• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ccb088e3389ed1a8fd8bc52cc9fea4f0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #800080\"><u>สอนไมโทซิสด้วยภาษามือ</u></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">      <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: green; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">การแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส</span></span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"> (Mitosis) <span lang=\"TH\">เป็นการแบ่งเซลล์ที่เกิดขึ้นกับเซลล์ร่างกายทั่วไป (</span>Autosome) <span lang=\"TH\">ของสิ่งมีชีวิต โดยในการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีสจะแบ่งออกเป็น </span>5 <span lang=\"TH\">ระยะย่อย ในแต่ละระยะจะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของ</span></span><a href=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/bio_voc/bio_c.htm#chromosome\"><span style=\"font-size: 10pt; color: #0066ff; text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\">โครโมโซม</span></a><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">แตกต่างกันออกไป ในที่นี้จะอธิบายพฤติกรรมและลักษณะของโครโมโซมในแต่ละระยะ พร้อมเปรียบเทียบให้เห็นภาพถ่ายจากของจริง และภาษามือที่ใช้ อนึ่งเพื่อความเข้าใจที่ตรงกันในที่นี้จะสมมุติให้นิ้วมือแต่ละนิ้วของคนเราเปรียบเสมือนโครโมโซม</span> 1 <span lang=\"TH\">แท่ง และการเปลี่ยนแปลงของนิ้วมือในแต่ละภาพก็เปรียบเสมือนการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซม ในแต่ละระยะของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส ดังรายละเอียดต่อไปนี้ </span><o:p></o:p></span></span></p>\n<table border=\"1\" width=\"600\" cellPadding=\"0\" style=\"margin: auto auto auto 3pt; width: 450pt; border: 1.5pt outset\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"249\" style=\"width: 186.9pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">ระยะอินเตอร์เฟส</span> (Interphase)<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เป็นระยะแรกของ</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><a href=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/bio_voc/bio_c.htm#cell_division\"><span style=\"color: #0066ff; text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\">การแบ่งเซลล์</span></a><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">แบบไมโทซีส เป็นระยะที่เซลล์มีการเตรียมพร้อม สำหรับการแบ่งเซลล์ ตอนต้นของระยะอินเตอร์เฟส </span></span><a href=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/bio_voc/bio_c.htm#chromosome\"><span style=\"color: #0066ff; text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\">โครโมโซม</span></a><span style=\"color: #000000\"> (Chromosome) <span lang=\"TH\">จะอยู่ในรูปของโครมาทิน (</span>Chromosome) <span lang=\"TH\">คือ มี ลักษณะเป็นสายยาวพันกันยุ่งหยิง จนดูคล้ายมีลักษณะเป็นก้อนกลม ๆ อยู่ในเซลล์ เช่นเดียวกับกำมือคนเรา ซึ่งมีลักษณะเป็นก้อนกลม ๆ นิ้วแต่ละนิ้วชิดกันจนแยกไม่ออกว่านิ้วไหนเป็นนิ้วไหน</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\">\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><img border=\"0\" width=\"124\" src=\"/files/u27257/mitosis1.jpg\" height=\"128\" />\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td width=\"214\" style=\"width: 160.75pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"129\" src=\"/files/u27257/finger1.jpg\" height=\"130\" style=\"width: 200px; height: 173px\" />\n<p>\n <o:p></o:p></p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"249\" style=\"width: 186.9pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ตอนปลายของระยะอินเตอร์เฟส การจำลองดีเอ็นเอ (</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">DNA Duplication) <span lang=\"TH\">ก็เสร็จสิ้นสมบูรณ์ ทำให้ได้โครโมโซมเพิ่มขึ้นอีก </span>1 <span lang=\"TH\">ชุด แต่ก็ยังคงมีลักษณะพันกันยุ่งหยิ่งเช่นเดิมเปรียบได้กับการกำมือทั้งสองเข้าด้วยกันเป็นก้อนกลมจำนวนนิ้วมือของมืออีกข้างหนึ่งที่เพิ่มขึ้นมาก็เปรียบได้กับจำนวนโครโมโวมที่ได้ถูกจำลองเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งชุดนั่นเอง</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\">\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"129\" src=\"/files/u27257/mitosis12.jpg\" height=\"130\" />\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td width=\"214\" style=\"width: 160.75pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"129\" src=\"/files/u27257/finger12.jpg\" height=\"130\" style=\"width: 192px; height: 165px\" />\n<p>\n <o:p></o:p></p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"249\" style=\"width: 186.9pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">2. <span lang=\"TH\">ระยะโพรเฟส (</span>Prophase) <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ในระยะโพรเฟส โครโมโซมจะหดตัวสั้นเข้า ทำให้เห็นเป็นแท่งโครโมโซมชัดเจน ในระยะนี้จะมีการจับคุ่กันของโครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกันเป็นคู่เรียกว่า</span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><a href=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/bio_voc/bio_c.htm#chromatid\"><span style=\"color: #0066ff; text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\">โครมาทิด</span></a><span style=\"color: #000000\"> (Chromatid) <span lang=\"TH\">โดยมีเซนโตรเมียร์ (</span>Centromere) <span lang=\"TH\">เป็นจุดเชื่อม</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เปรียบได้กับนิ้วมือแต่ละข้างของคนเราซึ่งตอนนี้ได้ถูกแบออกให้เห็นนิ้วมือชัดเจน และมีลักษณะอยู่แนบชิดกันเป็นคู่ ๆ สังเกตได้ว่านิ้วก้อยของมือซ้ายซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับนิ้วก้อยของมือขวาก็จะมาเข้าคู่กัน และนิ้วอื่น ๆ ของมือทั้งสองก็เช่นกัน เปรียบได้กับการจับคู่ของโครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\">\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 91.5pt; height: 93.75pt\" id=\"_x0000_i1029\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\Owner\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image007.jpg\" o:href=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/mitosis/mitosis2.jpg\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"124\" src=\"/files/u27257/mitosis2.jpg\" height=\"128\" /></span></span></v:imagedata></v:shape>\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td width=\"214\" style=\"width: 160.75pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"129\" src=\"/files/u27257/finger2_0.jpg\" height=\"130\" style=\"width: 189px; height: 161px\" />\n<p>\n <o:p></o:p></p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"249\" style=\"width: 186.9pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">3</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\">. </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ระยะเมทาเฟส</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"> (Metaphase)<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เป็นระยะที่สังเกตโครโมโซม ได้ชัดเจนที่สุดและเห็นได้ชัดที่สุดในของจริง ในระยะนี้โครมาทิดจะเลื่อนมาเรียงกันกลางเซลล์ โดยที่เส้นใยสปินเดิล (</span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">Spindle Fiber) <span lang=\"TH\">จากขั้วเซลล์ทั้งสองข้างจะเริ่มเข้ามาจับที่เซนโตรเมียร์ของโครมาทิดแต่ละคู่เพื่อแยกโครโมโซมที่เข้าคู่กันอยู่ออกจากกัน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เปรียบได้กับนิ้วมือของมือแต่ละข้างของคนเราที่เคยแนบชิดกันในระยะโพรเฟส บัดนี้จะแยกออกจากกัน โดยแต่ละคู่จะมาเรียงกันกลางเซลล์</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\">\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"124\" src=\"/files/u27257/mitosis3.jpg\" height=\"128\" />\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td width=\"214\" style=\"width: 160.75pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"129\" src=\"/files/u27257/finger3.jpg\" height=\"130\" style=\"width: 212px; height: 187px\" />\n<p>\n <o:p></o:p></p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"249\" style=\"width: 186.9pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">4. <span lang=\"TH\">ระยะแอนาเฟส</span> (Anaphase)<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เป็นระยะที่โครโมโซม จากโครมาทิดแต่ละคู่ เริ่มถูกดึงให้แยกออกจากกันอย่างช้า ๆ หากเป็นภาพจากของจริงในเซลล์สัตว์จะสังเกตเป็นเยื่อหุ้มเซลล์ค่อย ๆ คอดเข้ามา เพื่อแยกออกจากกันเป็น </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">2 <span lang=\"TH\">เซลล์ แต่หากเป็นเซลล์พืช จะมีผนังเซลล์บาง ๆ มากั้นระหว่างเซลล์ทั้งสองเช่นเดียวกัน ในภาษามือจะสังเกตว่านิ้วมือของมือแต่ละข้าง จะค่อย ๆ แยกห่างออกจากกัน</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\">\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"124\" src=\"/files/u27257/mitosis4.jpg\" height=\"128\" />\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td width=\"214\" style=\"width: 160.75pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"129\" src=\"/files/u27257/finger4.jpg\" height=\"130\" style=\"width: 201px; height: 168px\" />\n<p>\n <o:p></o:p></p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"249\" style=\"width: 186.9pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">5. <span lang=\"TH\">ระยะเทโลเฟส</span> (Telophase)<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เป็นระยะสุดท้ายของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส ในระยะนี้โครโมโซมจะแบ่งเป็น </span></span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">2 <span lang=\"TH\">ชุดชัดเจน พร้อม ๆ กับมีการแบ่ง</span></span><a href=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/bio_voc/bio_c.htm#cytoplasm\"><span style=\"color: #0066ff; text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"TH\">ไซโทพลาสซึม</span></a><span style=\"color: #000000\"> (Cytoplasm) <span lang=\"TH\">ออกเป็น </span>2 <span lang=\"TH\">ส่วน ทำให้ได้เซลล์ใหม่ </span>2 <span lang=\"TH\">เซลล์ ที่พร้อมจะมีการเจริญเติบโตและพร้อมที่จะมีการแบ่งเซลล์ใหม่ต่อไป</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เปรียบได้กับกำมือทั้ง </span><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\">2 <span lang=\"TH\">ข้างที่เหมือนกันของเราเหมือนกับเซลล์ใหม่ </span>2 <span lang=\"TH\">เซลล์ที่เกิดขึ้น และมีลักษณะเหมือนกันทุกประการทั้ง </span>2 <span lang=\"TH\">เซลล์</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\">\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"124\" src=\"/files/u27257/mitosis5.jpg\" height=\"142\" />\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n<td width=\"214\" style=\"width: 160.75pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0.75pt\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"129\" src=\"/files/u27257/finger5.jpg\" height=\"130\" style=\"width: 196px; height: 190px\" />\n<p> <o:p></o:p></p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><br />\n</span><i><span style=\"font-size: 10pt; color: blue; font-family: Tahoma\">(</span></i><i><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ภาพประกอบจากหนังสือ &quot;</span></i><i><span style=\"font-size: 10pt; color: blue; font-family: Tahoma\">The Unity and Diversity of Left&quot; </span></i><i><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ผู้แต่ง :</span></i><i><span style=\"font-size: 10pt; color: blue; font-family: Tahoma\"> Cecie Starr </span></i><i><span style=\"font-size: 14pt; color: blue; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">และ </span></i><i><span style=\"font-size: 10pt; color: blue; font-family: Tahoma\">Ralph Taggart)</span></i><span style=\"font-size: 10pt; color: blue; font-family: Tahoma\"> </span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">จากทั้งหมดที่กล่าวมา เห็นได้ว่าการอธิบายวิธีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีสด้วยภาษามือ ไม่ใช่เรื่องยากเย็นอะไรเลย แม้แต่นักเรียนก็สามารถสร้างความเข้าใจได้ด้วยตนเอง ที่สำคัญไม่มีอุปกรณ์ใดต้องเตรียมให้ยุ่งยาก และไม่ต้องใช้เวลามากนักในการที่จะตัดสินใจลองดู </span></span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></p>\n', created = 1727584254, expire = 1727670654, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ccb088e3389ed1a8fd8bc52cc9fea4f0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สอนไมโทซิสด้วยภาษามือ

รูปภาพของ uns32578pawadee

สอนไมโทซิสด้วยภาษามือ

      การแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส (Mitosis) เป็นการแบ่งเซลล์ที่เกิดขึ้นกับเซลล์ร่างกายทั่วไป (Autosome) ของสิ่งมีชีวิต โดยในการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีสจะแบ่งออกเป็น 5 ระยะย่อย ในแต่ละระยะจะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของโครโมโซมแตกต่างกันออกไป ในที่นี้จะอธิบายพฤติกรรมและลักษณะของโครโมโซมในแต่ละระยะ พร้อมเปรียบเทียบให้เห็นภาพถ่ายจากของจริง และภาษามือที่ใช้ อนึ่งเพื่อความเข้าใจที่ตรงกันในที่นี้จะสมมุติให้นิ้วมือแต่ละนิ้วของคนเราเปรียบเสมือนโครโมโซม 1 แท่ง และการเปลี่ยนแปลงของนิ้วมือในแต่ละภาพก็เปรียบเสมือนการเปลี่ยนแปลงของโครโมโซม ในแต่ละระยะของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1. ระยะอินเตอร์เฟส (Interphase)เป็นระยะแรกของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส เป็นระยะที่เซลล์มีการเตรียมพร้อม สำหรับการแบ่งเซลล์ ตอนต้นของระยะอินเตอร์เฟส โครโมโซม (Chromosome) จะอยู่ในรูปของโครมาทิน (Chromosome) คือ มี ลักษณะเป็นสายยาวพันกันยุ่งหยิง จนดูคล้ายมีลักษณะเป็นก้อนกลม ๆ อยู่ในเซลล์ เช่นเดียวกับกำมือคนเรา ซึ่งมีลักษณะเป็นก้อนกลม ๆ นิ้วแต่ละนิ้วชิดกันจนแยกไม่ออกว่านิ้วไหนเป็นนิ้วไหน

ตอนปลายของระยะอินเตอร์เฟส การจำลองดีเอ็นเอ (DNA Duplication) ก็เสร็จสิ้นสมบูรณ์ ทำให้ได้โครโมโซมเพิ่มขึ้นอีก 1 ชุด แต่ก็ยังคงมีลักษณะพันกันยุ่งหยิ่งเช่นเดิมเปรียบได้กับการกำมือทั้งสองเข้าด้วยกันเป็นก้อนกลมจำนวนนิ้วมือของมืออีกข้างหนึ่งที่เพิ่มขึ้นมาก็เปรียบได้กับจำนวนโครโมโวมที่ได้ถูกจำลองเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งชุดนั่นเอง

2. ระยะโพรเฟส (Prophase) ในระยะโพรเฟส โครโมโซมจะหดตัวสั้นเข้า ทำให้เห็นเป็นแท่งโครโมโซมชัดเจน ในระยะนี้จะมีการจับคุ่กันของโครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกันเป็นคู่เรียกว่าโครมาทิด (Chromatid) โดยมีเซนโตรเมียร์ (Centromere) เป็นจุดเชื่อมเปรียบได้กับนิ้วมือแต่ละข้างของคนเราซึ่งตอนนี้ได้ถูกแบออกให้เห็นนิ้วมือชัดเจน และมีลักษณะอยู่แนบชิดกันเป็นคู่ ๆ สังเกตได้ว่านิ้วก้อยของมือซ้ายซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับนิ้วก้อยของมือขวาก็จะมาเข้าคู่กัน และนิ้วอื่น ๆ ของมือทั้งสองก็เช่นกัน เปรียบได้กับการจับคู่ของโครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน

3. ระยะเมทาเฟส (Metaphase)เป็นระยะที่สังเกตโครโมโซม ได้ชัดเจนที่สุดและเห็นได้ชัดที่สุดในของจริง ในระยะนี้โครมาทิดจะเลื่อนมาเรียงกันกลางเซลล์ โดยที่เส้นใยสปินเดิล (Spindle Fiber) จากขั้วเซลล์ทั้งสองข้างจะเริ่มเข้ามาจับที่เซนโตรเมียร์ของโครมาทิดแต่ละคู่เพื่อแยกโครโมโซมที่เข้าคู่กันอยู่ออกจากกันเปรียบได้กับนิ้วมือของมือแต่ละข้างของคนเราที่เคยแนบชิดกันในระยะโพรเฟส บัดนี้จะแยกออกจากกัน โดยแต่ละคู่จะมาเรียงกันกลางเซลล์

4. ระยะแอนาเฟส (Anaphase)เป็นระยะที่โครโมโซม จากโครมาทิดแต่ละคู่ เริ่มถูกดึงให้แยกออกจากกันอย่างช้า ๆ หากเป็นภาพจากของจริงในเซลล์สัตว์จะสังเกตเป็นเยื่อหุ้มเซลล์ค่อย ๆ คอดเข้ามา เพื่อแยกออกจากกันเป็น 2 เซลล์ แต่หากเป็นเซลล์พืช จะมีผนังเซลล์บาง ๆ มากั้นระหว่างเซลล์ทั้งสองเช่นเดียวกัน ในภาษามือจะสังเกตว่านิ้วมือของมือแต่ละข้าง จะค่อย ๆ แยกห่างออกจากกัน

5. ระยะเทโลเฟส (Telophase)เป็นระยะสุดท้ายของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีส ในระยะนี้โครโมโซมจะแบ่งเป็น 2 ชุดชัดเจน พร้อม ๆ กับมีการแบ่งไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) ออกเป็น 2 ส่วน ทำให้ได้เซลล์ใหม่ 2 เซลล์ ที่พร้อมจะมีการเจริญเติบโตและพร้อมที่จะมีการแบ่งเซลล์ใหม่ต่อไปเปรียบได้กับกำมือทั้ง 2 ข้างที่เหมือนกันของเราเหมือนกับเซลล์ใหม่ 2 เซลล์ที่เกิดขึ้น และมีลักษณะเหมือนกันทุกประการทั้ง 2 เซลล์


(ภาพประกอบจากหนังสือ "The Unity and Diversity of Left" ผู้แต่ง : Cecie Starr และ Ralph Taggart) จากทั้งหมดที่กล่าวมา เห็นได้ว่าการอธิบายวิธีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซีสด้วยภาษามือ ไม่ใช่เรื่องยากเย็นอะไรเลย แม้แต่นักเรียนก็สามารถสร้างความเข้าใจได้ด้วยตนเอง ที่สำคัญไม่มีอุปกรณ์ใดต้องเตรียมให้ยุ่งยาก และไม่ต้องใช้เวลามากนักในการที่จะตัดสินใจลองดู

สร้างโดย: 
ภาวดี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 398 คน กำลังออนไลน์