดความรู้และประสบการณ์ที่จะควบคุมกิจกรรมที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ บางกรณีเจ้าหน้าที่ขาดความสนใจละเลยปล่อยให้มีการฝ่าฝืนกฎหมาย และหลายกรณีมีการละเว้นการปฏิบัติ โดยจะมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดแค่ชั่วเวลาหนึ่งเท่านั้น 5) ความสับสนวุ่นวายในการดำเนินการจนทำให้เกิดการกระทำ หรือพฤติกรรมที่ไร้ เหตุผลของผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์หรือผู้ช่วยเหลือจากภายนอก เช่น การขโมยทรัพย์สินของผู้ประสบภัย เป็นต้น 6) ผู้ช่วยสนับสนุนและเหลือจากภายนอกมีจำนวนมากและต่างคนต่างปฏิบัติงานอย่างอิสระ ทำให้เกิดความซ้ำซ้อนในการทำงาน ไม่มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบที่ดี ประกอบกับ กำลังเจ้าหน้าที่/อาสาสมัครที่มาปฏิบัติงานอาจยังไม่เข้าใจแนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจนทำให้เกิดความสับสนและวุ่นวาย 7) ขาดความสัมพันธ์และการประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน และการกำหนด ขอบเขตอำนาจหน้าที่ บทบาท และการสนับสนุนด้านต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แม้ว่าในปัจจุบันมีการฝึกซ้อมแผนร่วมกันในทุกภาคส่วนแต่ก็ยังไม่สามารถดำเนินการได้ทั่วถึงทั้งประเทศ และในทุกพื้นที่เสี่ยงภัยเนื่องจากในแต่ละภัยก็มีลักษณะการบริหารจัดการที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังติดขัดในด้านของความพร้อมและงบประมาณในการดำเนินการ 8) การให้ข่าวสารและเปิดเผยข้อมูลระหว่างหน่วยงาน เนื่องจากเกี่ยวข้องกับความมั่นคงของชาติ นอกจากนี้ผู้ให้ข่าวสารควรมีความเป็นเอกภาพ โดยในปัจจุบันเมื่อเกิดเหตุการณ์แล้วจะมีความสับสนในด้านข่าวสารค่อนข้างมาก 9) การบริหารจัดการภัยพิบัติในบางพื้นที่มีปัญหาเนื่องจากผู้สั่งการไม่เข้าใจลักษณะ สภาพพื้นที่และพฤติกรรมของบุคคลในพื้นที่ ซึ่งอาจทำให้เกิดสถานการณ์ล่อแหลม ต่างฝ่ายต่างมี ความเครียด หากไม่ได้รับการฝึกอบรมการบริหารจัดการภัยพิบัติและการควบคุมสถานการณ์จะทำให้การดำเนินการในพื้นที่ทำได้ยาก   2.4 ปัญหาการจัดการหลังเกิดภัย 1) การรวบรวมข้อมูลความเสียหายมีความล่าช้าในการดำเนินการ เนื่องจากบุคลากร ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพื้นที่มีจำนวนจำกัด และมีภารกิจที่มากมายต้องดำเนิน การทั้งในด้านการประสานงาน การติดต่อสื่อสาร และการให้ความช่วยเหลือ 2) ปัญหาการกำหนดขอบเขตพื้นที่ประสบภัยพิบัติที่ได้รับความเสียหาย การประกาศ เขตพื้นที่เกิดภัยพิบัติเป็นไปในลักษณะกว้างๆ 3) ความล่าช้าในการให้ความช่วยเหลือเนื่องจากติดขัดกับระเบียบจากทางราชการ และ เมื่อมีการช่วยเหลือจากภาคเอกชน ทำให้เกิดการเปรียบเทียบในความไม่เท่าเทียมกัน 4) ขาดการประชาสัมพันธ์งานที่ได้ดำเนินการให้ความช่วยเหลือหรืองานในอำนาจหน้าที่รวมทั้งปัญหาในด้านกฎระเบียบที่เข้มงวดทำให้ประชาชนที่ประสบภัยเกิดความสับสนในการร้องขอ เช่น เมื่อเกิดภัยพิบัติต่างคนต่างไม่ช่วยเหลือไม่ได้ผ่านผู้รับผิดชอบคือจังหวัด หรือสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดในพื้นที่ประสบภัย ทำให้เกิดปัญหาที่ตามมาในภายหลัง อาทิ ความซ้ำซ้อนในการปฏิบัติ 5) ขาดการติดตามในการแก้ไขปัญหาและไม่มีความต่อเนื่องการให้ความช่วยเหลือ ประชาชนผู้ประสบภัยทั้งในด้านชีวิตและจิตใจ เนื่องจากบุคลากรที่ดำเนินการในท้องถิ่นมีจำนวนจำกัดและมีภารกิจที่มากมายหลายด้านรวมทั้งการเกิดภัยพิบัติ โดยเฉพาะอุทกภัยซึ่งเกิดติดต่อกันตลอดเวลาทำให้ต้องใช้ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่แทนที่จะต้องติดตามแก้ไขปัญหาเดิม 6) ความล่าช้าในการบูรณะฟื้นฟู ปรับปรุง ซ่อมแซม และก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ที่ถูกทำลายให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ เนื่องจากขาดเครื่องมือเครื่องใช้ และอุปกรณ์ในการดำเนินการรวมไปถึงงบประมาณและอำนาจหน้าที่ในการดำเนินงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7) การรวบรวมข้อมูลความเสียหายมีหลายหน่วยงานดำเนินการทำให้เกิดความสับสน ขาดเอกภาพ และปัญหาในการบริหารจัดการงบประมาณ และแนวทางในการให้ความช่วยเหลือ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 407 คน กำลังออนไลน์