• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bfb033227dc3866cd5aff29e9c55e864' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif; color: #000000; font-size: large\">เรื่อง โครงสร้างของโปรแกรมภาษาปาสคาล</span></strong> </p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><br />\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif\">     ภาษาปาสคาลเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ชั้นสูงที่พัฒนาขึ้นโดย Niklaus Wirth และได้ตั้งชื่อว่าปาสคาล (Pascal) เพื่อให้เกียรติแก่นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal ภาษาปาสคาล พัฒนามาจากภาษา Algol โดยพัฒนาให้เป็นภาษาสำหรับฝึกหัดเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาปาสคาลจะมีลักษณะเป็นภาษาคอมพิวเตอร์แบบประมวลความหรือคอมไพเลอร์ (Compiler) เมื่อเทียบกับภาษาคอมพิวเตอร์ชั้นสูงอื่น ๆ จะพบว่าภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่มีการวางระบบและจัดรูปแบบที่มีโครงสร้างแน่นอนตายตัว จึงทำให้ภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมโครงสร้าง (Structured Program) มากกว่าภาษาอื่น ๆ ที่ใช้กันอยู่จึงทำให้ได้รับความนิยมและนำมาประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย</span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif; font-size: x-small\"><br />\n<strong><span style=\"color: #000000\">1.1 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาปาสคาล</span></strong><br />\nโปรแกรมในภาษาปาสคาล แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ<br />\n<span style=\"color: #000000\"><strong>1. ส่วนหัว (Heading)</strong> เป็นการประกาศชื่อของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วยคำว่า PROGRAM ตามด้วยชื่อของโปรแกรม และจบบรรทัดด้วย ;<br />\nรูปแบบ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif; color: #000000; font-size: x-small\">PROGRAM ชื่อโปรแกรม (รายชื่ออุปกรณ์);</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif; color: #000000; font-size: x-small\">ตัวอย่าง</span><span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif; font-size: x-small\"><br />\n<span style=\"color: #000000\">PROGRAM EXAM1;<br />\nPROGRAM EXAM1(INPUT,OUTPUT);</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif; color: #000000; font-size: x-small\">ข้อสังเกต ชื่ออุปกรณ์ คือ INPUT, OUTPUT หรือชื่อของไฟล์ที่เกี่ยวข้องภายในโปรแกรมถ้าไม่ระบุจะถือว่า INPUT เข้าทาง keyboard และ OUTPUT ออกทางจอภาพ<br />\n<strong>2. ส่วนข้อกำหนด (Declaration part)</strong> คือส่วนตั้งแต่ส่วนหัวไปจนถึงคำว่า BEGIN ของโปรแกรมหลัก และเป็นส่วนที่เรากำหนดค่าต่าง ๆ ดังนี้<br />\n2.1 VAR เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลให้แก่ตัวแปร<br />\nรูปแบบ</span><span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif; font-size: x-small\"></span></p>\n<p><span style=\"color: #000000\">VAR รายชื่อตัวแปร : ประเภทของข้อมูล;</span></p>\n<p><span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif; font-size: x-small\"><span style=\"color: #000000\">ตัวอย่าง</span></span></p>\n<p>VAR I,J,K : INTEGER;<br />\nNAME : STRING;<br />\nSALARY : REAL;</p>\n<p>2.2 TYPE เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลขึ้นใหม่</p>\n<p>รูปแบบ</p>\n<p>TYPE ชื่อของแบบ = ประเภทหรือค่าของข้อมูล;</p>\n<p>ตัวอย่าง</p>\n<p>TYPE SCORE = INTEGER;<br />\nWEEK = (MON, TUE, WED, THU, FRI);<br />\nVAR TEST, MIDTERM, FINAL : SCORE;<br />\nDAY : WEEK;</p>\n<p>จากตัวอย่างต้องประกาศชื่อแบบของตัวแปรก่อนแล้วจึงประกาศชื่อตัวแปรที่เป็นแบบ<br />\n2.3 CONST เป็นการกำหนดค่าคงที่ </p>\n<p>รูปแบบที่ 1</p>\n<p>CONST รายชื่อค่าคงที่ = ค่าที่กำหนด;</p>\n<p>รูปแบบที่ 2</p>\n<p>CONST รายชื่อค่าคงที่ : ประเภทของข้อมูล = ค่าที่กำหนด;</p>\n<p>ตัวอย่าง</p>\n<p>CONST HEAD = ‘EXAMINATION’;<br />\nCONST A = 15;<br />\nCONST SALARY : REAL = 8000.00;</p>\n<p>2.4 LABEL ใช้คู่กับคำสั่ง GOTO ภายในโปรแกรม</p>\n<p>รูปแบบ </p>\n<p>LABEL รายชื่อของ LABEL;</p>\n<p>ตัวอย่าง</p>\n<p>LABEL 256,XXX;</p>\n<p>เช่น GOTO 256; GOTO XXX;</p>\n<p>3. ส่วนคำสั่งต่าง ๆ (Statement Part) เป็นส่วนสุดท้ายของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วย “BEGIN” และปิดท้ายด้วย “END.”</p>\n<p>ตัวอย่าง</p>\n<p>BEGIN<br />\nStatement หรือคำสั่งต่าง ๆ ;<br />\nEND.</p>\n<p><strong>1.2 ชื่อ (Identifier)</strong><br />\nชื่อ คือคำที่ตั้งขึ้นเพื่อกำหนดใช้เป็นชื่อของโปรแกรม โปรแกรมย่อย ตัวแปร แบบของตัวแปร และค่าคงที่</p>\n<p>การตั้งชื่อ<br />\n1. ตัวอักขระ (character) ที่นำมาใช้ คือ ตัวอักษร ตัวเลข และ (_) Underline<br />\n2. จะนำเครื่องหมายใด ๆ มาใช้เป็นชื่อไม่ได้<br />\n3. ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร หรือขีดล่าง<br />\n4. ความยาวของชื่อไม่เกิน 30 ตัว แต่จะมีความหมายเพียง 8 ตัวแรกเท่านั้น</p>\n<p><strong>1.3 คำ (Word)</strong><br />\nคำในภาษาปาสคาล แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ<br />\n1. พวกที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล ได้แก่ แบบของข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่<br />\n2. พวกที่เกี่ยวกับคำสั่ง ได้แก่ คำสงวน (Reserved word) คำมาตรฐาน (Standard word) คำใหม่ (User defined word)</p>\n<p><strong>1.4 ข้อมูล (Data)</strong><br />\nภาษาปาสคาล แบ่งประเภทของข้อมูลเป็น 4 แบบ คือ แบบมาตรฐาน แบบผู้เขียนโปรแกรมกำหนด แบบโครงสร้าง และแบบพอยน์เตอร์<br />\nแบบมาตรฐาน เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในโปรแกรมทั่ว ๆ ไป เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นลำดับที่มีค่ามากน้อยตามลำดับ แบ่งเป็น 5 ประเภท<br />\n1. Integer เป็นข้อมูลเลขจำนวนเต็ม<br />\n2. Real เป็นข้อมูลเลขจำนวนจริงมีทศนิยม<br />\n3. Character เป็นข้อมูลตัวอักษร<br />\n4. String เป็นข้อมูลของชุดตัวอักษร เช่น String [30] เป็นการะบุค่าของสตริงว่ามีขนาด 30 ตัวอักษร<br />\n5. Boolean เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นไปได้ 2 ค่า คือ เป็นจริง (true), เป็นเท็จ (false) ตัวดำเนินการ (operators) ที่ใช้ในภาษาปาสคาล ได้แก่<br />\nNOT ให้กลับค่าทางคณิตศาสตร์ของ Boolean เช่น Not true เป็น false<br />\n* ให้คูณเลขทางซ้ายกับเลขทางขวา<br />\n/ ให้หารโดยเลขทางซ้ายเป็นตัวตั้ง เลขทางขวาเป็นตัวหาร<br />\nDIV ให้หารแบบตัดเศษทิ้ง ใช้ได้เฉพาะเลขจำนวนเต็มคู่<br />\nMOD ให้หาเศษของการหาร ใช้ได้เฉพาะเลขจำนวนเต็มคู่<br />\nAND ให้ความเป็นจริง เมื่อทั้ง 2 กรณีเป็นจริงทั้งคู่<br />\nOR ให้ความเป็นจริง เมื่อกรณีใดกรณีหนึ่งเป็นจริง เช่น (X MOD Y = 0) 0R (x-y = 0) ข้อความนี้เป็นจริงเมื่อ X หารด้วย Y ลงตัว หรือเมื่อ X-Y เป็นศูนย์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้ง 2 อย่าง<br />\nXOR ให้ความเป็นจริง เมื่อกรณีใดกรณีหนึ่งเป็นจริงเท่านั้น เช่น (X MOD Y Y= 0) XOR(X-Y=0) ข้อความนี้เป็นจริงเมื่อ X หารด้วย Y ลงตัว หรือเมื่อ X-Y เป็น 0 อย่างใดอย่างหนึ่งแต่ไม่ใช่ทั้ง 2 อย่างพร้อมกัน</p>\n<p>     แบบผู้เขียนโปรแกรมกำหนดขึ้น ภาษาปาสคาลอนุญาตให้ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดรูปแบบของข้อมูลขึ้นมาใช้งานเฉพาะภายในโปรแกรมได้เอง โดยการประกาศไว้ในคำสั่ง VAR หรือ TYPE แบ่งเป็น 2 แบบ<br />\n1. กำหนดแบบใหม่ เป็นการกำหนดรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อใช้เฉพาะโปรแกรมนั้น ๆ </p>\n<p><strong>ตัวอย่าง</strong></p>\n<p>TYPE color = (yellow,blue,red);<br />\nVAR dd = color;</p>\n<p>ดังนั้น dd เป็นตัวแปรที่มีค่า 3 ค่า คือ yellow, blue, red</p>\n<p>2. กำหนดช่วงของค่าข้อมูล เป็นการกำหนดช่วงของค่าของข้อมูลเฉพาะตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งที่ใช้ภายในโปรแกรม</p>\n<p>ตัวอย่าง<br />\nTYPE NUM = 0..50;<br />\nVAR X : NUM;<br />\n<span style=\"color: #000000\"><br />\nดังนั้น X จะเป็นตัวแปรที่มีค่าในช่วง 0 ถึง 50<br />\n     แบบโครงสร้าง เป็นการนำเอาข้อมูลแบบมาตรฐานหรือข้อมูลที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดขึ้นมาจัดให้มีระบบ มีโครงสร้างเพื่อใช้งานโดยเฉพาะ การจัดข้อมูลโครงสร้าง แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ ข้อมูล Array, set, record และ file<br />\n     แบบพอยน์เตอร์ เป็นข้อมูลที่เป็นดัชนีสำหรับระบุข้อมูลอื่น ๆ อีกครั้งหนึ่ง ข้อมูลแบบนี้จะซับซ้อน ค่าของข้อมูลแบบพอยน์เตอร์จะไม่เป็นตัวเลข, ตัวอักษร แต่จะมีค่าเป็น address ในหน่วยความจำ RAM ที่ข้อมูลถูกเก็บอยู่</span>\n</p>\n', created = 1727010881, expire = 1727097281, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bfb033227dc3866cd5aff29e9c55e864' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:25c4f59b473a128f442d051848f95f3e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ส่งแล้วนะค่ะ...อาจารย์คนสวย(ไม่ได้แกล้งชมนะเนี่ย)  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">น.ส. วิภาวี  นฤสุทธิกุล</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">เลขที่  19 ชั้น ม. 6/1</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/user/29752\"><span style=\"color: #ff00ff\">http://www.thaigoodview.com/user/29752</span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727010881, expire = 1727097281, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:25c4f59b473a128f442d051848f95f3e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างของภาษาปาสคาล

รูปภาพของ vku10618

เรื่อง โครงสร้างของโปรแกรมภาษาปาสคาล


     ภาษาปาสคาลเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ชั้นสูงที่พัฒนาขึ้นโดย Niklaus Wirth และได้ตั้งชื่อว่าปาสคาล (Pascal) เพื่อให้เกียรติแก่นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal ภาษาปาสคาล พัฒนามาจากภาษา Algol โดยพัฒนาให้เป็นภาษาสำหรับฝึกหัดเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาปาสคาลจะมีลักษณะเป็นภาษาคอมพิวเตอร์แบบประมวลความหรือคอมไพเลอร์ (Compiler) เมื่อเทียบกับภาษาคอมพิวเตอร์ชั้นสูงอื่น ๆ จะพบว่าภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่มีการวางระบบและจัดรูปแบบที่มีโครงสร้างแน่นอนตายตัว จึงทำให้ภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่เหมาะสำหรับการเขียนโปรแกรมโครงสร้าง (Structured Program) มากกว่าภาษาอื่น ๆ ที่ใช้กันอยู่จึงทำให้ได้รับความนิยมและนำมาประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย


1.1 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาปาสคาล
โปรแกรมในภาษาปาสคาล แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ
1. ส่วนหัว (Heading) เป็นการประกาศชื่อของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วยคำว่า PROGRAM ตามด้วยชื่อของโปรแกรม และจบบรรทัดด้วย ;
รูปแบบ

PROGRAM ชื่อโปรแกรม (รายชื่ออุปกรณ์);

ตัวอย่าง
PROGRAM EXAM1;
PROGRAM EXAM1(INPUT,OUTPUT);

ข้อสังเกต ชื่ออุปกรณ์ คือ INPUT, OUTPUT หรือชื่อของไฟล์ที่เกี่ยวข้องภายในโปรแกรมถ้าไม่ระบุจะถือว่า INPUT เข้าทาง keyboard และ OUTPUT ออกทางจอภาพ
2. ส่วนข้อกำหนด (Declaration part) คือส่วนตั้งแต่ส่วนหัวไปจนถึงคำว่า BEGIN ของโปรแกรมหลัก และเป็นส่วนที่เรากำหนดค่าต่าง ๆ ดังนี้
2.1 VAR เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลให้แก่ตัวแปร
รูปแบบ

VAR รายชื่อตัวแปร : ประเภทของข้อมูล;

ตัวอย่าง

VAR I,J,K : INTEGER;
NAME : STRING;
SALARY : REAL;

2.2 TYPE เป็นการกำหนดแบบของข้อมูลขึ้นใหม่

รูปแบบ

TYPE ชื่อของแบบ = ประเภทหรือค่าของข้อมูล;

ตัวอย่าง

TYPE SCORE = INTEGER;
WEEK = (MON, TUE, WED, THU, FRI);
VAR TEST, MIDTERM, FINAL : SCORE;
DAY : WEEK;

จากตัวอย่างต้องประกาศชื่อแบบของตัวแปรก่อนแล้วจึงประกาศชื่อตัวแปรที่เป็นแบบ
2.3 CONST เป็นการกำหนดค่าคงที่

รูปแบบที่ 1

CONST รายชื่อค่าคงที่ = ค่าที่กำหนด;

รูปแบบที่ 2

CONST รายชื่อค่าคงที่ : ประเภทของข้อมูล = ค่าที่กำหนด;

ตัวอย่าง

CONST HEAD = ‘EXAMINATION’;
CONST A = 15;
CONST SALARY : REAL = 8000.00;

2.4 LABEL ใช้คู่กับคำสั่ง GOTO ภายในโปรแกรม

รูปแบบ 

LABEL รายชื่อของ LABEL;

ตัวอย่าง

LABEL 256,XXX;

เช่น GOTO 256; GOTO XXX;

3. ส่วนคำสั่งต่าง ๆ (Statement Part) เป็นส่วนสุดท้ายของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วย “BEGIN” และปิดท้ายด้วย “END.”

ตัวอย่าง

BEGIN
Statement หรือคำสั่งต่าง ๆ ;
END.

1.2 ชื่อ (Identifier)
ชื่อ คือคำที่ตั้งขึ้นเพื่อกำหนดใช้เป็นชื่อของโปรแกรม โปรแกรมย่อย ตัวแปร แบบของตัวแปร และค่าคงที่

การตั้งชื่อ
1. ตัวอักขระ (character) ที่นำมาใช้ คือ ตัวอักษร ตัวเลข และ (_) Underline
2. จะนำเครื่องหมายใด ๆ มาใช้เป็นชื่อไม่ได้
3. ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร หรือขีดล่าง
4. ความยาวของชื่อไม่เกิน 30 ตัว แต่จะมีความหมายเพียง 8 ตัวแรกเท่านั้น

1.3 คำ (Word)
คำในภาษาปาสคาล แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ
1. พวกที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล ได้แก่ แบบของข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่
2. พวกที่เกี่ยวกับคำสั่ง ได้แก่ คำสงวน (Reserved word) คำมาตรฐาน (Standard word) คำใหม่ (User defined word)

1.4 ข้อมูล (Data)
ภาษาปาสคาล แบ่งประเภทของข้อมูลเป็น 4 แบบ คือ แบบมาตรฐาน แบบผู้เขียนโปรแกรมกำหนด แบบโครงสร้าง และแบบพอยน์เตอร์
แบบมาตรฐาน เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในโปรแกรมทั่ว ๆ ไป เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นลำดับที่มีค่ามากน้อยตามลำดับ แบ่งเป็น 5 ประเภท
1. Integer เป็นข้อมูลเลขจำนวนเต็ม
2. Real เป็นข้อมูลเลขจำนวนจริงมีทศนิยม
3. Character เป็นข้อมูลตัวอักษร
4. String เป็นข้อมูลของชุดตัวอักษร เช่น String [30] เป็นการะบุค่าของสตริงว่ามีขนาด 30 ตัวอักษร
5. Boolean เป็นข้อมูลที่มีค่าเป็นไปได้ 2 ค่า คือ เป็นจริง (true), เป็นเท็จ (false) ตัวดำเนินการ (operators) ที่ใช้ในภาษาปาสคาล ได้แก่
NOT ให้กลับค่าทางคณิตศาสตร์ของ Boolean เช่น Not true เป็น false
* ให้คูณเลขทางซ้ายกับเลขทางขวา
/ ให้หารโดยเลขทางซ้ายเป็นตัวตั้ง เลขทางขวาเป็นตัวหาร
DIV ให้หารแบบตัดเศษทิ้ง ใช้ได้เฉพาะเลขจำนวนเต็มคู่
MOD ให้หาเศษของการหาร ใช้ได้เฉพาะเลขจำนวนเต็มคู่
AND ให้ความเป็นจริง เมื่อทั้ง 2 กรณีเป็นจริงทั้งคู่
OR ให้ความเป็นจริง เมื่อกรณีใดกรณีหนึ่งเป็นจริง เช่น (X MOD Y = 0) 0R (x-y = 0) ข้อความนี้เป็นจริงเมื่อ X หารด้วย Y ลงตัว หรือเมื่อ X-Y เป็นศูนย์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้ง 2 อย่าง
XOR ให้ความเป็นจริง เมื่อกรณีใดกรณีหนึ่งเป็นจริงเท่านั้น เช่น (X MOD Y Y= 0) XOR(X-Y=0) ข้อความนี้เป็นจริงเมื่อ X หารด้วย Y ลงตัว หรือเมื่อ X-Y เป็น 0 อย่างใดอย่างหนึ่งแต่ไม่ใช่ทั้ง 2 อย่างพร้อมกัน

     แบบผู้เขียนโปรแกรมกำหนดขึ้น ภาษาปาสคาลอนุญาตให้ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดรูปแบบของข้อมูลขึ้นมาใช้งานเฉพาะภายในโปรแกรมได้เอง โดยการประกาศไว้ในคำสั่ง VAR หรือ TYPE แบ่งเป็น 2 แบบ
1. กำหนดแบบใหม่ เป็นการกำหนดรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อใช้เฉพาะโปรแกรมนั้น ๆ

ตัวอย่าง

TYPE color = (yellow,blue,red);
VAR dd = color;

ดังนั้น dd เป็นตัวแปรที่มีค่า 3 ค่า คือ yellow, blue, red

2. กำหนดช่วงของค่าข้อมูล เป็นการกำหนดช่วงของค่าของข้อมูลเฉพาะตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งที่ใช้ภายในโปรแกรม

ตัวอย่าง
TYPE NUM = 0..50;
VAR X : NUM;

ดังนั้น X จะเป็นตัวแปรที่มีค่าในช่วง 0 ถึง 50
     แบบโครงสร้าง เป็นการนำเอาข้อมูลแบบมาตรฐานหรือข้อมูลที่ผู้เขียนโปรแกรมกำหนดขึ้นมาจัดให้มีระบบ มีโครงสร้างเพื่อใช้งานโดยเฉพาะ การจัดข้อมูลโครงสร้าง แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ ข้อมูล Array, set, record และ file
     แบบพอยน์เตอร์ เป็นข้อมูลที่เป็นดัชนีสำหรับระบุข้อมูลอื่น ๆ อีกครั้งหนึ่ง ข้อมูลแบบนี้จะซับซ้อน ค่าของข้อมูลแบบพอยน์เตอร์จะไม่เป็นตัวเลข, ตัวอักษร แต่จะมีค่าเป็น address ในหน่วยความจำ RAM ที่ข้อมูลถูกเก็บอยู่

รูปภาพของ vku10618

ส่งแล้วนะค่ะ...อาจารย์คนสวย(ไม่ได้แกล้งชมนะเนี่ย) 

น.ส. วิภาวี  นฤสุทธิกุล

เลขที่  19 ชั้น ม. 6/1

 

http://www.thaigoodview.com/user/29752

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 299 คน กำลังออนไลน์