• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a1bb1c9efc1272220e0ec12cece91042' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img mce_tsrc=\"\" mce_src=\"\" alt=\"\" align=\"\" border=\"\" height=\"\" hspace=\"\" vspace=\"\" width=\"\" /><meta http-equiv=\"Content-Type\" content=\"text/html; charset=utf-8\" /><meta name=\"ProgId\" content=\"Word.Document\" /><meta name=\"Generator\" content=\"Microsoft Word 11\" /><meta name=\"Originator\" content=\"Microsoft Word 11\" /><br />\n<link href=\"file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CCATTEL%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C06%5Cclip_filelist.xml\" rel=\"File-List\" />\n<link href=\"file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CCATTEL%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C06%5Cclip_editdata.mso\" rel=\"Edit-Time-Data\" />\n<!--[if !mso]>\n<style>\nv\\:* {behavior:url(#default#VML);}\no\\:* {behavior:url(#default#VML);}\nw\\:* {behavior:url(#default#VML);}\n.shape {behavior:url(#default#VML);}\n</style>\n<![endif]--><!--[if !mso]>\n<style>\nv\\:* {behavior:url(#default#VML);}\no\\:* {behavior:url(#default#VML);}\nw\\:* {behavior:url(#default#VML);}\n.shape {behavior:url(#default#VML);}\n</style>\n<![endif]--></p><p><o:smarttagtype namespaceuri=\"urn:schemas-microsoft-com:office:smarttags\" name=\"place\"></o:smarttagtype><o:smarttagtype namespaceuri=\"urn:schemas-microsoft-com:office:smarttags\" name=\"City\"></o:smarttagtype></p>\n<!--[if gte mso 9]><xml>\n <w:WordDocument>\n <w:View>Normal</w:View>\n <w:Zoom>0</w:Zoom>\n <w:PunctuationKerning/>\n <w:ValidateAgainstSchemas/>\n <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n <w:Compatibility>\n <w:BreakWrappedTables/>\n <w:SnapToGridInCell/>\n <w:ApplyBreakingRules/>\n <w:WrapTextWithPunct/>\n <w:UseAsianBreakRules/>\n <w:DontGrowAutofit/>\n </w:Compatibility>\n <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n </w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n <w:WordDocument>\n <w:View>Normal</w:View>\n <w:Zoom>0</w:Zoom>\n <w:PunctuationKerning/>\n <w:ValidateAgainstSchemas/>\n <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n <w:Compatibility>\n <w:BreakWrappedTables/>\n <w:SnapToGridInCell/>\n <w:ApplyBreakingRules/>\n <w:WrapTextWithPunct/>\n <w:UseAsianBreakRules/>\n <w:DontGrowAutofit/>\n </w:Compatibility>\n <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n </w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n <w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n </w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n <w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n </w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><!--[if !mso]><object\n classid=\"clsid:38481807-CA0E-42D2-BF39-B33AF135CC4D\" id=ieooui></object>\n<style>\nst1\\:*{behavior:url(#ieooui) }\n</style>\n<![endif]--><!--[if !mso]><object\n classid=\"clsid:38481807-CA0E-42D2-BF39-B33AF135CC4D\" id=ieooui></object>\n<style>\nst1\\:*{behavior:url(#ieooui) }\n</style>\n<![endif]--><style>\n<!--\n /* Font Definitions */\n @font-face\n {font-family:\"Angsana New\";\n panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\n mso-font-charset:0;\n mso-generic-font-family:roman;\n mso-font-pitch:variable;\n mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n {font-family:Tahoma;\n panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;\n mso-font-charset:0;\n mso-generic-font-family:swiss;\n mso-font-pitch:variable;\n mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;}\n /* Style Definitions */\n p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n {mso-style-parent:\"\";\n margin:0cm;\n margin-bottom:.0001pt;\n mso-pagination:widow-orphan;\n font-size:12.0pt;\n mso-bidi-font-size:14.0pt;\n font-family:\"Times New Roman\";\n mso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\n mso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\np\n {mso-margin-top-alt:auto;\n margin-right:0cm;\n mso-margin-bottom-alt:auto;\n margin-left:0cm;\n mso-pagination:widow-orphan;\n font-size:12.0pt;\n font-family:Tahoma;\n mso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";}\np.contenttext, li.contenttext, div.contenttext\n {mso-style-name:contenttext;\n mso-margin-top-alt:auto;\n margin-right:0cm;\n mso-margin-bottom-alt:auto;\n margin-left:0cm;\n mso-pagination:widow-orphan;\n font-size:12.0pt;\n font-family:Tahoma;\n mso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";}\n@page Section1\n {size:612.0pt 792.0pt;\n margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt;\n mso-header-margin:36.0pt;\n mso-footer-margin:36.0pt;\n mso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n {page:Section1;}\n--><!--\n /* Font Definitions */\n @font-face\n {font-family:\"Angsana New\";\n panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4;\n mso-font-charset:0;\n mso-generic-font-family:roman;\n mso-font-pitch:variable;\n mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}\n@font-face\n {font-family:Tahoma;\n panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;\n mso-font-charset:0;\n mso-generic-font-family:swiss;\n mso-font-pitch:variable;\n mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;}\n /* Style Definitions */\n p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal\n {mso-style-parent:\"\";\n margin:0cm;\n margin-bottom:.0001pt;\n mso-pagination:widow-orphan;\n font-size:12.0pt;\n mso-bidi-font-size:14.0pt;\n font-family:\"Times New Roman\";\n mso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";\n mso-bidi-font-family:\"Angsana New\";}\np\n {mso-margin-top-alt:auto;\n margin-right:0cm;\n mso-margin-bottom-alt:auto;\n margin-left:0cm;\n mso-pagination:widow-orphan;\n font-size:12.0pt;\n font-family:Tahoma;\n mso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";}\np.contenttext, li.contenttext, div.contenttext\n {mso-style-name:contenttext;\n mso-margin-top-alt:auto;\n margin-right:0cm;\n mso-margin-bottom-alt:auto;\n margin-left:0cm;\n mso-pagination:widow-orphan;\n font-size:12.0pt;\n font-family:Tahoma;\n mso-fareast-font-family:\"Times New Roman\";}\n@page Section1\n {size:612.0pt 792.0pt;\n margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt;\n mso-header-margin:36.0pt;\n mso-footer-margin:36.0pt;\n mso-paper-source:0;}\ndiv.Section1\n {page:Section1;}\n-->\n</style><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n /* Style Definitions */\n table.MsoNormalTable\n {mso-style-name:\"Table Normal\";\n mso-tstyle-rowband-size:0;\n mso-tstyle-colband-size:0;\n mso-style-noshow:yes;\n mso-style-parent:\"\";\n mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt;\n mso-para-margin:0cm;\n mso-para-margin-bottom:.0001pt;\n mso-pagination:widow-orphan;\n font-size:10.0pt;\n font-family:\"Times New Roman\";\n mso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\n mso-ansi-language:#0400;\n mso-fareast-language:#0400;\n mso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n /* Style Definitions */\n table.MsoNormalTable\n {mso-style-name:\"Table Normal\";\n mso-tstyle-rowband-size:0;\n mso-tstyle-colband-size:0;\n mso-style-noshow:yes;\n mso-style-parent:\"\";\n mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt;\n mso-para-margin:0cm;\n mso-para-margin-bottom:.0001pt;\n mso-pagination:widow-orphan;\n font-size:10.0pt;\n font-family:\"Times New Roman\";\n mso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\n mso-ansi-language:#0400;\n mso-fareast-language:#0400;\n mso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n <o:shapedefaults v:ext=\"edit\" spidmax=\"1027\"/>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n <o:shapedefaults v:ext=\"edit\" spidmax=\"1027\"/>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n <o:shapelayout v:ext=\"edit\">\n <o:idmap v:ext=\"edit\" data=\"1\"/>\n </o:shapelayout></xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n <o:shapelayout v:ext=\"edit\">\n <o:idmap v:ext=\"edit\" data=\"1\"/>\n </o:shapelayout></xml><![endif]--><table class=\"MsoNormalTable\" style=\"width: 100%; background: none repeat scroll 0% 0% rgb(255, 255, 174);\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr style=\"\">\n<td style=\"padding: 0.75pt;\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: center;\" align=\"center\"><b><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\" lang=\"TH\">ความ หมายของระบบนิเวศ</span></b><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt;\"><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\" lang=\"TH\">ระบบนิเวศ </span><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">(Ecosystem) <span lang=\"TH\">เป็นโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมี<br />\nชีวิตต่าง ๆ กับบริเวณแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ดำรงชีวิตอยู่ </span></span><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><b><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\" lang=\"TH\">ความหมายของนิเวศวิทยา<br />\n</span></b><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt;\"><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\" lang=\"TH\">คำว่า </span><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">Ecology <span lang=\"TH\">ได้รากศัพย์มาจากภาษากรีก คือ </span>Oikos <span lang=\"TH\">และ </span>Olgy <span lang=\"TH\">ซึ่ง </span>Oikos <span lang=\"TH\">หมายความถึง<br />\n\"บ้าน\" หรือ \"ที่อยู่อาศัย\" และ </span>Ology <span lang=\"TH\">หมายถึง</span><br />\n\"<span lang=\"TH\">การศีกษา\"</span>Ecology<span lang=\"TH\">หรือนิเวศวิทยาจึงเป็นศาสตร์<br />\nแขนงหนึ่งว่าด้วยการศึกษาสิ่งมีชีวิตในแหล่งอาศัยและกินความกว้างไปถึงการ<br />\nศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ </span></span><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span lang=\"TH\">นิเวศวิทยามีความเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาหลัก<br />\n</span>4 <span lang=\"TH\">สาขาวิชาคือ พันธุศาสตร์ วิวัฒนาการ</span> <br /><br />\n<span lang=\"TH\">สรีรวิทยา และพฤติกรรม</span><br /><br />\n<br /><br />\n&nbsp;&nbsp;<span lang=\"TH\">นิเวศวิทยามีหลักการของการพัฒนาและทฤษฎี </span>6 <span lang=\"TH\">ประการ (</span>Grubb and Whittaker, <br /><br />\n2532) <span lang=\"TH\">สามารถสรุปได้ดังนี้</span><br /><br />\n<span color=\"purple\" style=\"\">1. <span lang=\"TH\">หลักการของมัลธัส (</span>Malthus,<br />\n2331) <span lang=\"TH\">กล่าวว่า ประชากรต้องพบกับขีดจำกัดของ</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">ประชากร ถ้าไม่ถูกกำจัดด้วยการล่า โรคภัย หรืออันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยสภาพ</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">แวดล้อม</span><br /><br />\n2. <span lang=\"TH\">หลักการของดาร์วิน (</span><st1:city w:st=\"on\"><st1:place w:st=\"on\">Darwin</st1:place></st1:city>, 2402) <span lang=\"TH\">กล่าวว่า สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งจะต้องถูกแทนที่ด้วย</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">สิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ภายใต้สภาวะที่สิ่งมีชีวิตชนิดที่สองนั้นมีการเจริญพันธุ์ที่สูงกว่าหรือ</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">มีีอัตราการตายที่น้อยกว่า</span><br /><br />\n3. <span lang=\"TH\">หลักการของเกาส์ (</span>Gause, 2477) <span lang=\"TH\">กล่าวว่า สิ่งมีชีวิตตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปสามารถอยู่</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">ร่วมกันได้ก็ต่อเมื่อมีบทบาทหน้าที่และความต้องการที่แตกต่างกันออกไป<br />\nหรืออยู่ภายใต้</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">้อิทธิพลของการแก่งแย่งระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันสูงกว่าการแก่งแย่ง<br />\nระหว่างสิ่งมีชีวิต</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">ต่างชนิดกัน</span><br /><br />\n4. <span lang=\"TH\">หลักการของฮัฟเฟเกอร์ (</span>Huffaker, 2501) <span lang=\"TH\">กล่าวว่า<br />\nสิ่งมีชีวิตที่เป็นเหยื่อและผู้ล่าไม่</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">สามารถที่จะอยู่ร่วมกันได้ตลอดไป ยกเว้นในกรณีที่ี่สิ่งแวดล้อมนั้นไม่สามารถมีความสอด</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">คล้องเป็นเนื้อเดียวกัน</span><o:p></o:p></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span color=\"purple\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">5. <span lang=\"TH\">หลักการของเมย์ (</span>May, 2517) <span lang=\"TH\">กล่าวว่า<br />\nผลของปัจจัยต่างๆ ขึ้นอยู่กับความหนาแน่น</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">ของประชากร การรักษาเสถียรภาพของขนาดประชากรทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">จำนวนประชากรเป็นวงจร หรือเกิดความผิดปกติ ซึ่งขึ้นอยู่กับระดับความสัมพันธ์ที่ไม่เป็น</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">เส้นตรงระหว่างประชากรในวงจรอายุปัจจุบันกับวงจรอายุที่ผ่านมาหนึ่งช่วง</span><br /><br />\n6. <span lang=\"TH\">หลักการของลินเดอร์มานน์ (</span>Lindermann, 2485) <span lang=\"TH\">กล่าวว่า พลังงานที่สามารถนำไป</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">ใช้ประโยชน์ได้จะลดลงในแต่ละขั้นของการกินกันเป็นทอดๆ</span><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt; text-indent: 36pt;\"><span color=\"#993300\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p>&nbsp;</o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt; text-indent: 36pt;\"><span color=\"#993300\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\" lang=\"TH\">ระบบนิเวศหนึ่ง ๆ นั้น<br />\nประกอบด้วยบริเวณที่สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ และกลุ่มประชากรที่มีชีวิตอยู่ในบริเวณดังกล่าว<br />\nพืชและโดยเฉพาะสัตว์ต่าง ๆ<br />\nก็ต้องการบริเวณที่อยู่อาศัยที่มีขนาดอย่างน้อยที่สุดที่เหมาะสม<br />\nทั้งนี้เพื่อว่าการมีชีวิตอยู่รอดตลอดไป ยกตัวอย่างเช่น<br />\nสระน้ำแห่งหนึ่งเราจะพบสัตว์และพืชนานาชนิด<br />\nซึ่งสามารถปรับตัวให้เข้ากับบริเวณน้ำที่มันอาศัยอยู่โดยมีจำนวนแตกต่างกัน<br />\nไปตามแต่ชนิด สระน้ำนั้นดูเหมือนว่าจะแยกจากบริเวณแวดล้อมอื่น ๆ ด้วยขอบสระ<br />\nแต่ตามความเป็นจริงแล้วปริมาณน้ำในสระสามารถเพิ่มขึ้นได้ โดยน้ำฝนที่ตกลงมา<br />\nในขณะเดียวกันกับที่ระดับผิวน้ำก็จะระเหยไปอยู่ตลอดเวลา<br />\nน้ำที่ไหลเข้ามาเพิ่มก็จะพัดพาเอาแร่ธาตุและชิ้นส่วนต่าง ๆ<br />\nของพืชที่เน่าเปื่อยเข้ามาในสระตัวอ่อนของยุงและลูกกบตัวเล็ก ๆ อาศัยอยู่ในสระน้ำ<br />\nแต่จะไปเติบโตบนบก นกและแมลงซึ่งมีถิ่นที่อยู่นอกสระก็จะมาหาอาหารในสระน้ำ<br />\nการไหลเข้าของสารและการสูญเสียสารเช่นนี้จึงทำให้สระน้ำเป็นระบบเปิดระบบ หนึ่ง <span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>หาก มีแร่ธาตุไหลเข้ามาเพิ่มขึ้น<br />\nก็จะทำให้การเจริญเติบโตของพืชเพิ่มมากขึ้น เช่น<br />\nไฟโตแพลงตันหรือพืชน้ำที่อยู่ก้นสระ ปริมาณสัตว์จึงเพิ่มมากขึ้นด้วย<br />\nเพราะมีอาหารอุดมสมบูรณ์ แต่เมื่อปริมาณสัตว์เพิ่ม<br />\nปริมาณของพืชที่เป็นอาหารก็จะค่อย ๆ น้อยลง ทำให้ปริมาณสัตว์ค่อย ๆ ลดตามลงไปด้วยเนื่องจากอาหารมีไม่พอ<br />\nดังนั้นสระน้ำจึงมีความสามารถในการที่จะควบคุมตัวของมัน</span><span color=\"#993300\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><br />\n(Self-regulation) <span lang=\"TH\">เองได้ กล่าวคือ<br />\nจำนวนและชนิดของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายที่อยู่ในสระน้ำจะมีจำนวนคงที่<br />\nซึ่งเราเรียกว่ามีความสมดุล <span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>สระ<br />\nน้ำนี้ จึงเป็นหน่วยหนึ่งของธรรมชาติที่เรียกว่า</span> \"<span lang=\"TH\">ระบบนิเวศ\"<br />\n(</span>Ecosystem) <span lang=\"TH\">ซึ่งกล่าวได้ว่าระบบ นิเวศหนึ่ง ๆ นั้น<br />\nเป็นโครงสร้างที่เปิดและมีความสามารถในการควบคุมตัวของมันเอง<br />\nประกอบไปด้วยประชากรต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ไร้ชีวิต<br />\nระบบนิเวศเป็นระบบเปิดที่มีความสัมพันธ์กับบริเวณแวดล้อมโดยมีการแลกเปลี่ยน สาร<br />\nและพลังงาน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับระบบนิเวศอื่น ๆ ที่อยู่<span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>ระบบนิเวศอาจมีขนาด ใหญ่ระดับโลก<br />\nคือ ชีวาลัย (</span>biosphere) <span lang=\"TH\">ซึ่ง<br />\nเป็นบริเวณที่ห่อหุ้มโลกอยู่และสามารถมีขบวนการต่าง ๆ<br />\nของชีวิตเกิดขึ้นได้หรืออาจมีขนาดเล็กเท่าบ่อน้ำแห่งหนึ่ง แต่เราสามารถจำแนกระบบนิเวศออกเป็นกลุ่ม<br />\nๆ ได้ ดังนี้ </span><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 72pt; text-indent: -18pt;\"><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">1.&nbsp;&nbsp;&nbsp; <b><span lang=\"TH\">ระบบ<br />\nนิเวศทางธรรมชาติและใกล้ธรรมชาติ</span> (Natural and seminatural ecosystems)</b><br />\n<span lang=\"TH\">เป็นระบบที่ต้องพึ่งพลังงานจากดวงอาทิตย์ เพื่อที่จะทำงานได้ </span></span><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">1.1 <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">ระบบนิเวศแหล่งน้ำ (</span><span color=\"black\" style=\"\">Aguative<br />\ncosystems) </span><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"contenttext\"><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">1.1.1 <span lang=\"TH\">ระบบนิเวศทางทะเล เช่น มหาสมุทรแนวปะการัง<br />\nทะเลภายในที่เป็นน้ำเค็ม</span> <br /><br />\n</span><b><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">&nbsp;<span lang=\"TH\">นิเวศชาย ฝั่งทะเล</span></span></b><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"> <o:p></o:p></span></p>\n<p><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br />\n</span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></p>\n<!--[if gte vml 1]><v:shapetype\n id=\"_x0000_t75\" coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\"\n path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\">\n <v:stroke joinstyle=\"miter\"/>\n <v:formulas>\n <v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"/>\n <v:f eqn=\"sum @0 1 0\"/>\n <v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"/>\n <v:f eqn=\"prod @2 1 2\"/>\n <v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"/>\n <v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"/>\n <v:f eqn=\"sum @0 0 1\"/>\n <v:f eqn=\"prod @6 1 2\"/>\n <v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"/>\n <v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"/>\n <v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"/>\n <v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"/>\n </v:formulas>\n <v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"/>\n <o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"/>\n</v:shapetype><v:shape id=\"_x0000_i1025\" type=\"#_x0000_t75\" style=\'width:187.5pt;\n height:150pt\'>\n <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\CATTEL~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\06\\clip_image001.png\"\n o:title=\"\"/>\n</v:shape><![endif]--><!--[if gte vml 1]><v:shapetype\n id=\"_x0000_t75\" coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\"\n path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\">\n <v:stroke joinstyle=\"miter\"/>\n <v:formulas>\n <v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"/>\n <v:f eqn=\"sum @0 1 0\"/>\n <v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"/>\n <v:f eqn=\"prod @2 1 2\"/>\n <v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"/>\n <v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"/>\n <v:f eqn=\"sum @0 0 1\"/>\n <v:f eqn=\"prod @6 1 2\"/>\n <v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"/>\n <v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"/>\n <v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"/>\n <v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"/>\n </v:formulas>\n <v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"/>\n <o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"/>\n</v:shapetype><v:shape id=\"_x0000_i1025\" type=\"#_x0000_t75\" style=\'width:187.5pt;\n height:150pt\'>\n <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\CATTEL~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\06\\clip_image001.png\"\n o:title=\"\"/>\n</v:shape><![endif]--><!--[if !vml]--><!--[if !vml]--><p><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CATTEL%7E1/LOCALS%7E1/Temp/msohtml1/06/clip_image002.jpg\" v:shapes=\"_x0000_i1025\" height=\"200\" width=\"250\" /><a href=\"http://www.thaigoodview.com/imce/browse\" onclick=\"imceFinitor(imceVar.activeRow); return false;\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u28656/ecosystem_1.jpg\" height=\"200\" width=\"250\" /></a><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"></span></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<o:p></o:p></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt;\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br />\n<span lang=\"TH\">ระบบนิเวศชายฝั่งทะเล</span> (Coastal Ecosystems) <span lang=\"TH\">หมายถึงระบบนิเวศที่มีความสัมพันธ์กันทั้งระบบนิเวศและระบบนิเวศทะเล</span><br />\n(Terrestrial-Marine Ecosystems) <span lang=\"TH\">ประกอบด้วยระบบนิเวศป่าบก แม่น้ำลำคลอง<br />\nทะเลสาบชะวากทะเล ป่าชายเลน หาดเลน แนวหญ้าทะเล และปะการัง เป็นต้น ลักษณะพิเศษ<br />\nคือ ส่วนแผ่นดินเป็นพื้นที่น้ำทะเลมีอิทธิพลถึง โดยพิจารณาจากคุณลักษณะของดินและพืชพรรณส่วนพื้นที่น้ำนั้นได้รับอิทธิพลจาก<br />\nแผ่นดิน ซึ่งภายในพื้นที่ลุ่มน้ำบางปะกง-ปราจีนบุรี ครอบคลุมพื้นที่ป่าชายเลนกลุ่มสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชายฝั่ง<br />\nทรัพยากรประมงทะเล การกัดเซาะและตกตะกอนชายฝั่ง เป็นต้น</span><span color=\"black\" style=\"\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt;\"><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">1.2 <span lang=\"TH\">ระบบนิเวศบนบก</span></span><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"> (Terresttrial ecosystems)<span color=\"black\" style=\"\"> </span><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt;\"><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">1.2.1 <span lang=\"TH\">ระบบนิเวศกึ่งบก เช่น ป่าพรุ </span></span><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-left: 36pt;\">\n<!--[if gte vml 1]><v:shape id=\"_x0000_s1026\" type=\"#_x0000_t75\"\n alt=\"\" style=\'position:absolute;left:0;text-align:left;margin-left:1in;\n margin-top:22.6pt;width:210pt;height:165pt;z-index:-1\'>\n <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\CATTEL~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\06\\clip_image003.jpg\"\n o:href=\"http://www.etcbr2.org/stkc/biology/bio2/chapter5/AP%20Program%20Jongdee/images/terrestrial_1.jpg\"/>\n</v:shape><![endif]--><!--[if gte vml 1]><v:shape id=\"_x0000_s1026\" type=\"#_x0000_t75\"\n alt=\"\" style=\'position:absolute;left:0;text-align:left;margin-left:1in;\n margin-top:22.6pt;width:210pt;height:165pt;z-index:-1\'>\n <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\CATTEL~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\06\\clip_image003.jpg\"\n o:href=\"http://www.etcbr2.org/stkc/biology/bio2/chapter5/AP%20Program%20Jongdee/images/terrestrial_1.jpg\"/>\n</v:shape><![endif]--><!--[if !vml]--><!--[if !vml]--></p><p><span style=\"position: absolute; z-index: -1; left: 0px; margin-left: 96px; margin-top: 30px; width: 280px; height: 220px;\"><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CATTEL%7E1/LOCALS%7E1/Temp/msohtml1/06/clip_image003.jpg\" v:shapes=\"_x0000_s1026\" height=\"220\" width=\"280\" /></span></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">1.2.2 <span lang=\"TH\">ระบบนิเวศบนบกแท้<br />\nเช่น ป่าดิบ ทุ่งหญ้า ทะเลทราย</span></span><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n<p><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span><a href=\"http://www.thaigoodview.com/imce/browse\" onclick=\"imceFinitor(imceVar.activeRow); return false;\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u28656/terrestrial_1.jpg\" height=\"220\" width=\"280\" /></a></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">2.&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br />\n<b><span lang=\"TH\">ระบบ นิเวศเมือง</span>-<span lang=\"TH\">อุตสาหกร</span></b></span><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><b><span lang=\"TH\">รม</span><br />\n(Urbanindustral ecosystems)</b> <br /><br />\n<span lang=\"TH\">เป็นระบบที่ต้องพึ่งแหล่งพลังงานเพิ่มเติม เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง<br />\nพลังนิวเคลียร์ เป็นระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้นมาใหม่ </span></span><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n<p><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">&nbsp;<span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span></span></p>\n<!--[if gte vml 1]><v:shape\n id=\"_x0000_i1026\" type=\"#_x0000_t75\" style=\'width:210pt;height:140.25pt\'>\n <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\CATTEL~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\06\\clip_image004.png\"\n o:title=\"\"/>\n</v:shape><![endif]--><!--[if gte vml 1]><v:shape\n id=\"_x0000_i1026\" type=\"#_x0000_t75\" style=\'width:210pt;height:140.25pt\'>\n <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\CATTEL~1\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\06\\clip_image004.png\"\n o:title=\"\"/>\n</v:shape><![endif]--><!--[if !vml]--><!--[if !vml]--><p><a href=\"http://www.thaigoodview.com/imce/browse\" onclick=\"imceFinitor(imceVar.activeRow); return false;\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u28656/tower_1.jpg\" height=\"187\" width=\"280\" /></a><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CATTEL%7E1/LOCALS%7E1/Temp/msohtml1/06/clip_image005.jpg\" v:shapes=\"_x0000_i1026\" height=\"187\" width=\"280\" /></span></p>\n<!--[endif]--><!--[endif]--><p><o:p></o:p></p>\n<p><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br />\n&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br />\n&nbsp;&nbsp;&nbsp;<span lang=\"TH\">ระบบนิเวศเมือง </span>– <span lang=\"TH\">อุตสาหกรรม</span><o:p></o:p></span></p>\n<p><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">3. <span lang=\"TH\">ระบบนิเวศเกษตร<br />\n(</span>agricultural ecosystems) <span lang=\"TH\">เป็นระบบที่มนุษย์ปรับปรุงเปลี่ยน</span><br /><br />\n<span lang=\"TH\">แปลงระบบนิเวศทางธรรมชาติขึ้นมาใหม่</span><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><b><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\" lang=\"TH\">ระบบ<br />\nนิเวศและประโยชน์ของทุ่งน้ำจืด</span></b><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span color=\"black\" face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br />\n<span lang=\"TH\">น้ำ เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดของระบบนิเวศทุ่งน้ำจืด<br />\nทั้งในด้านการกำเนิดและการดำรงอยู่ น้ำภายในทุ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ขนาดเล็กที่มอง<br />\nด้วยตาเปล่าไม่เห็น จนถึงสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่<br />\nการที่น้ำถูกระบายผ่านทุ่งน้ำจืดเคลื่อนที่ได้ช้า<br />\nเพราะลักษณะภูมิประเทศอันเป็นที่ราบ ทำให้สิ่งที่แขวนลอยและตะกอนดินต่างๆ<br />\nที่ไหลมากับน้ำ เกิดการตกตะกอนเป็นธาตุอาหารให้กับพืชน้ำ สัตว์ชนิดต่างๆ<br />\nทั้งที่มีขนาดเล็กและขนาดใหญ่ขึ้นจะกินพืชและสัตว์เล็กๆ เป็นอาหาร เหยี่ยว งู<br />\nปลาไหล นาก ฯลฯ จะกินสัตว์น้ำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลาน<br />\nเป็นอาหารอีกต่อหนึ่ง ( วาทิตย์ เจริญศิริ</span>, 2534 ) </span><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">1. <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">เก็บกักน้ำใต้ดิน</span><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">2. <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">ปลดปล่อยน้ำใต้ดิน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span></span><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\"><span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\"> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span></span><img mce_tsrc=\"\" mce_src=\"\" alt=\"\" align=\"\" border=\"\" height=\"\" hspace=\"\" vspace=\"\" width=\"\" /></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">3. <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">ควบคุมไม่ให้เกิดน้ำท่วม</span><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">4. <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเล</span><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">5. <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">กักเก็บตะกอน</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">6. <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">สะสมและปลดปล่อยธาตุอาหาร </span><o:p></o:p></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">7. <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">เป็นส่วนหนึ่งของลูกโซ่อาหาร</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">8. <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">เป็นที่อยู่อาศัยของปลา</span></span> <br /></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\"><span face=\"&quot;Angsana New&quot;\" style=\"font-size: 16pt;\">9. <span color=\"black\" style=\"\" lang=\"TH\">เป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจที่มีศักยภาพ</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\">&nbsp;<img src=\"/files/u28656/Z8861_chart-BD-resize.jpg\" mce_src=\"/files/u28656/Z8861_chart-BD-resize.jpg\" alt=\"\" align=\"\" border=\"\" height=\"538\" hspace=\"\" vspace=\"\" width=\"500\" /></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"\">&nbsp;<br /></p>\n', created = 1726914649, expire = 1727001049, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a1bb1c9efc1272220e0ec12cece91042' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cb3d818a6aeb3c16ff50229d0f9bbbf1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nโห  เยอะๆๆ\n</p>\n<p>\n ได้ความรู้เยอะดีด้วย^^\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726914649, expire = 1727001049, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cb3d818a6aeb3c16ff50229d0f9bbbf1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6c4d1672c06affb6140df02767bdffc8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nเยอะเว่อร์ 555+\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nแต่ได้ความรู้ดีค่ะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nฝากด้วยนะคะ -http://www.thaigoodview.com/node/62917\n</p>\n', created = 1726914649, expire = 1727001049, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6c4d1672c06affb6140df02767bdffc8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5cb82277f46226d1947d38da4e6e0acc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nโห เยอะมากๆเลย O.O\n</p>\n<p>\n<br />\nนับวันทรัพยากรป่ายิ่งน้อยลงเรื่อยๆเนอะ<br />\nโลกก็ร้อนขึ้นทุกวัน ระบบนิเวศก็มั่วไปหมด \n</p>\n<p>\nอยากให้โลกนี้อากาศดีทุกวันจัง (ออกแนวไม่เกี่ยวกันกับเรื่องระบบนิเวศแล้วนะเนี่ย) <br />\n- -^\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726914649, expire = 1727001049, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5cb82277f46226d1947d38da4e6e0acc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบนิเวศ

รูปภาพของ knw33300


ความ หมายของระบบนิเวศ

ระบบนิเวศ (Ecosystem) เป็นโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมี
ชีวิตต่าง ๆ กับบริเวณแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตเหล่านี้ดำรงชีวิตอยู่

ความหมายของนิเวศวิทยา

คำว่า Ecology ได้รากศัพย์มาจากภาษากรีก คือ Oikos และ Olgy ซึ่ง Oikos หมายความถึง
"บ้าน" หรือ "ที่อยู่อาศัย" และ
Ology หมายถึง
"การศีกษา"Ecologyหรือนิเวศวิทยาจึงเป็นศาสตร์
แขนงหนึ่งว่าด้วยการศึกษาสิ่งมีชีวิตในแหล่งอาศัยและกินความกว้างไปถึงการ
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่

     นิเวศวิทยามีความเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาหลัก
4 สาขาวิชาคือ พันธุศาสตร์ วิวัฒนาการ

สรีรวิทยา และพฤติกรรม



  นิเวศวิทยามีหลักการของการพัฒนาและทฤษฎี 6 ประการ (Grubb and Whittaker,

2532) สามารถสรุปได้ดังนี้

1. หลักการของมัลธัส (Malthus,
2331) กล่าวว่า ประชากรต้องพบกับขีดจำกัดของ

ประชากร ถ้าไม่ถูกกำจัดด้วยการล่า โรคภัย หรืออันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยสภาพ

แวดล้อม

2. หลักการของดาร์วิน (Darwin, 2402) กล่าวว่า สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งจะต้องถูกแทนที่ด้วย

สิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ภายใต้สภาวะที่สิ่งมีชีวิตชนิดที่สองนั้นมีการเจริญพันธุ์ที่สูงกว่าหรือ

มีีอัตราการตายที่น้อยกว่า

3. หลักการของเกาส์ (Gause, 2477) กล่าวว่า สิ่งมีชีวิตตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปสามารถอยู่

ร่วมกันได้ก็ต่อเมื่อมีบทบาทหน้าที่และความต้องการที่แตกต่างกันออกไป
หรืออยู่ภายใต้


้อิทธิพลของการแก่งแย่งระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันสูงกว่าการแก่งแย่ง
ระหว่างสิ่งมีชีวิต


ต่างชนิดกัน

4. หลักการของฮัฟเฟเกอร์ (Huffaker, 2501) กล่าวว่า
สิ่งมีชีวิตที่เป็นเหยื่อและผู้ล่าไม่


สามารถที่จะอยู่ร่วมกันได้ตลอดไป ยกเว้นในกรณีที่ี่สิ่งแวดล้อมนั้นไม่สามารถมีความสอด

คล้องเป็นเนื้อเดียวกัน

5. หลักการของเมย์ (May, 2517) กล่าวว่า
ผลของปัจจัยต่างๆ ขึ้นอยู่กับความหนาแน่น


ของประชากร การรักษาเสถียรภาพของขนาดประชากรทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ

จำนวนประชากรเป็นวงจร หรือเกิดความผิดปกติ ซึ่งขึ้นอยู่กับระดับความสัมพันธ์ที่ไม่เป็น

เส้นตรงระหว่างประชากรในวงจรอายุปัจจุบันกับวงจรอายุที่ผ่านมาหนึ่งช่วง

6. หลักการของลินเดอร์มานน์ (Lindermann, 2485) กล่าวว่า พลังงานที่สามารถนำไป

ใช้ประโยชน์ได้จะลดลงในแต่ละขั้นของการกินกันเป็นทอดๆ

 

ระบบนิเวศหนึ่ง ๆ นั้น
ประกอบด้วยบริเวณที่สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ และกลุ่มประชากรที่มีชีวิตอยู่ในบริเวณดังกล่าว
พืชและโดยเฉพาะสัตว์ต่าง ๆ
ก็ต้องการบริเวณที่อยู่อาศัยที่มีขนาดอย่างน้อยที่สุดที่เหมาะสม
ทั้งนี้เพื่อว่าการมีชีวิตอยู่รอดตลอดไป ยกตัวอย่างเช่น
สระน้ำแห่งหนึ่งเราจะพบสัตว์และพืชนานาชนิด
ซึ่งสามารถปรับตัวให้เข้ากับบริเวณน้ำที่มันอาศัยอยู่โดยมีจำนวนแตกต่างกัน
ไปตามแต่ชนิด สระน้ำนั้นดูเหมือนว่าจะแยกจากบริเวณแวดล้อมอื่น ๆ ด้วยขอบสระ
แต่ตามความเป็นจริงแล้วปริมาณน้ำในสระสามารถเพิ่มขึ้นได้ โดยน้ำฝนที่ตกลงมา
ในขณะเดียวกันกับที่ระดับผิวน้ำก็จะระเหยไปอยู่ตลอดเวลา
น้ำที่ไหลเข้ามาเพิ่มก็จะพัดพาเอาแร่ธาตุและชิ้นส่วนต่าง ๆ
ของพืชที่เน่าเปื่อยเข้ามาในสระตัวอ่อนของยุงและลูกกบตัวเล็ก ๆ อาศัยอยู่ในสระน้ำ
แต่จะไปเติบโตบนบก นกและแมลงซึ่งมีถิ่นที่อยู่นอกสระก็จะมาหาอาหารในสระน้ำ
การไหลเข้าของสารและการสูญเสียสารเช่นนี้จึงทำให้สระน้ำเป็นระบบเปิดระบบ หนึ่ง                                                                                                  หาก มีแร่ธาตุไหลเข้ามาเพิ่มขึ้น
ก็จะทำให้การเจริญเติบโตของพืชเพิ่มมากขึ้น เช่น
ไฟโตแพลงตันหรือพืชน้ำที่อยู่ก้นสระ ปริมาณสัตว์จึงเพิ่มมากขึ้นด้วย
เพราะมีอาหารอุดมสมบูรณ์ แต่เมื่อปริมาณสัตว์เพิ่ม
ปริมาณของพืชที่เป็นอาหารก็จะค่อย ๆ น้อยลง ทำให้ปริมาณสัตว์ค่อย ๆ ลดตามลงไปด้วยเนื่องจากอาหารมีไม่พอ
ดังนั้นสระน้ำจึงมีความสามารถในการที่จะควบคุมตัวของมัน

(Self-regulation) เองได้ กล่าวคือ
จำนวนและชนิดของสิ่งมีชีวิตทั้งหลายที่อยู่ในสระน้ำจะมีจำนวนคงที่
ซึ่งเราเรียกว่ามีความสมดุล                  สระ
น้ำนี้ จึงเป็นหน่วยหนึ่งของธรรมชาติที่เรียกว่า
"ระบบนิเวศ"
(
Ecosystem) ซึ่งกล่าวได้ว่าระบบ นิเวศหนึ่ง ๆ นั้น
เป็นโครงสร้างที่เปิดและมีความสามารถในการควบคุมตัวของมันเอง
ประกอบไปด้วยประชากรต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ไร้ชีวิต
ระบบนิเวศเป็นระบบเปิดที่มีความสัมพันธ์กับบริเวณแวดล้อมโดยมีการแลกเปลี่ยน สาร
และพลังงาน ดังนั้นจึงมีความสัมพันธ์กับระบบนิเวศอื่น ๆ ที่อยู่                                             ระบบนิเวศอาจมีขนาด ใหญ่ระดับโลก
คือ ชีวาลัย (
biosphere) ซึ่ง
เป็นบริเวณที่ห่อหุ้มโลกอยู่และสามารถมีขบวนการต่าง ๆ
ของชีวิตเกิดขึ้นได้หรืออาจมีขนาดเล็กเท่าบ่อน้ำแห่งหนึ่ง แต่เราสามารถจำแนกระบบนิเวศออกเป็นกลุ่ม
ๆ ได้ ดังนี้

1.    ระบบ
นิเวศทางธรรมชาติและใกล้ธรรมชาติ
(Natural and seminatural ecosystems)

เป็นระบบที่ต้องพึ่งพลังงานจากดวงอาทิตย์ เพื่อที่จะทำงานได้

1.1 ระบบนิเวศแหล่งน้ำ (Aguative
cosystems)

1.1.1 ระบบนิเวศทางทะเล เช่น มหาสมุทรแนวปะการัง
ทะเลภายในที่เป็นน้ำเค็ม


 นิเวศชาย ฝั่งทะเล

                         
                          

           

            
ระบบนิเวศชายฝั่งทะเล (Coastal Ecosystems) หมายถึงระบบนิเวศที่มีความสัมพันธ์กันทั้งระบบนิเวศและระบบนิเวศทะเล
(Terrestrial-Marine Ecosystems) ประกอบด้วยระบบนิเวศป่าบก แม่น้ำลำคลอง
ทะเลสาบชะวากทะเล ป่าชายเลน หาดเลน แนวหญ้าทะเล และปะการัง เป็นต้น ลักษณะพิเศษ
คือ ส่วนแผ่นดินเป็นพื้นที่น้ำทะเลมีอิทธิพลถึง โดยพิจารณาจากคุณลักษณะของดินและพืชพรรณส่วนพื้นที่น้ำนั้นได้รับอิทธิพลจาก
แผ่นดิน ซึ่งภายในพื้นที่ลุ่มน้ำบางปะกง-ปราจีนบุรี ครอบคลุมพื้นที่ป่าชายเลนกลุ่มสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชายฝั่ง
ทรัพยากรประมงทะเล การกัดเซาะและตกตะกอนชายฝั่ง เป็นต้น

1.2 ระบบนิเวศบนบก (Terresttrial ecosystems)

1.2.1 ระบบนิเวศกึ่งบก เช่น ป่าพรุ

1.2.2 ระบบนิเวศบนบกแท้
เช่น ป่าดิบ ทุ่งหญ้า ทะเลทราย

                                 

2.   
ระบบ นิเวศเมือง-อุตสาหกร
รม
(Urbanindustral ecosystems)


เป็นระบบที่ต้องพึ่งแหล่งพลังงานเพิ่มเติม เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง
พลังนิวเคลียร์ เป็นระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้นมาใหม่

                          

           
                 
   ระบบนิเวศเมือง อุตสาหกรรม

3. ระบบนิเวศเกษตร
(
agricultural ecosystems) เป็นระบบที่มนุษย์ปรับปรุงเปลี่ยน

แปลงระบบนิเวศทางธรรมชาติขึ้นมาใหม่

ระบบ
นิเวศและประโยชน์ของทุ่งน้ำจืด

         
น้ำ เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดของระบบนิเวศทุ่งน้ำจืด
ทั้งในด้านการกำเนิดและการดำรงอยู่ น้ำภายในทุ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ขนาดเล็กที่มอง
ด้วยตาเปล่าไม่เห็น จนถึงสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่
การที่น้ำถูกระบายผ่านทุ่งน้ำจืดเคลื่อนที่ได้ช้า
เพราะลักษณะภูมิประเทศอันเป็นที่ราบ ทำให้สิ่งที่แขวนลอยและตะกอนดินต่างๆ
ที่ไหลมากับน้ำ เกิดการตกตะกอนเป็นธาตุอาหารให้กับพืชน้ำ สัตว์ชนิดต่างๆ
ทั้งที่มีขนาดเล็กและขนาดใหญ่ขึ้นจะกินพืชและสัตว์เล็กๆ เป็นอาหาร เหยี่ยว งู
ปลาไหล นาก ฯลฯ จะกินสัตว์น้ำ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลาน
เป็นอาหารอีกต่อหนึ่ง ( วาทิตย์ เจริญศิริ
, 2534 )

1. เก็บกักน้ำใต้ดิน                                                 

2. ปลดปล่อยน้ำใต้ดิน                                                                                     

3. ควบคุมไม่ให้เกิดน้ำท่วม

4. ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเล

5. กักเก็บตะกอน

6. สะสมและปลดปล่อยธาตุอาหาร

7. เป็นส่วนหนึ่งของลูกโซ่อาหาร

8. เป็นที่อยู่อาศัยของปลา

9. เป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจที่มีศักยภาพ

 

 

 

 

รูปภาพของ knw33312

โห  เยอะๆๆ

 ได้ความรู้เยอะดีด้วย^^

 

ว้าวววววว เข้าไปบ่อยๆๆๆๆนะจร้าาาาา

รูปภาพของ knw33315

เยอะเว่อร์ 555+

 

แต่ได้ความรู้ดีค่ะ

 

ฝากด้วยนะคะ -http://www.thaigoodview.com/node/62917

รูปภาพของ knw33316

โห เยอะมากๆเลย O.O


นับวันทรัพยากรป่ายิ่งน้อยลงเรื่อยๆเนอะ
โลกก็ร้อนขึ้นทุกวัน ระบบนิเวศก็มั่วไปหมด 

อยากให้โลกนี้อากาศดีทุกวันจัง (ออกแนวไม่เกี่ยวกันกับเรื่องระบบนิเวศแล้วนะเนี่ย)
- -^

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 521 คน กำลังออนไลน์