• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7bc8cc101dd84a444307871f79072c69' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"427\" src=\"/files/u27427/tai.jpg\" height=\"327\" style=\"width: 163px; height: 105px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><strong> ใบเตยหอม</strong></span>\n</p>\n<p>\nสมุนไพรเตยหอมนั้นคนไทยคุ้นเคยกันมานาน เนื่องจากอดีตนิยมนำเตยหอมมาประกอบอาหารและขนมหวาน เช่น ไก่อบห่อใบเตย ใช้แต่งกลิ่นเวลาหุงข้าวเจ้าและข้าวเหนียว หรือนำไปแต่งกลิ่นและสีของขนม เช่น วุ้นกะทิ ขนมชั้น ขนมเปียกปูน ขนมลอดช่อง ขนมขี้หนู จะเห็นได้ว่าเราใช้สมุนไพรเตยหอมมากมาย แต่บางท่านอาจจะยังไม่ทราบว่าสมุนไพรเตยหอมนั้นมีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรอะไรบ้าง\n</p>\n<p>\n เตยหอมจัดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ขึ้นเป็นกอ ลำต้นสูงประมาณ 2-3 เมตร ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะและใกล้น้ำ ลำต้นกลมต่อเป็นข้อๆ ข้อที่อยู่ใกล้โคนลำต้นจะมีรากงอกออกมาเพื่อค้ำลำต้น\n</p>\n<p>\nใบจะออกจากลำต้นเรียงเวียนแน่นรอบลำต้น ใบมีสีเขียว รูปเรียวยาวคล้ายหอก ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ไม่มีหนาม ใบมีกลิ่นหอมเย้น ไม่มีดอก ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อเล็กๆ นำมาปลูก\n</p>\n<p>\nส่วนที่นำมาใช้เป็นยาคือ ใบ โดยใบเตยประกอบด้วยน้ำมันหอมระเหยและมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ ซึ่งในน้ำมัะนหอมระเหยประกอบไปด้วยสารหลายชนิด เช่น ไลนาลิลอะซีเตท ( Linalyl acetate) เบนซิลอะซีเตท (Benzyl acetate ) ไลนาโลออล ( Linalool) และเจอรานิออล (geraniol ) และสารที่ทำให้มีกลิ่นหอมคือ คูมาริน ( Coumarin) และเอทิลวานิลลิน ( Ethyl vanillin)\n</p>\n<p>\nเมื่อทราบส่วนประกอบของใบแล้ว มาถึงสรรพคุณของใบเตยหอม ในตำรายาแผนโบราณกล่าวไว้ว่า ใบเตยใช้เป็นยาบำรุงหัวใจ ช่วยลดการกระหายน้ำ ซึ่งเมื่อเรารับประทานน้ำใบเตยจะรู้สึกชื่นใจและชุ่มคอ\n</p>\n<p>\nส่วนรากใช้เป็นยาขับปัสสาวะและรักษาโรคเบาหวาน ซึ่งในปัจจุบันนี้ได้มีการทำศึกษาวิจัย โดยนำน้ำต้มรากใบเตยหอมไปทดลองในสัตว์ทอลองเพื่อดูฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด ปรากฏว่าสามารถลดน้ำตาลในเลือดของสัตว์ทดลองได้ ส่วนการศึกษาวิจัยในคน หมอได้นำใบเตยหอมมาผลิตในรูปแบบชาชง บรรจุซองละ 6 กรัม ให้คนปกติรับประทานวันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน ผลปรากฏว่า ระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับประทานชาชงใบเตยลดลงอย่างมีนัยสำคัญ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"154\" src=\"/files/u27427/tai3.jpg\" height=\"160\" style=\"width: 116px; height: 118px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\nจึงนับได้ว่าสมุนไพรใบเตยหอมนั้น เป็นสมุนไพรอีกชนิดหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ในผู้ป่วยโรคเบาหวานได้ เพื่อเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งให้คนไข้ และสามารถทำรับประทานเองได้ โดยนำใบเตยหอมมาล้างให้สะอาดแล้วหั่นบางๆ ตากแดดให้แห้งนำไปชงกับน้ำร้อนดื่มได้ตลอดเวลา\n</p>\n<p>\nหรือจะนำใบเตยที่หั่นเรียบร้อยแล้วไปคั่วในกระทะโดยใช้ไฟอ่อนๆ จนแห้งดีแล้วก็เก็บในภาชนะที่ปิดฝาสนิท เมื่อจะรับประทานก็นำมาชงกับน้ำร้อนดื่ม ซึ่งจำนวนครั้งของการดื่มก็ขึ้นอยู่กับระดับน้ำตาล ถ้าระดับน้ำตาลสูงมาก ควรรับประทานควบคู่กับยาแผนปัจจุบัน\n</p>\n<p>\nสำหรับผลข้างเคียงของเตยหอมนั้น เท่าที่ได้รักษาคนไข้มายังไม่พบ และคิดว่าไม่น่าจะมีผลข้างเคียงอะไร เพราะเตยหอมนั้นจัดเป็นทั้งอาหารและยา นับได้ว่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับคนไข้โรคเบาหวาน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"http://www.thaistartainment.com/news/variety.php?varID=317\">มีคุณค่าทางสมุนไพร</a><br />\n</span></strong>แก้อ่อนเพลีย ละเหี่ยใจ บำรุงหัวใจ เวลาได้ดื่มน้ำสมุนไพรชนิดนี้ จะมีความรู้สึกชุ่มชื้นขึ้นมา ส่วนที่ใช้เป็นยาได้แก่ ใบ รสหวานเย็นหอม บำรุงหัวใจ ดับพิษไข้ ชูกำลัง โดยใช้ใบเตยสดล้างให้สะอาด นำมาตำหรือปั่นให้ละเอียด เติมน้ำเล็กน้อยคั้นเอาแต่น้ำดื่ม อาจเติมน้ำตาลเล็กน้อยก็ได้ ใบเตยหอมกลั่นด้วยไอน้ำจะมีสารหอมประกอบหลายชนิด ในทางการแพทย์ช่วยลดน้ำตาลในเลือด\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"127\" src=\"/files/u27427/tai2_0.jpg\" height=\"179\" style=\"width: 141px; height: 125px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มาของภาพ  <a href=\"http://i27.photobucket.com/albums/c166/Moodaeng/Kitchen14/plahobaitoey08.jpg\">http://i27.photobucket.com/albums/c166/Moodaeng/Kitchen14/plahobaitoey08.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1715857385, expire = 1715943785, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7bc8cc101dd84a444307871f79072c69' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c441bad41497d25c0ac088a673c2b392' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n <img border=\"0\" align=\"left\" width=\"427\" src=\"/files/u27427/tai.jpg\" height=\"327\" style=\"width: 163px; height: 105px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><strong> ใบเตยหอม</strong></span>\n</p>\n<p>\nสมุนไพรเตยหอมนั้นคนไทยคุ้นเคยกันมานาน เนื่องจากอดีตนิยมนำเตยหอมมาประกอบอาหารและขนมหวาน เช่น ไก่อบห่อใบเตย ใช้แต่งกลิ่นเวลาหุงข้าวเจ้าและข้าวเหนียว หรือนำไปแต่งกลิ่นและสีของขนม เช่น วุ้นกะทิ ขนมชั้น ขนมเปียกปูน ขนมลอดช่อง ขนมขี้หนู จะเห็นได้ว่าเราใช้สมุนไพรเตยหอมมากมาย แต่บางท่านอาจจะยังไม่ทราบว่าสมุนไพรเตยหอมนั้นมีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรอะไรบ้าง\n</p>\n<p>\n เตยหอมจัดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ขึ้นเป็นกอ ลำต้นสูงประมาณ 2-3 เมตร ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะและใกล้น้ำ ลำต้นกลมต่อเป็นข้อๆ ข้อที่อยู่ใกล้โคนลำต้นจะมีรากงอกออกมาเพื่อค้ำลำต้น\n</p>\n<p>\nใบจะออกจากลำต้นเรียงเวียนแน่นรอบลำต้น ใบมีสีเขียว รูปเรียวยาวคล้ายหอก ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ไม่มีหนาม ใบมีกลิ่นหอมเย้น ไม่มีดอก ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อเล็กๆ นำมาปลูก\n</p>\n<p>\nส่วนที่นำมาใช้เป็นยาคือ ใบ โดยใบเตยประกอบด้วยน้ำมันหอมระเหยและมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ ซึ่งในน้ำมัะนหอมระเหยประกอบไปด้วยสารหลายชนิด เช่น ไลนาลิลอะซีเตท ( Linalyl acetate) เบนซิลอะซีเตท (Benzyl acetate ) ไลนาโลออล ( Linalool) และเจอรานิออล (geraniol ) และสารที่ทำให้มีกลิ่นหอมคือ คูมาริน ( Coumarin) และเอทิลวานิลลิน ( Ethyl vanillin)\n</p>\n<p>\nเมื่อทราบส่วนประกอบของใบแล้ว มาถึงสรรพคุณของใบเตยหอม ในตำรายาแผนโบราณกล่าวไว้ว่า ใบเตยใช้เป็นยาบำรุงหัวใจ ช่วยลดการกระหายน้ำ ซึ่งเมื่อเรารับประทานน้ำใบเตยจะรู้สึกชื่นใจและชุ่มคอ\n</p>\n<p>\nส่วนรากใช้เป็นยาขับปัสสาวะและรักษาโรคเบาหวาน ซึ่งในปัจจุบันนี้ได้มีการทำศึกษาวิจัย โดยนำน้ำต้มรากใบเตยหอมไปทดลองในสัตว์ทอลองเพื่อดูฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด ปรากฏว่าสามารถลดน้ำตาลในเลือดของสัตว์ทดลองได้ ส่วนการศึกษาวิจัยในคน หมอได้นำใบเตยหอมมาผลิตในรูปแบบชาชง บรรจุซองละ 6 กรัม ให้คนปกติรับประทานวันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน ผลปรากฏว่า ระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับประทานชาชงใบเตยลดลงอย่างมีนัยสำคัญ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"154\" src=\"/files/u27427/tai3.jpg\" height=\"160\" style=\"width: 116px; height: 118px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>', created = 1715857385, expire = 1715943785, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c441bad41497d25c0ac088a673c2b392' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เตยหอม

รูปภาพของ stnrachadaporn

 

 ใบเตยหอม

สมุนไพรเตยหอมนั้นคนไทยคุ้นเคยกันมานาน เนื่องจากอดีตนิยมนำเตยหอมมาประกอบอาหารและขนมหวาน เช่น ไก่อบห่อใบเตย ใช้แต่งกลิ่นเวลาหุงข้าวเจ้าและข้าวเหนียว หรือนำไปแต่งกลิ่นและสีของขนม เช่น วุ้นกะทิ ขนมชั้น ขนมเปียกปูน ขนมลอดช่อง ขนมขี้หนู จะเห็นได้ว่าเราใช้สมุนไพรเตยหอมมากมาย แต่บางท่านอาจจะยังไม่ทราบว่าสมุนไพรเตยหอมนั้นมีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรอะไรบ้าง

 เตยหอมจัดเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ขึ้นเป็นกอ ลำต้นสูงประมาณ 2-3 เมตร ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะและใกล้น้ำ ลำต้นกลมต่อเป็นข้อๆ ข้อที่อยู่ใกล้โคนลำต้นจะมีรากงอกออกมาเพื่อค้ำลำต้น

ใบจะออกจากลำต้นเรียงเวียนแน่นรอบลำต้น ใบมีสีเขียว รูปเรียวยาวคล้ายหอก ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ไม่มีหนาม ใบมีกลิ่นหอมเย้น ไม่มีดอก ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อเล็กๆ นำมาปลูก

ส่วนที่นำมาใช้เป็นยาคือ ใบ โดยใบเตยประกอบด้วยน้ำมันหอมระเหยและมีสีเขียวของคลอโรฟิลล์ ซึ่งในน้ำมัะนหอมระเหยประกอบไปด้วยสารหลายชนิด เช่น ไลนาลิลอะซีเตท ( Linalyl acetate) เบนซิลอะซีเตท (Benzyl acetate ) ไลนาโลออล ( Linalool) และเจอรานิออล (geraniol ) และสารที่ทำให้มีกลิ่นหอมคือ คูมาริน ( Coumarin) และเอทิลวานิลลิน ( Ethyl vanillin)

เมื่อทราบส่วนประกอบของใบแล้ว มาถึงสรรพคุณของใบเตยหอม ในตำรายาแผนโบราณกล่าวไว้ว่า ใบเตยใช้เป็นยาบำรุงหัวใจ ช่วยลดการกระหายน้ำ ซึ่งเมื่อเรารับประทานน้ำใบเตยจะรู้สึกชื่นใจและชุ่มคอ

ส่วนรากใช้เป็นยาขับปัสสาวะและรักษาโรคเบาหวาน ซึ่งในปัจจุบันนี้ได้มีการทำศึกษาวิจัย โดยนำน้ำต้มรากใบเตยหอมไปทดลองในสัตว์ทอลองเพื่อดูฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด ปรากฏว่าสามารถลดน้ำตาลในเลือดของสัตว์ทดลองได้ ส่วนการศึกษาวิจัยในคน หมอได้นำใบเตยหอมมาผลิตในรูปแบบชาชง บรรจุซองละ 6 กรัม ให้คนปกติรับประทานวันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน ผลปรากฏว่า ระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับประทานชาชงใบเตยลดลงอย่างมีนัยสำคัญ

 
สร้างโดย: 
รัชดาพร (อบรมกับครูพูนศักดิ์ เลยลองกลับมาทำดูค่ะ)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 277 คน กำลังออนไลน์