• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4964f41c1b58f451894bb0ba84fce77d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: Arial; color: #6b3870\">  </span><b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\'; color: #6b3870\" lang=\"TH\">สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร</span></b><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\'; color: #6b3870\" lang=\"TH\">ี ทรงเป็นพระราชธิดา</span><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\'; color: #6b3870\"><br /><span lang=\"TH\">องค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ</span><br /><span lang=\"TH\">พระนามเดิมว่า <b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดา</span></b></span><b><br /><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กิติวัฒนาดุลโสภาคย</span></b></b><span lang=\"TH\">์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ ๒ เมษายน ๒๔๙๘ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน</span><br /><span lang=\"TH\">พระราชวังดุสิต โดยศาสตราจารย์ นายแพทย์หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์เป็นผู้ถวาย</span><br /><span lang=\"TH\">การประสูติ และทรงมีพระนามที่บรรดาข้าราชบริพารเรียกกันทั่วไปว่า</span>&quot;<span lang=\"TH\">ทูลกระหม่อมน้อย&quot;</span></span></p>\n<p><span lang=\"TH\">สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงเริ่มการศึกษาระดับ</span><br /><span lang=\"TH\">อนุบาลในเดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๒ ที่โรงเรียนจิตรลดา ในบริเวณพระตำหนัก</span><br /><span lang=\"TH\">จิตรลดารโหฐาน ขณะนั้นพระชนมายุได้ ๓ พระชันษาเศษ ทรงมีพระสหายร่วมชั้นเรียน</span><br /><span lang=\"TH\">อีก ๒๐ คน ซึ่งมาจากบุตรหลานของพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ ตลอดจนมหาดเล็ก</span><br /><span lang=\"TH\">ผู้ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้มาร่วมเรียนด้วยโดยปราศจากชั้นวรรณะ วิชาที่ทรงศึกษา</span><br /><span lang=\"TH\">ในชั้นอนุบาลนี้ คือ วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เลขคณิต และขับร้อง พระอาจารย์ที่ถวาย</span><br /><span lang=\"TH\">พระอักษรขณะนั้นได้แก่ อาจารย์ท่านผู้หญิงทัศนีย์ บุณยคุปต์</span>,<span lang=\"TH\">อาจารย์คุณหญิงอังกาบ</span><br /><span lang=\"TH\">บุณยัษฐิติ และอาจารย์คุณหญิงสุนามัน ประนิช ทั้งนี้ปรากฎว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โปรดโรงเรียน พระอาจารย์ และ</span><br /><span lang=\"TH\">พระสหายเป็นอันดี</span> </p>\n<p><span lang=\"TH\">เมื่อทรงเรียนจบชั้นประถมศึกษาตอนปลายได้ทรงสอบร่วมกับนักเรียนทั่วประเทศ</span><br /><span lang=\"TH\">โดยใช้ข้อสอบกระทรวงศึกษาธิการ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี</span> <br /><span lang=\"TH\">ทรงสอบได้ที่หนึ่ง ได้คะแนนรวมร้อยละ ๙๖.๖๐อันเป็นคะแนนสูงสุดสำหรับระดับชั้น</span><br /><span lang=\"TH\">ประถมศึกษาปีที่เจ็ด จึงทรงได้รับพระราชทานรางวัลเรียนดีจาก</span><br /><span lang=\"TH\">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในงานแสดงศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่๓๑ ณ</span><br /><span lang=\"TH\">กรีฑาสถานแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๑๑ ระหว่างที่ทรงศึกษาอยู่นี้เป็นที่ทราบกัน</span><br /><span lang=\"TH\">โดยทั่วไปว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระปรีชาสามารถ</span><br /><span lang=\"TH\">ในวิชาแทบทุกด้าน เช่น ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ รำไทย</span><br /><span lang=\"TH\">ดนตรีไทย และวาดเขียน เป็นต้นซึ่งมักจะทรงได้คะแนนมากว่าพระสหายในชั้นเดียวกัน</span><br /><span lang=\"TH\">อยู่เสมอ นอกจากนี้ยังโปรดทรงหนังสือมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ และทรงพระปรีชาสามารถ</span><br /><span lang=\"TH\">ในทางร้อยแก้วและร้อยกรองอย่างยิ่ง ทรงเริ่มบทพระนิพนธ์ต่างๆตั้งแต่เมื่อทรง</span><br /><span lang=\"TH\">พระชนมายุได้เพียง ๑๒ พระชันษา เป็นต้นมาบทพระราชนิพนธ์เหล่านี้ได้รับการตีพิมพ์</span><br /><span lang=\"TH\">แพร่หลายในหนังสือหลายเล่ม ตัวอย่างเช่น &quot;อยุธยา&quot;&quot;เจ้าครอกวัดโพธิ์&quot; &quot; ศาสนาเกิดขึ้น</span><br /><span lang=\"TH\">ได้อย่างไร&quot; เป็นต้น บทพระราชนิพนธ์ที่รู้จักกันดีในปัจจุบันคือ&quot;พุทธศาสนสุภาษิตคำโคลง&quot;</span><br /><span lang=\"TH\">ซึ่งทรงถอดมาจากภาษาบาลี และ &quot;กษัตริยานุสรณ์&quot;ซึ่งทรงทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระนาง</span><br /><span lang=\"TH\">เจ้าพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ประจำปี ๒๕๑๖</span>(<span lang=\"TH\">ขณะนั้นสมเด็จ</span><br /><span lang=\"TH\">พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระชนมายุเพียง ๑๘ พระชันษา)</span><span style=\"font-size: 22pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n', created = 1717323305, expire = 1717409705, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4964f41c1b58f451894bb0ba84fce77d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานหน้ายิ้ม

  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นพระราชธิดา
องค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ
พระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดา
กิติวัฒนาดุลโสภาคย
์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่ ๒ เมษายน ๒๔๙๘ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน
พระราชวังดุสิต โดยศาสตราจารย์ นายแพทย์หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์เป็นผู้ถวาย
การประสูติ และทรงมีพระนามที่บรรดาข้าราชบริพารเรียกกันทั่วไปว่า"ทูลกระหม่อมน้อย"

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงเริ่มการศึกษาระดับ
อนุบาลในเดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๒ ที่โรงเรียนจิตรลดา ในบริเวณพระตำหนัก
จิตรลดารโหฐาน ขณะนั้นพระชนมายุได้ ๓ พระชันษาเศษ ทรงมีพระสหายร่วมชั้นเรียน
อีก ๒๐ คน ซึ่งมาจากบุตรหลานของพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ ตลอดจนมหาดเล็ก
ผู้ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้มาร่วมเรียนด้วยโดยปราศจากชั้นวรรณะ วิชาที่ทรงศึกษา
ในชั้นอนุบาลนี้ คือ วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เลขคณิต และขับร้อง พระอาจารย์ที่ถวาย
พระอักษรขณะนั้นได้แก่ อาจารย์ท่านผู้หญิงทัศนีย์ บุณยคุปต์,อาจารย์คุณหญิงอังกาบ
บุณยัษฐิติ และอาจารย์คุณหญิงสุนามัน ประนิช ทั้งนี้ปรากฎว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โปรดโรงเรียน พระอาจารย์ และ
พระสหายเป็นอันดี

เมื่อทรงเรียนจบชั้นประถมศึกษาตอนปลายได้ทรงสอบร่วมกับนักเรียนทั่วประเทศ
โดยใช้ข้อสอบกระทรวงศึกษาธิการ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
ทรงสอบได้ที่หนึ่ง ได้คะแนนรวมร้อยละ ๙๖.๖๐อันเป็นคะแนนสูงสุดสำหรับระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่เจ็ด จึงทรงได้รับพระราชทานรางวัลเรียนดีจาก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในงานแสดงศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่๓๑ ณ
กรีฑาสถานแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๑๑ ระหว่างที่ทรงศึกษาอยู่นี้เป็นที่ทราบกัน
โดยทั่วไปว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระปรีชาสามารถ
ในวิชาแทบทุกด้าน เช่น ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ รำไทย
ดนตรีไทย และวาดเขียน เป็นต้นซึ่งมักจะทรงได้คะแนนมากว่าพระสหายในชั้นเดียวกัน
อยู่เสมอ นอกจากนี้ยังโปรดทรงหนังสือมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ และทรงพระปรีชาสามารถ
ในทางร้อยแก้วและร้อยกรองอย่างยิ่ง ทรงเริ่มบทพระนิพนธ์ต่างๆตั้งแต่เมื่อทรง
พระชนมายุได้เพียง ๑๒ พระชันษา เป็นต้นมาบทพระราชนิพนธ์เหล่านี้ได้รับการตีพิมพ์
แพร่หลายในหนังสือหลายเล่ม ตัวอย่างเช่น "อยุธยา""เจ้าครอกวัดโพธิ์" " ศาสนาเกิดขึ้น
ได้อย่างไร" เป็นต้น บทพระราชนิพนธ์ที่รู้จักกันดีในปัจจุบันคือ"พุทธศาสนสุภาษิตคำโคลง"
ซึ่งทรงถอดมาจากภาษาบาลี และ "กษัตริยานุสรณ์"ซึ่งทรงทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระนาง
เจ้าพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ประจำปี ๒๕๑๖(ขณะนั้นสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระชนมายุเพียง ๑๘ พระชันษา)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 1029 คน กำลังออนไลน์