• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c38478af307a12905794f0f2b69fdbc5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: black\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><em><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://www.beyondbooks.com/lif71/images/00046824.jpg\" height=\"1\" />    </em><span style=\"color: #99cc00\">ในทางชีววิทยา เซลล์ (</span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">cell) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เป็นโครงสร้างและหน่วยทำงานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตแทบทุกชนิด ในบางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยที่เป็นองค์ประกอบของชีวิต (&quot;</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">building blocks of life&quot;) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">สิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น แบคทีเรีย ประกอบด้วยเซลล์เพียง 3 เซลล์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">unicellular) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">แต่สัตว์หลายชนิด เช่น มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">multicellular) (</span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">มนุษย์มีเซลล์อยู่ประมาณ 100 ล้านล้าน หรือ 1014 เซลล์)</span></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ทฤษฎีเซลล์ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรกในปีพ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839) โดยแมตเทียส จาคอบ ชไลเดน (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">Matthias Jakob Schleiden) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">และ ทีโอดอร์ ชวานน์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">Theodor Schwann) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ได้อธิบายว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดประกอบด้วยเซลล์หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า เซลล์ทั้งหมดมีกำเนิดมาจากเซลล์ที่มีมาก่อน (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">preexisting cells) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ระบบการทำงานเพื่อความอยู่รอดของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหมดเกิดขึ้นภายในเซลล์ และภายในเซลล์ยังประกอบด้วยข้อมูลทางพันธุกรรม (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">hereditary information) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ซึ่งจำเป็นสำหรับการควบคุมการทำงานของเซลล์ และการส่งต่อข้อมูลทางพันธุกรรมไปยังเซลล์รุ่นต่อไป</span></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #99cc00\">คุณสมบัติของเซลล์</span></strong></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">แต่ละเซลล์มีองค์ประกอบและดำรงชีวิตได้ด้วยตัวของมันเอง โดยการนำสารอาหารเข้าไปในเซลล์และเปลี่ยนสารอาหารให้กลายเป็นพลังงานเพื่อการดำรงชีวิตและการสืบพันธุ์ เซลล์มีความสามารถหลายอย่างดังนี้:</span></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\">- เพิ่มจำนวนโดยการแบ่งเซลล์ </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">- เมแทบอลิซึมของเซลล์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">cell metabolism) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ประกอบด้วย การลำเลียงวัตถุดิบเข้าเซลล์</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">, </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">การสร้างส่วนประกอบของเซลล์</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">, </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">การสร้างพลังงานและโมเลกุล และปล่อยผลิตภัณฑ์ออกมา การทำงานของเซลล์ขึ้นกับความสามารถในการสกัดและใช้พลังงานเคมีที่สะสมในโมเลกุลของสารอินทรีย์ พลังงานเหล่านี้จะได้จากวิถีเมแทบอลิซึม (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">metabolic pathway) </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\">- การสังเคราะห์โปรตีนเพื่อใช้ในระบบการทำงานของเซลล์ เช่น เอนไซม์ โดยเฉพาะเซลล์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะมีโปรตีนต่าง ๆ ถึง 10,000 ชนิด </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">- ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นทั้งภายนอกและภายใน เช่น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ </span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">pH </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">หรือระดับอาหาร. </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">- การขนส่งของเวสิเคิล (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">vesicle) </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #99cc00\">เยื่อหุ้มเซลล์ - ส่วนหุ้มและปกป้องเซลล์</span></strong></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ไซโทพลาซึมของเซลล์ประเภทยูแคริโอตจะถูกห้อมล้อมด้วยส่วนที่เรียกว่า เยื่อหุ้มเซลล์ หรือ พลาสมา เมมเบรน (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">cell membrane </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">หรือ </span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">plasma membrane) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">พลาสมาเมมเบรนจะพบในเซลล์ประเภทโพรแคริโอตด้วย เยื่อนี้จะทำหน้าที่แยกและปกป้องเซลล์จากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ส่วนใหญ่แล้วถูกสร้างขึ้นจากชั้นของลิพิดสองชั้น หรือ ลิพิด ไบเลเยอร์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">lipid bilayer) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">และโปรตีน ภายในเยื่อจะมีโมเลกุลหลากชนิดที่ทำหน้าที่เป็นทั้งช่องทางผ่านของสารและ ปั๊ม (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">channels and pumps) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เพื่อทำหน้าที่เฉพาะในการขนส่งโมเลกุลเข้าหรือออกจากเซลล์</span></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><strong><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ไซโทสเกเลตอน (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">cytoskeleton) - </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ส่วนที่เป็นโครงสร้างของเซลล์</span></span></strong> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ไซโทสเกเลตอนเป็นโครงสร้างที่สำคัญ ซับซ้อน และเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีบทบาทในการจัดรูปแบบและจัดเรียงตำแหน่งของออร์แกเนลล์ให้อยู่ในที่ที่เหมาะสม</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">, </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ช่วยให้เกิดกระบวนการเอนโดไซโทซิส (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">endocytosis) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">หรือการนำสารจากภายนอกเซลล์เข้ามาในเซลล์เพื่อใช้ในกระบวนการเจริญเติบโตและการเคลื่อนไหว</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">, </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">บทบาทในการทำงานของกล้ามเนื้อ</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">, </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">และมีโปรตีนจำนวนมากมายในไซโทสเกลเลตอนที่ควบคุมโครงสร้างของเซลล์</span></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ไซโทสเกเลตอน แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ได้แก่ ไมโครทูบูล (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">Microtubule) , </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">อินเทอร์มีเดียท ฟิลาเมนท์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">Intermediate Filament) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">และ ไมโครฟิลาเมนท์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">Microfilament)</span></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #99cc00\">วงชีวิตของเซลล์</span></strong></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">วงชีวิตของเซลล์ๆหนึ่งจะเริ่มจากการเจริญสะสมสารอาหารและทำกิจกรรมต่างๆ จนถึงระยะหนึ่งก็จะแบ่งตัวเพือสร้างเซลล์ใหม่ไปเรื่อยๆ ในเซลล์ยูคาริโอตนั้น เซลล์จะมีวงชีวิตเป็น 4 ระยะชัดเจนดังนี้คือ</span></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">- G</span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">1 เป็นช่วงหลังจากเซลล์ผ่านการแบ่งตัวมาใหม่ จนถึงเตรียมการจะแบ่งตัวอีกครั้ง เป็นช่วงที่เซลล์มีกิจกรรมมาก </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">- S </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เป็นช่วงเวลาที่มีการจำลองตัวของ </span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">DNA </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เพิ่มจาก 1 ชุดเป็น 2 ชุด เพื่อเตรียมสารพันธุกรรมไว้ให้เซลล์ใหม่ต่อไป </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">- G</span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">2 เป็นช่วงเวลาหลังจากจำลอง </span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">DNA </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เสร็จแล้ว รอการแบ่งเซลล์ต่อไป </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">- M </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เป็นช่วงเวลาที่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ซึ่งเมื่อแบ่งตัวเสร็จแล้วจะได้เซลล์ลูก 2 เซลล์ ซึ่งมีสารพันธุกรรมเหมือนเซลล์ตั้งต้นทุกประการ </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ในเซลล์ที่ผิดปรกติหรือเซลล์บางชนิดเช่นเซลล์ประสาทจะเข้าไปในระยะ </span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">G</span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">0 ซึ่งเป็นช่วงที่เซลล์จะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกและจะไม่สามารถอกกจากระยะนี้ได้ ซึ่งถ้าเป็นเซลล์ที่ผิดปรกติจะถูกทิ้งให้ตาย</span></span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><b><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประเภทของเซลล์</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span> </span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">วิธีการจัดกลุ่มเซลล์</span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ไม่ว่าเซลล์นั้นจะอยู่ตามลำพังหรืออยู่เป็นกลุ่มได้แก่ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">unicellular) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ซึ่งดำรงชีวิตเพื่อความอยู่รอด จนไปถึงการอยู่รวมกันเป็นกลุ่มที่เรียกว่า โคโลนี (</span><i><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">colonial forms</span></i><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">) หรือ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (</span><span style=\"font-size: small; font-family: Calibri\">multicellular) </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">ซึ่งเซลล์เหล่านี้จะกลายเป็นเซลล์เฉพาะทางที่แตกต่างกันหลายรูปแบบ เช่น เซลล์ต่างๆ ในร่างกายมนุษย์</span></span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">โดยสรุป เซลล์สามารถแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบคือ</span><b><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span></span><a name=\"OLE_LINK6\" title=\"OLE_LINK6\"></a><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\">- </span></span><a name=\"OLE_LINK5\" title=\"OLE_LINK5\"></a><span style=\"color: #cc99ff\"><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">โพแครีโอต</span><span style=\"color: #99cc00\"> </span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">(</span></span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">prokaryote</span>) <span lang=\"TH\">เป็นเซลล์ที่มีโครงสร้างอย่างง่าย อาจอยู่เป็นเซลล์เดี่ยวๆ หรือรวมกลุ่มเป็นโคโลนี</span></span></span></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> (</span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Colony) <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">ใน</span></span></span></span></span></span></span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์\" title=\"การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">การ</span>จำแนกชั้นทางวิทยา</span><span style=\"color: #99cc00\">ศาสตร์</span></span></span></span><span><span></span></span></span></span></u></a><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">แบบระบบสามโดเมน</span> <span style=\"color: #99cc00\">(</span></span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #99cc00\">three-domain system) </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">ได้</span><span style=\"color: #99cc00\">จัดโพรแคริโอตอยู่ในโดเมนอาร์เคีย</span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> <span style=\"color: #99cc00\">(</span></span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #99cc00\">Archaea)</span><span style=\"color: #99cc00\"> และแบคทีเรีย</span></span></span></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> (</span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Eubacteria)</span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span></span></span> </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">- <span style=\"color: #99cc00\">ยูแครีโอต</span> </span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">(</span></span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #99cc00\">eukaryote)</span> <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">เป็นเซลล์ที่มีออร์แกแนล(</span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #99cc00\">organelle)</span> <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">และผนังของออร์แกเนลล์ มีตั้งแต่เซลล์เดียวเช่นอะมี</span><span style=\"color: #99cc00\">บา</span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">(</span></span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #99cc00\">amoeba</span>)</span> <span style=\"color: #99cc00\">และเห็ดรา</span></span></span></span></span><span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">(</span></span></span></span><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #99cc00\">fungi)</span> <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #99cc00\">หรือเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่นพืชและสัตว์รวมทั้งสาหร่ายสีน้ำตาล</span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"http://www.beyondbooks.com/lif71/images/00046824.jpg\" height=\"279\" /></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #99cc00\"></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1726926401, expire = 1727012801, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c38478af307a12905794f0f2b69fdbc5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:347f156ab24edae2f2e3e828270f5357' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nรู้อะไรขึ้นเยอะจริง ๆ  ^ ^\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n ฝาก ๆ  <a href=\"/node/66362\">http://www.thaigoodview.com/node/66362</a>\n</p>\n', created = 1726926401, expire = 1727012801, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:347f156ab24edae2f2e3e828270f5357' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5cba5412021339252dd08ccec70969ef' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n555]\'\n</p>\n<p>\nเนื้อหาเธอก็เยอะน่ะ !\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726926401, expire = 1727012801, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5cba5412021339252dd08ccec70969ef' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เซลล์

    ในทางชีววิทยา เซลล์ (cell) เป็นโครงสร้างและหน่วยทำงานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตแทบทุกชนิด ในบางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยที่เป็นองค์ประกอบของชีวิต ("building blocks of life") สิ่งมีชีวิตบางชนิด เช่น แบคทีเรีย ประกอบด้วยเซลล์เพียง 3 เซลล์ (unicellular) แต่สัตว์หลายชนิด เช่น มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular) (มนุษย์มีเซลล์อยู่ประมาณ 100 ล้านล้าน หรือ 1014 เซลล์)

ทฤษฎีเซลล์ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรกในปีพ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839) โดยแมตเทียส จาคอบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) และ ทีโอดอร์ ชวานน์ (Theodor Schwann) ได้อธิบายว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหมดประกอบด้วยเซลล์หนึ่งเซลล์หรือมากกว่า เซลล์ทั้งหมดมีกำเนิดมาจากเซลล์ที่มีมาก่อน (preexisting cells) ระบบการทำงานเพื่อความอยู่รอดของสิ่งที่มีชีวิตทั้งหมดเกิดขึ้นภายในเซลล์ และภายในเซลล์ยังประกอบด้วยข้อมูลทางพันธุกรรม (hereditary information) ซึ่งจำเป็นสำหรับการควบคุมการทำงานของเซลล์ และการส่งต่อข้อมูลทางพันธุกรรมไปยังเซลล์รุ่นต่อไป

คุณสมบัติของเซลล์

แต่ละเซลล์มีองค์ประกอบและดำรงชีวิตได้ด้วยตัวของมันเอง โดยการนำสารอาหารเข้าไปในเซลล์และเปลี่ยนสารอาหารให้กลายเป็นพลังงานเพื่อการดำรงชีวิตและการสืบพันธุ์ เซลล์มีความสามารถหลายอย่างดังนี้:

- เพิ่มจำนวนโดยการแบ่งเซลล์

- เมแทบอลิซึมของเซลล์ (cell metabolism) ประกอบด้วย การลำเลียงวัตถุดิบเข้าเซลล์, การสร้างส่วนประกอบของเซลล์, การสร้างพลังงานและโมเลกุล และปล่อยผลิตภัณฑ์ออกมา การทำงานของเซลล์ขึ้นกับความสามารถในการสกัดและใช้พลังงานเคมีที่สะสมในโมเลกุลของสารอินทรีย์ พลังงานเหล่านี้จะได้จากวิถีเมแทบอลิซึม (metabolic pathway)

- การสังเคราะห์โปรตีนเพื่อใช้ในระบบการทำงานของเซลล์ เช่น เอนไซม์ โดยเฉพาะเซลล์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจะมีโปรตีนต่าง ๆ ถึง 10,000 ชนิด

- ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นทั้งภายนอกและภายใน เช่น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ pH หรือระดับอาหาร.

- การขนส่งของเวสิเคิล (vesicle)

เยื่อหุ้มเซลล์ - ส่วนหุ้มและปกป้องเซลล์

ไซโทพลาซึมของเซลล์ประเภทยูแคริโอตจะถูกห้อมล้อมด้วยส่วนที่เรียกว่า เยื่อหุ้มเซลล์ หรือ พลาสมา เมมเบรน (cell membrane หรือ plasma membrane) พลาสมาเมมเบรนจะพบในเซลล์ประเภทโพรแคริโอตด้วย เยื่อนี้จะทำหน้าที่แยกและปกป้องเซลล์จากสิ่งแวดล้อมรอบข้าง ส่วนใหญ่แล้วถูกสร้างขึ้นจากชั้นของลิพิดสองชั้น หรือ ลิพิด ไบเลเยอร์ (lipid bilayer) และโปรตีน ภายในเยื่อจะมีโมเลกุลหลากชนิดที่ทำหน้าที่เป็นทั้งช่องทางผ่านของสารและ ปั๊ม (channels and pumps) เพื่อทำหน้าที่เฉพาะในการขนส่งโมเลกุลเข้าหรือออกจากเซลล์

ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) - ส่วนที่เป็นโครงสร้างของเซลล์

ไซโทสเกเลตอนเป็นโครงสร้างที่สำคัญ ซับซ้อน และเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีบทบาทในการจัดรูปแบบและจัดเรียงตำแหน่งของออร์แกเนลล์ให้อยู่ในที่ที่เหมาะสม, ช่วยให้เกิดกระบวนการเอนโดไซโทซิส (endocytosis) หรือการนำสารจากภายนอกเซลล์เข้ามาในเซลล์เพื่อใช้ในกระบวนการเจริญเติบโตและการเคลื่อนไหว, บทบาทในการทำงานของกล้ามเนื้อ, และมีโปรตีนจำนวนมากมายในไซโทสเกลเลตอนที่ควบคุมโครงสร้างของเซลล์

ไซโทสเกเลตอน แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดตามขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ได้แก่ ไมโครทูบูล (Microtubule) , อินเทอร์มีเดียท ฟิลาเมนท์ (Intermediate Filament) และ ไมโครฟิลาเมนท์ (Microfilament)

วงชีวิตของเซลล์

วงชีวิตของเซลล์ๆหนึ่งจะเริ่มจากการเจริญสะสมสารอาหารและทำกิจกรรมต่างๆ จนถึงระยะหนึ่งก็จะแบ่งตัวเพือสร้างเซลล์ใหม่ไปเรื่อยๆ ในเซลล์ยูคาริโอตนั้น เซลล์จะมีวงชีวิตเป็น 4 ระยะชัดเจนดังนี้คือ

- G1 เป็นช่วงหลังจากเซลล์ผ่านการแบ่งตัวมาใหม่ จนถึงเตรียมการจะแบ่งตัวอีกครั้ง เป็นช่วงที่เซลล์มีกิจกรรมมาก

- S เป็นช่วงเวลาที่มีการจำลองตัวของ DNA เพิ่มจาก 1 ชุดเป็น 2 ชุด เพื่อเตรียมสารพันธุกรรมไว้ให้เซลล์ใหม่ต่อไป

- G2 เป็นช่วงเวลาหลังจากจำลอง DNA เสร็จแล้ว รอการแบ่งเซลล์ต่อไป

- M เป็นช่วงเวลาที่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ซึ่งเมื่อแบ่งตัวเสร็จแล้วจะได้เซลล์ลูก 2 เซลล์ ซึ่งมีสารพันธุกรรมเหมือนเซลล์ตั้งต้นทุกประการ

ในเซลล์ที่ผิดปรกติหรือเซลล์บางชนิดเช่นเซลล์ประสาทจะเข้าไปในระยะ G0 ซึ่งเป็นช่วงที่เซลล์จะไม่มีการแบ่งเซลล์อีกและจะไม่สามารถอกกจากระยะนี้ได้ ซึ่งถ้าเป็นเซลล์ที่ผิดปรกติจะถูกทิ้งให้ตาย

ประเภทของเซลล์

วิธีการจัดกลุ่มเซลล์ไม่ว่าเซลล์นั้นจะอยู่ตามลำพังหรืออยู่เป็นกลุ่มได้แก่ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (unicellular) ซึ่งดำรงชีวิตเพื่อความอยู่รอด จนไปถึงการอยู่รวมกันเป็นกลุ่มที่เรียกว่า โคโลนี (colonial forms) หรือ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular) ซึ่งเซลล์เหล่านี้จะกลายเป็นเซลล์เฉพาะทางที่แตกต่างกันหลายรูปแบบ เช่น เซลล์ต่างๆ ในร่างกายมนุษย์

โดยสรุป เซลล์สามารถแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบคือ- โพแครีโอต (prokaryote) เป็นเซลล์ที่มีโครงสร้างอย่างง่าย อาจอยู่เป็นเซลล์เดี่ยวๆ หรือรวมกลุ่มเป็นโคโลนี (Colony) ในการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์แบบระบบสามโดเมน (three-domain system) ได้จัดโพรแคริโอตอยู่ในโดเมนอาร์เคีย (Archaea) และแบคทีเรีย (Eubacteria)

- ยูแครีโอต (eukaryote) เป็นเซลล์ที่มีออร์แกแนล(organelle) และผนังของออร์แกเนลล์ มีตั้งแต่เซลล์เดียวเช่นอะมีบา(amoeba) และเห็ดรา(fungi) หรือเป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่นพืชและสัตว์รวมทั้งสาหร่ายสีน้ำตาล

รู้อะไรขึ้นเยอะจริง ๆ  ^ ^

 

 ฝาก ๆ  http://www.thaigoodview.com/node/66362

555]'

เนื้อหาเธอก็เยอะน่ะ !

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 449 คน กำลังออนไลน์