• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c65744db2ebfe317b2178718339fae62' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>                                                                                                                                                                                                                </strong><strong>ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า</strong> (<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9\" title=\"ภาษาอังกฤษ\"><span style=\"color: #002bb8\">อังกฤษ</span></a>: <span xml:lang=\"en\" lang=\"en\">Electromagnetism</span>) คือ วิชา<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9F%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C\" title=\"ฟิสิกส์\"><span style=\"color: #002bb8\">ฟิสิกส์</span></a>ที่ศึกษา<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">สนามแม่เหล็กไฟฟ้า</span></a> ซึ่งเป็นสนามที่แผ่ไปในปริภูมิ (space) และออก<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87\" title=\"แรง\"><span style=\"color: #002bb8\">แรง</span></a>กระทำต่อ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84\" title=\"อนุภาค\"><span style=\"color: #002bb8\">อนุภาค</span></a>ที่มี<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"ประจุไฟฟ้า\"><span style=\"color: #002bb8\">ประจุไฟฟ้า</span></a> มีผลทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของอนุภาคนั้น\n</p>\n<h2> <span id=\".E0.B8.AA.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B9.84.E0.B8.9F.E0.B8.9F.E0.B9.89.E0.B8.B2_.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B8.AA.E0.B8.99.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B9.81.E0.B8.A1.E0.B9.88.E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B9.87.E0.B8.81\" class=\"mw-headline\">สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก</span></h2>\n<p>\nเราอาจเข้าใจสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในรูปของ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"สนามไฟฟ้า\"><span style=\"color: #002bb8\">สนามไฟฟ้า</span></a>และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81\" title=\"สนามแม่เหล็ก\"><span style=\"color: #002bb8\">สนามแม่เหล็ก</span></a> อนุภาคที่มี<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"ประจุไฟฟ้า\"><span style=\"color: #002bb8\">ประจุไฟฟ้า</span></a>จะสร้างสนามไฟฟ้า และทำให้เกิดแรงไฟฟ้าขึ้น แรงนี้ทำให้เกิด<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%95\" title=\"ไฟฟ้าสถิต\"><span style=\"color: #002bb8\">ไฟฟ้าสถิต</span></a> และทำให้เกิดการไหลของประจุไฟฟ้า (<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"กระแสไฟฟ้า\"><span style=\"color: #002bb8\">กระแสไฟฟ้า</span></a>) ในตัวนำขึ้น ขณะเดียวกัน อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ จะสร้างสนามแม่เหล็ก และทำให้เกิดแรงแม่เหล็กต่อวัตถุที่เป็น<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81\" title=\"แม่เหล็ก\"><span style=\"color: #002bb8\">แม่เหล็ก</span></a>\n</p>\n<p>\nคำว่า &quot;แม่เหล็กไฟฟ้า&quot; มาจากข้อเท็จจริงที่ว่า สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ถ้ากฏของฟิสิกส์จะเหมือนกันใน ทุก <a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"กรอบเฉื่อย (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">กรอบเฉื่อย</span></a> การเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก ทำให้เกิดสนามไฟฟ้า (เรียกว่า<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">การเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า</span></a> ปรากฏการณ์นี้เป็นพื้นฐานของ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"เครื่องกำเนิดไฟฟ้า\"><span style=\"color: #002bb8\">เครื่องกำเนิดไฟฟ้า</span></a>และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"มอเตอร์ไฟฟ้า\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #002bb8\">มอเตอร์ไฟฟ้า</span></a>นั่นเอง) ในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้า ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก\n</p>\n<p>\nเนื่องจาก สนามทั้งสองไม่สามารถแยกจากกันได้ จึงควรรวมให้เป็นอันเดียวกัน <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B9%8C_%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%81_%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B9%8C\" title=\"เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์\"><span style=\"color: #002bb8\">เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์</span></a> เป็นผู้รวมสนามไฟฟ้ากับสนามแม่เหล็กเข้าด้วยกันด้วยสมการทางคณิตศาสตร์ เพียงสี่สมการ ที่เรียกว่า <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B9%8C\" title=\"สมการของแมกซ์เวลล์\"><span style=\"color: #002bb8\">สมการของแมกซ์เวลล์</span></a> ทำให้เกิดการพัฒนาฟิสิกส์ในช่วง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B8%A8%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_19\" title=\"คริสต์ศตวรรษที่ 19\"><span style=\"color: #002bb8\">คริสต์ศตวรรษที่ 19</span></a>เป็นอย่างมาก และนำไปสู่ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87\" title=\"แสง\"><span style=\"color: #002bb8\">แสง</span></a>นั้น อธิบายได้ว่าเป็นการสั่นของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่กระจายออกไป หรือเป็น<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99\" title=\"คลื่น\"><span style=\"color: #002bb8\">คลื่น</span></a>แม่เหล็กไฟฟ้านั่นเอง ความถี่ของการสั่นที่แตกต่างกันทำให้เกิด<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #ba0000\">รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า</span></a>ที่แตกต่างกัน เช่น <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B8\" title=\"คลื่นวิทยุ\"><span style=\"color: #002bb8\">คลื่นวิทยุ</span></a>เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ต่ำ แสงที่มองเห็นได้เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ปานกลาง <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B2\" title=\"รังสีแกมมา\"><span style=\"color: #002bb8\">รังสีแกมมา</span></a>เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สูง\n</p>\n<p>\nทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้ามีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิด <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9\" title=\"ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ\"><span style=\"color: #002bb8\">ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ</span></a>ของ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%95_%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%8C\" title=\"อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์\"><span style=\"color: #002bb8\">อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์</span></a> ในปี <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84.%E0%B8%A8._1905\" title=\"ค.ศ. 1905\" class=\"mw-redirect\"><span style=\"color: #002bb8\">ค.ศ. 1905</span></a>\n</p>\n', created = 1727891554, expire = 1727977954, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c65744db2ebfe317b2178718339fae62' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0b0e42a088b69d2ac714aff881e38c74' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nเนื้อหา ใช้ได้ ๆ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://thaigoodview.com/node/64737\" title=\"http://thaigoodview.com/node/64737\">http://thaigoodview.com/node/64737</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nฝากด้วยนะค่ะ *\n</p>\n', created = 1727891554, expire = 1727977954, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0b0e42a088b69d2ac714aff881e38c74' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรื่องของ เเม่เหล็กๆ

รูปภาพของ knw33050

                                                                                                                                                                                                                ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (อังกฤษ: Electromagnetism) คือ วิชาฟิสิกส์ที่ศึกษาสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็นสนามที่แผ่ไปในปริภูมิ (space) และออกแรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า มีผลทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของอนุภาคนั้น

 สนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก

เราอาจเข้าใจสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในรูปของสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจะสร้างสนามไฟฟ้า และทำให้เกิดแรงไฟฟ้าขึ้น แรงนี้ทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต และทำให้เกิดการไหลของประจุไฟฟ้า (กระแสไฟฟ้า) ในตัวนำขึ้น ขณะเดียวกัน อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ จะสร้างสนามแม่เหล็ก และทำให้เกิดแรงแม่เหล็กต่อวัตถุที่เป็นแม่เหล็ก

คำว่า "แม่เหล็กไฟฟ้า" มาจากข้อเท็จจริงที่ว่า สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ถ้ากฏของฟิสิกส์จะเหมือนกันใน ทุก กรอบเฉื่อย การเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก ทำให้เกิดสนามไฟฟ้า (เรียกว่าการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ปรากฏการณ์นี้เป็นพื้นฐานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและมอเตอร์ไฟฟ้านั่นเอง) ในทางกลับกัน การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้า ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก

เนื่องจาก สนามทั้งสองไม่สามารถแยกจากกันได้ จึงควรรวมให้เป็นอันเดียวกัน เจมส์ เคลิร์ก แมกซ์เวลล์ เป็นผู้รวมสนามไฟฟ้ากับสนามแม่เหล็กเข้าด้วยกันด้วยสมการทางคณิตศาสตร์ เพียงสี่สมการ ที่เรียกว่า สมการของแมกซ์เวลล์ ทำให้เกิดการพัฒนาฟิสิกส์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19เป็นอย่างมาก และนำไปสู่ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น แสงนั้น อธิบายได้ว่าเป็นการสั่นของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่กระจายออกไป หรือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั่นเอง ความถี่ของการสั่นที่แตกต่างกันทำให้เกิดรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่แตกต่างกัน เช่น คลื่นวิทยุเกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ต่ำ แสงที่มองเห็นได้เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ปานกลาง รังสีแกมมาเกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สูง

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้ามีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิด ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ในปี ค.ศ. 1905

รูปภาพของ knw33061

เนื้อหา ใช้ได้ ๆ

 

http://thaigoodview.com/node/64737

 

ฝากด้วยนะค่ะ *

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 391 คน กำลังออนไลน์