• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:516e3ecda718345bc0086f2cd88e962f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/year_03.gif\" height=\"50\" />     </span><span style=\"font-size: small; color: #800000; font-family: Tahoma\"><b>ระบบหมุนเวียนของโลหิต <img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/year_03.gif\" height=\"50\" /></b></span><span style=\"font-size: small; font-family: Tahoma\"><b><br />\nแบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ</b></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small; font-family: Tahoma\"><b>   </b></span><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: Tahoma\"><b> </b></span><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff; font-family: Tahoma\"><b>1. ระบบเปิด</b></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b>  </b>เป็นระบบที่เืลือดไม่ได้ไหลไปตามเส้นเลือดตลอดเวลาแต่จะมีเลือดไหลไปตามช่องว่างในลำตัวที่เรียกว่า เฮโมซีล ( Haemocoel ) พบในสัตว์ในไฟลัม มอลลัสกา ได้แก่ หอย ปลาหมึก และสัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดา ได้แก่ ปู กุ้ง ตะขาบ และแมลง<br />\n    </span><span style=\"font-size: x-small; color: #cc0099; font-family: Tahoma\"> 2. <b>ระบบปิด </b></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b> </b>เป็นระบบที่เลือดไหลไปตามเส้นเลือดผ่านหัวใจครบวงจร ระบบนี้มีเส้นเลือดฝอยเชื่อมโยงระหว่างเส้นเลือดที่พาเลือดออกจากหัวใจ กับเส้นเลือดที่พาเลือดเข้าสู่หัวใจ พบในสัตว์ไฟลัม แอนิลิดา เช่น ไสเดือนดิน และสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา หรือพวกมีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">**<b>เซอร์วิลเลียม ฮาร์วี ( Sir William Harvey ) </b>ชาวอังกฤษเป็นคนแรกที่ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการหมุนเวียนของเลือด และพบว่าเลือดของคนเราไหลไปทางเดียว ไม่มีการไหลสวนทางกัน</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> **<b>มาร์เซลโล มัลพิกิ ( Marcello Malpghi ) </b>เป็นผู้พบเส้นเลือดฝอยเป็นคนแรก</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0033ff\">ระบบหมุนเวียนของเลือดในคน ( ต่อ )</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">     ในร่างกายของมนุษย์ ระบบการหมุนเวียนของเลือดประกอบด้วยหัวใจเป็นอวัยวะสำคัญ ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย โดยมีเส้นเลือดเป็นท่อลำเลียงเลือด ดังนั้นระบบหมุนเวียนเลือดของคนเราจึงประกอบด้วยส่วนสำคัญ  3 ส่วน คือ เลือด  เส้นเลือด  และ หัวใจ</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; color: #cc0000; font-family: Tahoma\"><b>1.  เลือด ( blood )</b></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b>  </b>ในร่างกายของคนเรามีเลือดอยู่ประมาณ 6,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร เลือดประกอบไปด้วยส่วนที่เป็นของเหลว คือ น้ำเลือด ( plasma ) กับส่วนที่เป็นของแข็ง คือ เซลล์เม็ดเลือดแดง  เซลล์เม็ดเลือดขาว และ เกล็ดเลือด<br />\n    1.1  <b>ส่วนที่เป็นของหลว</b>  คือ น้ำเลือดหรือพลาสมา ประกอบด้วยน้ำและสารต่างๆ ซึ่งได้แก่ สารอาหารที่ถูกย่อยแล้ว รวมทั้งวิตามิน  เกลือแร่ ฮอร์โมนและสารอื่นๆที่ละลายน้ำได้ สารเหล่านี้จึงอยู่ในรูปสารละลาย มีประมาณ 50 % ของเลือดทั้งหมด น้ำเลือดทำหน้าที่ลำเลียงอาหารที่ถูกดูดซึมจากลำไส้เล็กไปสู่ส่วนต่างๆของเซลล์ทั่วร่างกายและลำเลียงของเสียที่เป็นของเหลวจากเซลล์ เช่น ยูเรีย มาสู่ไต ซึ่งไตจะสกัดเอาสารยูเรียออกจากเลือดแล้วขับถ่ายออกมาในรูปของปัสสาวะ<br />\n    1.2  <b>ส่วนที่เป็นของแข็ง</b>  มีอยู่ประมาณ 50% ของเลือดทั้งหมด ประกอบด้วย<br />\n       -  เซลล์เม็ดเลือดแดง   ในขณะที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ จะอยู่ในไขกระดูกและมีนิวเคลียส แต่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะเข้าไปอยู่ในกระแสเลือดแล้วนิวเคลียสจะหายไป เม็ดเลือดแดงทำหน้าที่ขนส่งแก๊สออกซิเจน จากปอดไปสู่เซลล์ทั่ร่างกายและขนส่งแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นของเสียที่เกิดจากการสลายอาหารจากเซลล์มาสู่ถุงลมในปอดเพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกายทางลมหายใจออก โดยเฉลี่ยเม็ดเลือดแดงจะมีชีวิตอยู่ในกระแสเลือดประมาณ 90- 120 วัน หลังจากนั้นจะถูกส่งไปทำลายที่ตับและม้าม <br />\n       -  เซลล์เม็ดเลือดขาว  มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง ภายในมีนิวเคลียส ทำหน้าที่ทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย<br />\n       -  เกล็ดเลือด  เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ที่มีรูปร่างเป็นแผ่นเล็กๆปนอยู่ในน้ำเลือด ไม่มีนิวเคลียส มีหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัว เวลาเกิดบาดแผลเล็กๆเกล็ดเลือดจะทำให้เส้นใย ( fibrin ) ปกคลุมบาดแผลทำให้เลือดหยุดไหล เป็นการป้องกันไม่ให้ร่างกายเสียเลือดมากเกินไป เกล็ดเลือดจะมีอายุอยู่ได้ประมาณ 4 วัน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> <img border=\"0\" width=\"332\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/img-system_02-01.jpg\" height=\"452\" /></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #0033ff\">ระบบหมุนเวียนเลือดในคน ( ต่อ )</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">  </span><span style=\"font-size: x-small; color: #cc0099; font-family: Tahoma\">  <b>2. เส้นเลือด ( blood vessels ) </b></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b> </b>เส้นเลือดในร่างกายคนแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ <br />\n  -  เส้นเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจ เรียกว่า อาร์เทอรี ( Artery ) <br />\n  -  เส้นเลือดที่นำเลือดเข้าสู่หัวใจ  เรียกว่า เส้นเวน ( Vein ) <br />\n  - เส้นเลือดฝอย ( Capillaries ) </span></p>\n<p>    <span style=\"font-size: x-small; color: #ff0000; font-family: Tahoma\"><b>เส้นเลือดอาร์เทอรี </b></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><b> </b>เป็นเส้นเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจ มีขนาดต่างๆกัน ขนาดใหญ่คือ <b>เอออร์ตา </b>มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว และขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาประมาณ 0.2 มิลลิเมตร ไม่มีลิ้น เส้นเลือดอาร์เทอรี ประกอบด้วยกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อที่ยืดหยุ่นได้ มีผนังหนา สามารถรับแรงดันเลือด ซึงเป็นแรงดันค่อนข้างสูง อันเป็นผลเนื่องมาจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่าซ้าย ความดันของเลือดจะสูงมากในเส้นเลือดอาร์เทอรีใกล้หัวใจ คือ เส้นเลือดแดงใหญ่ที่สุดที่เรียกว่า <b>เอออร์ตา</b> และค่อยๆลดลงตามลำดับเมื่ออยู่ห่างจากหัวใจไปเรื่อยๆจนถึงอวัยะต่างๆดังนั้นการวัดความดันเลือด เส้นเลือดที่เหมาะสำหรับวัดความดันเลือดคือเส้นอาร์เทอรีที่ต้นแขน  ผู้ใหญ่อายุ 20 - 30 ปี มีความดันเลือดปกติประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท ตัวเลขข้างหน้า ( 120 )หมายถึง ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว เรียกว่าความดันซิสโทลิก ( Systolie pressure ) ตัวเลขข้างหลัง( 80 ) หมายถึงความดันดลหิตของหัวใจคลายตัว เรียกว่า ความดันไดแอสโทลิก ( Diastolie pressure )<br />\nที่เรียกว่า การจับชีพจร ซึ่งชีพจร ( pluse ) หมายถึงอัตราการเต้นของหัวใจ จงหวะการหยืดหยุ่นของเส้นเลือดอาร์เทอรีเป็นไปตามจังหวะการเต้นของหัวใจ สำหรับการเต้นของหัวใจปกติประมาณ 72 ครั้งต่อนาที แต่อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามลักษณะต่างๆ เช่น เพศ วัย อิริยาบท โรคภัยไข้เจ็บ เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> <img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/29341.jpg\" height=\"397\" /></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #ff00cc\">ระบบหมุนเวียนเลือดในคน ( ต่อ )</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">   </span><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff; font-family: Tahoma\"> <b>3. หัวใจ ( heart ) </b></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">หัวใจจะทำหน้าที่สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย โดยจะรับเลือดที่มีออกซิเจนสูงจากปอดเข้าทางหัวใจห้องบนซ้ายผ่านต่อมายังหัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อส่งออกไปยังอวัยวะต่างๆขอองร่างกายและจะรับเลือดที่มีออกซิเจนน้อยจากส่วนต่างๆของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจทางหัวใจห้องบนขวา และผ่านไปยังหัวใจห้องล่างขวาเพื่อส่งไปยังปอด เลือดที่มีออกซิเจนต่ำจะไปยังปอดเพื่อรับออกซิเจนและกลับเข้าสู่หัวใจอีกครั้งหมุนเวียนตลอดเวลาอย่างเป็นระบบ<br />\n    หรือกล่าวได้ว่าเลือดดำ ( เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนต่ำ )จากส่วนต่างๆ ของร่างกายไหลเข้าหัวใจทางหัวใจห้องบนขวาโดยเลือดจากส่วนบนของร่างกายจะเข้าสู่หัวใจทางเส้นเลือดซุปิเรียเวนาคาวาและเลือดจากส่วนล่างของร่างกายจะเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาทางเส้นเลือดอินพีเรียเวนาคาวา จากนั้นหัวใจห้องบนขวาจะหดตัวให้เลือดผ่านลิ้นหัวใจลงสู่หัวใจห้องล่างขวาแล้วหัวใจห้องล่างขวาจะบีบตัวให้เลือดไปเข้าไปในเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรีจากหัวใจไปยังปอด เลือดดำจะผ่านเข้าไปในเส้นเลือดฝอยรอบๆถุงลมปอด แล้วจ่ายคาร์บอนไดออกไซด์ให้กับถุงลมปอดแล้วรับแก๊สออกซิเจนเข้ามาแทนเป็นผลให้เลือดดำกลายเป็นเลือดแดง ( เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสูง ) แล้วไหลออกจากปอดเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายทางเส้นเลือดพัลโมนารีเวนจากนั้นหัวใจห้องบนซ้ายจะบีบเลือดลงไปที่หัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อให้หัวใจห้องล่างซ้ายบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายต่อไป</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> <img border=\"0\" width=\"405\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/bodyheart.jpg\" height=\"325\" /></span>\n</p>\n', created = 1729410861, expire = 1729497261, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:516e3ecda718345bc0086f2cd88e962f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบหมุนเวียนของโลหิต

รูปภาพของ suriyon

     ระบบหมุนเวียนของโลหิต
แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ

    1. ระบบเปิด  เป็นระบบที่เืลือดไม่ได้ไหลไปตามเส้นเลือดตลอดเวลาแต่จะมีเลือดไหลไปตามช่องว่างในลำตัวที่เรียกว่า เฮโมซีล ( Haemocoel ) พบในสัตว์ในไฟลัม มอลลัสกา ได้แก่ หอย ปลาหมึก และสัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโพดา ได้แก่ ปู กุ้ง ตะขาบ และแมลง
    
 2. ระบบปิด  เป็นระบบที่เลือดไหลไปตามเส้นเลือดผ่านหัวใจครบวงจร ระบบนี้มีเส้นเลือดฝอยเชื่อมโยงระหว่างเส้นเลือดที่พาเลือดออกจากหัวใจ กับเส้นเลือดที่พาเลือดเข้าสู่หัวใจ พบในสัตว์ไฟลัม แอนิลิดา เช่น ไสเดือนดิน และสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา หรือพวกมีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

**เซอร์วิลเลียม ฮาร์วี ( Sir William Harvey ) ชาวอังกฤษเป็นคนแรกที่ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการหมุนเวียนของเลือด และพบว่าเลือดของคนเราไหลไปทางเดียว ไม่มีการไหลสวนทางกัน

 **มาร์เซลโล มัลพิกิ ( Marcello Malpghi ) เป็นผู้พบเส้นเลือดฝอยเป็นคนแรก

 

ระบบหมุนเวียนของเลือดในคน ( ต่อ )

     ในร่างกายของมนุษย์ ระบบการหมุนเวียนของเลือดประกอบด้วยหัวใจเป็นอวัยวะสำคัญ ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย โดยมีเส้นเลือดเป็นท่อลำเลียงเลือด ดังนั้นระบบหมุนเวียนเลือดของคนเราจึงประกอบด้วยส่วนสำคัญ  3 ส่วน คือ เลือด  เส้นเลือด  และ หัวใจ

1.  เลือด ( blood )  ในร่างกายของคนเรามีเลือดอยู่ประมาณ 6,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร เลือดประกอบไปด้วยส่วนที่เป็นของเหลว คือ น้ำเลือด ( plasma ) กับส่วนที่เป็นของแข็ง คือ เซลล์เม็ดเลือดแดง  เซลล์เม็ดเลือดขาว และ เกล็ดเลือด
    1.1  ส่วนที่เป็นของหลว  คือ น้ำเลือดหรือพลาสมา ประกอบด้วยน้ำและสารต่างๆ ซึ่งได้แก่ สารอาหารที่ถูกย่อยแล้ว รวมทั้งวิตามิน  เกลือแร่ ฮอร์โมนและสารอื่นๆที่ละลายน้ำได้ สารเหล่านี้จึงอยู่ในรูปสารละลาย มีประมาณ 50 % ของเลือดทั้งหมด น้ำเลือดทำหน้าที่ลำเลียงอาหารที่ถูกดูดซึมจากลำไส้เล็กไปสู่ส่วนต่างๆของเซลล์ทั่วร่างกายและลำเลียงของเสียที่เป็นของเหลวจากเซลล์ เช่น ยูเรีย มาสู่ไต ซึ่งไตจะสกัดเอาสารยูเรียออกจากเลือดแล้วขับถ่ายออกมาในรูปของปัสสาวะ
    1.2  ส่วนที่เป็นของแข็ง  มีอยู่ประมาณ 50% ของเลือดทั้งหมด ประกอบด้วย
       -  เซลล์เม็ดเลือดแดง   ในขณะที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ จะอยู่ในไขกระดูกและมีนิวเคลียส แต่เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่จะเข้าไปอยู่ในกระแสเลือดแล้วนิวเคลียสจะหายไป เม็ดเลือดแดงทำหน้าที่ขนส่งแก๊สออกซิเจน จากปอดไปสู่เซลล์ทั่ร่างกายและขนส่งแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นของเสียที่เกิดจากการสลายอาหารจากเซลล์มาสู่ถุงลมในปอดเพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกายทางลมหายใจออก โดยเฉลี่ยเม็ดเลือดแดงจะมีชีวิตอยู่ในกระแสเลือดประมาณ 90- 120 วัน หลังจากนั้นจะถูกส่งไปทำลายที่ตับและม้าม 
       -  เซลล์เม็ดเลือดขาว  มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง ภายในมีนิวเคลียส ทำหน้าที่ทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
       -  เกล็ดเลือด  เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ที่มีรูปร่างเป็นแผ่นเล็กๆปนอยู่ในน้ำเลือด ไม่มีนิวเคลียส มีหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัว เวลาเกิดบาดแผลเล็กๆเกล็ดเลือดจะทำให้เส้นใย ( fibrin ) ปกคลุมบาดแผลทำให้เลือดหยุดไหล เป็นการป้องกันไม่ให้ร่างกายเสียเลือดมากเกินไป เกล็ดเลือดจะมีอายุอยู่ได้ประมาณ 4 วัน

 

ระบบหมุนเวียนเลือดในคน ( ต่อ )

    2. เส้นเลือด ( blood vessels )  เส้นเลือดในร่างกายคนแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ
  -  เส้นเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจ เรียกว่า อาร์เทอรี ( Artery )
  -  เส้นเลือดที่นำเลือดเข้าสู่หัวใจ  เรียกว่า เส้นเวน ( Vein )
  - เส้นเลือดฝอย ( Capillaries )

    เส้นเลือดอาร์เทอรี  เป็นเส้นเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจ มีขนาดต่างๆกัน ขนาดใหญ่คือ เอออร์ตา มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 นิ้ว และขนาดเล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาประมาณ 0.2 มิลลิเมตร ไม่มีลิ้น เส้นเลือดอาร์เทอรี ประกอบด้วยกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อที่ยืดหยุ่นได้ มีผนังหนา สามารถรับแรงดันเลือด ซึงเป็นแรงดันค่อนข้างสูง อันเป็นผลเนื่องมาจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่าซ้าย ความดันของเลือดจะสูงมากในเส้นเลือดอาร์เทอรีใกล้หัวใจ คือ เส้นเลือดแดงใหญ่ที่สุดที่เรียกว่า เอออร์ตา และค่อยๆลดลงตามลำดับเมื่ออยู่ห่างจากหัวใจไปเรื่อยๆจนถึงอวัยะต่างๆดังนั้นการวัดความดันเลือด เส้นเลือดที่เหมาะสำหรับวัดความดันเลือดคือเส้นอาร์เทอรีที่ต้นแขน  ผู้ใหญ่อายุ 20 - 30 ปี มีความดันเลือดปกติประมาณ 120/80 มิลลิเมตรปรอท ตัวเลขข้างหน้า ( 120 )หมายถึง ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว เรียกว่าความดันซิสโทลิก ( Systolie pressure ) ตัวเลขข้างหลัง( 80 ) หมายถึงความดันดลหิตของหัวใจคลายตัว เรียกว่า ความดันไดแอสโทลิก ( Diastolie pressure )
ที่เรียกว่า การจับชีพจร ซึ่งชีพจร ( pluse ) หมายถึงอัตราการเต้นของหัวใจ จงหวะการหยืดหยุ่นของเส้นเลือดอาร์เทอรีเป็นไปตามจังหวะการเต้นของหัวใจ สำหรับการเต้นของหัวใจปกติประมาณ 72 ครั้งต่อนาที แต่อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามลักษณะต่างๆ เช่น เพศ วัย อิริยาบท โรคภัยไข้เจ็บ เป็นต้น

 

ระบบหมุนเวียนเลือดในคน ( ต่อ )

    3. หัวใจ ( heart ) หัวใจจะทำหน้าที่สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย โดยจะรับเลือดที่มีออกซิเจนสูงจากปอดเข้าทางหัวใจห้องบนซ้ายผ่านต่อมายังหัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อส่งออกไปยังอวัยวะต่างๆขอองร่างกายและจะรับเลือดที่มีออกซิเจนน้อยจากส่วนต่างๆของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจทางหัวใจห้องบนขวา และผ่านไปยังหัวใจห้องล่างขวาเพื่อส่งไปยังปอด เลือดที่มีออกซิเจนต่ำจะไปยังปอดเพื่อรับออกซิเจนและกลับเข้าสู่หัวใจอีกครั้งหมุนเวียนตลอดเวลาอย่างเป็นระบบ
    หรือกล่าวได้ว่าเลือดดำ ( เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนต่ำ )จากส่วนต่างๆ ของร่างกายไหลเข้าหัวใจทางหัวใจห้องบนขวาโดยเลือดจากส่วนบนของร่างกายจะเข้าสู่หัวใจทางเส้นเลือดซุปิเรียเวนาคาวาและเลือดจากส่วนล่างของร่างกายจะเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาทางเส้นเลือดอินพีเรียเวนาคาวา จากนั้นหัวใจห้องบนขวาจะหดตัวให้เลือดผ่านลิ้นหัวใจลงสู่หัวใจห้องล่างขวาแล้วหัวใจห้องล่างขวาจะบีบตัวให้เลือดไปเข้าไปในเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรีจากหัวใจไปยังปอด เลือดดำจะผ่านเข้าไปในเส้นเลือดฝอยรอบๆถุงลมปอด แล้วจ่ายคาร์บอนไดออกไซด์ให้กับถุงลมปอดแล้วรับแก๊สออกซิเจนเข้ามาแทนเป็นผลให้เลือดดำกลายเป็นเลือดแดง ( เลือดที่มีแก๊สออกซิเจนสูง ) แล้วไหลออกจากปอดเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้ายทางเส้นเลือดพัลโมนารีเวนจากนั้นหัวใจห้องบนซ้ายจะบีบเลือดลงไปที่หัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อให้หัวใจห้องล่างซ้ายบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายต่อไป

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 433 คน กำลังออนไลน์