• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6e62cd9fd2164ae03f0d5e32affb0bf3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> </span><span style=\"font-size: small; color: #006600; font-family: Tahoma\"><b>ระบบหายใจ</b></span><span style=\"font-size: x-small\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/84491.gif\" height=\"61\" /></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">     การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องใช้แก๊สออกซิเจน ซึ่งคนเราได้รับแก๊สออกซิเจนจากการหายใจเข้า ถ้าร่างกายขาดแก๊สออกซิเจนไปเพียง 2 - 3 นาที ก็จะทำให้ถึงตายได้</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\">   </span><span style=\"font-size: x-small; color: #0000cc\">  <b>การหายใจ ( Respiration ) </b></span><span style=\"font-size: x-small\"><br />\n    การหายใจ   หมายถึง  การใช้แก๊สออกซิเจนในการเผาผลาญอาหารเพื่อให้ได้พลังงานออกมาใช้ในการดำรงชีวิต<br />\n    การหายใจ  แบ่งออกเป็น 2  แบบ  คือ <br />\n    1.  การหายใจแบบใช้ออกซิเจน ( Aerobic respiration )<br />\n    2.  การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic respiration )<br />\nการหายใจแบบใช้ออกซิเจนจะให้พลังงานมากกว่าแบบที่ไม่ใช้แก๊สออกซิเจนประมาณ 19 เท่า</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><img border=\"0\" width=\"211\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/avaihaijai.gif\" height=\"228\" /></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><b>     </b></span><span style=\"font-size: x-small; color: #0000cc\"><b>การหายใจของคนและสัตว์ชั้นสูง</b></span><span style=\"font-size: x-small\"><br />\nคนเราต้องการพลังงานจึงมีการหายใจแบบใช้ออกซิเจน ผลิตผลที่ได้จากการหายใจแบบนี้ คือ น้ำ  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และพลังงาน<br />\n    การหายใจของคนและสัตส์ชั้นสูง แบ่งออกเป็น 3ขั้นตอน คือ<br />\nขั้นที่ 1   ขั้นตอนการสูดอากาศเข้าปอด</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\">ขั้นที่ 2   ขั้นตอนการแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เส้นเลือดฝอยรอบๆถุงลมปอด</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\">ขั้นที่ 3   ขั้นตอนการทำปฏิกิริยาของแก๊สออกซิเจนกับอาหารภายในเซลล์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> </span><span style=\"font-size: small; color: #cc0099; font-family: Tahoma\"><b>จุดประสงค์ของการหายใจของมนุษย์</b></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"71\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/ANIM017.GIF\" height=\"79\" /></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">1.</span><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff; font-family: Tahoma\"> เพื่อนำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่เซลล์ต่างๆของร่างกาย</span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> สำหรับใช้ในการทำปฏิกิริยาเผาผลาญสารอาหารที่มีอยู่ในเซลล์ เพื่อให้เกิดพลังงาน ในร่างกาย แล้วนำไปใช้ทำกิจกรรมต่างๆ นอกจากนี้ยังมี น้ำ และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดขึ้นในกระบวนการเผาผลาญด้วย<br />\n2. </span><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff; font-family: Tahoma\">เพื่อกำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นจากการเผาผลาญสารอาหาร</span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> สำหรับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์นั้นร่างกายของคนต้องการในปริมาณเล็กน้อย ดั่งนั้นส่วนเกินที่เกิดจากการเผาผลาญอาหารจะถูกขับออกสู่ายนอกร่างกายด้วยการหายใจออก<br />\n    กระบวนการในการนำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่เซลล์ เพื่อใช้ในการทำปฏิกิริยาเผาผลาญสารอาหารและกระบวนการกำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย จะเกิดขึ้นกับเซลล์ทุกเซลล์ของร่างกายตลอดเวลา</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/cute68.gif\" height=\"40\" /> </span><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: Tahoma\"><b>อวัยวะที่ช่วยในการหายใจ</b></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">     อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจของคนเริ่มต้นที่ปาก และ จมูก ไปสู่หลอดลม ซึ่งเป็นท่อกลวงมีกระดูกอ่อนเป็นวงแหวนแทรกอยู่ช่วยให้หลอดลมไม่ยุบหรือแฟบซึ่งเป็นอันตราย ปลายของหลอดลมแตกเป็นสองแขนง เรียกว่า หลอดลมใหญ่เข้าสู่ปอด เมื่อเข้าไปในปอดจะแตกแขนงเล็กๆมากมาย เรียกว่า หลอดลมฝอย ปลายหลอดลมฝอยจะมีถุงเล็กๆ เรียกว่าถุงลม ซึ่งจะมีเส้นเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยง<br />\n    ปอดของคนเราไม่มีกล้ามเนื้อจึงไม่สามารถหดตัวและคลายตัวได้เอง ดังนั้นในการนำเอาอากาศภายนอกเข้าสู่ปอดและขับแก๊สต่างๆ ออกจากปอดต้องอาศัยการทำงานประสานกันของอวัยวะต่างๆเช่น กล้ามเนื้อของกระดูกซี่โครง กล้ามเนื้อกะบังลม</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"341\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/bodyhayjai.jpg\" height=\"336\" /> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small; color: #ff0000; font-family: Tahoma\"><b>การหายใจของมนุษย์ </b><img border=\"0\" width=\"67\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/bounce.gif\" height=\"86\" /> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">     การหายใจ เป็นการรับเอาอากาศจากภยนอกผ่านปากหรือจมูกลงสู่ปอด ป็นการทำงานร่วมกันของกระดูกซี่โครงและกะบังลม ดังนี้</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">     <img border=\"0\" width=\"20\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/aniyellow05_next.gif\" alt=\"aniyellow05_next.gif\" height=\"20\" />  ก<b>ารหายใจเข้า  </b>จะเกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงหดตัวซึ่งจะทำให้ กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น ในขณะเดียวกันกะบังลมก็จะหดตัวและเลื่อนต่ำลง จึงทำให้ปริมาตรของช่องอกมีมากขึ้น ( ช่องอกขยายตัว ) ความดันอากาศลดต่ำลง อากาศจากภายนอกจะผ่านเข้าสู่ปอด </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">     <img border=\"0\" width=\"20\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/aniyellow05_next.gif\" alt=\"aniyellow05_next.gif\" height=\"20\" />  <b>การหายใจออก  </b>จะเกิดหลังจากการหายใจเข้า เนื่องจากกล้ามเนื้อที่ยึดกระดูกซี่โครงมีการคลายตัว จึงทำให้กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง และกะบังลมเลื่อนสูงขึ้น ทำให้ปริมาตรของช่องอกน้อยลง ( ช่องอกหดตัว ) ความดันอากาศในช่องอกสูงขึ้น จึงสามารถดันให้อากาศจากภายในปอดออกจากปอดสู่ภายนอกได้</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"409\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/bodysuangok.jpg\" height=\"242\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; color: #9900cc; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"40\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/kenzero054.gif\" height=\"40\" /> </span><span style=\"font-size: small; color: #9900cc; font-family: Tahoma\"><b>การแลกเปลี่ยนแก๊สที่ถุงลม</b></span><span style=\"font-size: x-small; color: #9900cc; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"40\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/kenzero054.gif\" height=\"40\" /></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">     อากาศเมื่อเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซึ่งมีลักษณะกลมคล้ายลูกองุ่น ซึ่งปอดต่ละข้างจะมีถุงมข้างละ 150 ล้านถุง แต่ะถุงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอันจะมีหลอดเลือดฝอยมาห่อหุ้มไว้ การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้ำ ผ่านเข้าออกถุงลมโดยผ่านเยื่อบางๆของถุงลม<br />\n    เลือดจากหัวใจมาสู่ปอด เป็นเลือดที่มีออกซิเจนต่ำ คาร์บอนไดออกไซด์สูง เมื่อมาสู่ถุงลมจะมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยออกซิเจนในถุงลมจะแพร่เข้าสู่เส้นเลือด ขณะเดียวกันคาร์บอนไดออกไซด์ในเส้นเลือดจะแพร่เข้าสู่ถุงลม แล้วขับออกทางลมหายใจออก</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> <img border=\"0\" width=\"352\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/alveolus.jpg\" height=\"301\" /></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"45\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/kenzero022.gif\" height=\"48\" /> </span><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: Tahoma\"><b>การแลกเปลี่ยนแก๊สที่เซลล์</b></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"45\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/kenzero022.gif\" height=\"48\" /></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\">     เลือดจะเป็นตัวพาแก๊สออกซิเจนและสารอาหารไปสู่เซลล์ทั่วร่างกายเมื่อสารอาหารและแก๊สออกซิเจนเข้าสู่เซลล์จะเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารอาหารและแก๊สออกซิเจน อาหารจะปล่อยพลังงานออกมา กระบวนการนี้เรียกว่า <b>กระบวนการหายใจ</b> ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นอย่างช้าๆ นอกจากพลังงานแล้วยังได้น้ำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นของเสียแพร่เข้าสู่เส้นเลือด เลือดจะพาของเสียเหล่านี้ไปสู่ถุงลมในปอด เพื่อขับถ่ายออกมาทางลมหายใจออกต่อไป</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Tahoma\"> <img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/library/sema/sukhothai/lamphu_s/bodysystem/picture/c74.jpg\" height=\"608\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1729411144, expire = 1729497544, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6e62cd9fd2164ae03f0d5e32affb0bf3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบหายใจ

รูปภาพของ suriyon

 ระบบหายใจ

     การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องใช้แก๊สออกซิเจน ซึ่งคนเราได้รับแก๊สออกซิเจนจากการหายใจเข้า ถ้าร่างกายขาดแก๊สออกซิเจนไปเพียง 2 - 3 นาที ก็จะทำให้ถึงตายได้

     การหายใจ ( Respiration )
    การหายใจ   หมายถึง  การใช้แก๊สออกซิเจนในการเผาผลาญอาหารเพื่อให้ได้พลังงานออกมาใช้ในการดำรงชีวิต
    การหายใจ  แบ่งออกเป็น 2  แบบ  คือ
    1.  การหายใจแบบใช้ออกซิเจน ( Aerobic respiration )
    2.  การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน ( Anaerobic respiration )
การหายใจแบบใช้ออกซิเจนจะให้พลังงานมากกว่าแบบที่ไม่ใช้แก๊สออกซิเจนประมาณ 19 เท่า

     การหายใจของคนและสัตว์ชั้นสูง
คนเราต้องการพลังงานจึงมีการหายใจแบบใช้ออกซิเจน ผลิตผลที่ได้จากการหายใจแบบนี้ คือ น้ำ  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และพลังงาน
    การหายใจของคนและสัตส์ชั้นสูง แบ่งออกเป็น 3ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1   ขั้นตอนการสูดอากาศเข้าปอด

ขั้นที่ 2   ขั้นตอนการแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เส้นเลือดฝอยรอบๆถุงลมปอด

ขั้นที่ 3   ขั้นตอนการทำปฏิกิริยาของแก๊สออกซิเจนกับอาหารภายในเซลล์

 จุดประสงค์ของการหายใจของมนุษย์

1. เพื่อนำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่เซลล์ต่างๆของร่างกาย สำหรับใช้ในการทำปฏิกิริยาเผาผลาญสารอาหารที่มีอยู่ในเซลล์ เพื่อให้เกิดพลังงาน ในร่างกาย แล้วนำไปใช้ทำกิจกรรมต่างๆ นอกจากนี้ยังมี น้ำ และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดขึ้นในกระบวนการเผาผลาญด้วย
2.
เพื่อกำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นจากการเผาผลาญสารอาหาร สำหรับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์นั้นร่างกายของคนต้องการในปริมาณเล็กน้อย ดั่งนั้นส่วนเกินที่เกิดจากการเผาผลาญอาหารจะถูกขับออกสู่ายนอกร่างกายด้วยการหายใจออก
    กระบวนการในการนำแก๊สออกซิเจนเข้าสู่เซลล์ เพื่อใช้ในการทำปฏิกิริยาเผาผลาญสารอาหารและกระบวนการกำจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย จะเกิดขึ้นกับเซลล์ทุกเซลล์ของร่างกายตลอดเวลา

 อวัยวะที่ช่วยในการหายใจ

     อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจของคนเริ่มต้นที่ปาก และ จมูก ไปสู่หลอดลม ซึ่งเป็นท่อกลวงมีกระดูกอ่อนเป็นวงแหวนแทรกอยู่ช่วยให้หลอดลมไม่ยุบหรือแฟบซึ่งเป็นอันตราย ปลายของหลอดลมแตกเป็นสองแขนง เรียกว่า หลอดลมใหญ่เข้าสู่ปอด เมื่อเข้าไปในปอดจะแตกแขนงเล็กๆมากมาย เรียกว่า หลอดลมฝอย ปลายหลอดลมฝอยจะมีถุงเล็กๆ เรียกว่าถุงลม ซึ่งจะมีเส้นเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยง
    ปอดของคนเราไม่มีกล้ามเนื้อจึงไม่สามารถหดตัวและคลายตัวได้เอง ดังนั้นในการนำเอาอากาศภายนอกเข้าสู่ปอดและขับแก๊สต่างๆ ออกจากปอดต้องอาศัยการทำงานประสานกันของอวัยวะต่างๆเช่น กล้ามเนื้อของกระดูกซี่โครง กล้ามเนื้อกะบังลม

 

การหายใจของมนุษย์  

     การหายใจ เป็นการรับเอาอากาศจากภยนอกผ่านปากหรือจมูกลงสู่ปอด ป็นการทำงานร่วมกันของกระดูกซี่โครงและกะบังลม ดังนี้

     aniyellow05_next.gif  การหายใจเข้า  จะเกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงหดตัวซึ่งจะทำให้ กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น ในขณะเดียวกันกะบังลมก็จะหดตัวและเลื่อนต่ำลง จึงทำให้ปริมาตรของช่องอกมีมากขึ้น ( ช่องอกขยายตัว ) ความดันอากาศลดต่ำลง อากาศจากภายนอกจะผ่านเข้าสู่ปอด

     aniyellow05_next.gif  การหายใจออก  จะเกิดหลังจากการหายใจเข้า เนื่องจากกล้ามเนื้อที่ยึดกระดูกซี่โครงมีการคลายตัว จึงทำให้กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง และกะบังลมเลื่อนสูงขึ้น ทำให้ปริมาตรของช่องอกน้อยลง ( ช่องอกหดตัว ) ความดันอากาศในช่องอกสูงขึ้น จึงสามารถดันให้อากาศจากภายในปอดออกจากปอดสู่ภายนอกได้

 

 การแลกเปลี่ยนแก๊สที่ถุงลม

     อากาศเมื่อเข้าสู่ปอดจะไปอยู่ในถุงลม ซึ่งมีลักษณะกลมคล้ายลูกองุ่น ซึ่งปอดต่ละข้างจะมีถุงมข้างละ 150 ล้านถุง แต่ะถุงมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ถึง 0.1 มิลลิเมตร ถุงลมทุกอันจะมีหลอดเลือดฝอยมาห่อหุ้มไว้ การแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน ไนโตรเจน และไอน้ำ ผ่านเข้าออกถุงลมโดยผ่านเยื่อบางๆของถุงลม
    เลือดจากหัวใจมาสู่ปอด เป็นเลือดที่มีออกซิเจนต่ำ คาร์บอนไดออกไซด์สูง เมื่อมาสู่ถุงลมจะมีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยออกซิเจนในถุงลมจะแพร่เข้าสู่เส้นเลือด ขณะเดียวกันคาร์บอนไดออกไซด์ในเส้นเลือดจะแพร่เข้าสู่ถุงลม แล้วขับออกทางลมหายใจออก

 

 การแลกเปลี่ยนแก๊สที่เซลล์

     เลือดจะเป็นตัวพาแก๊สออกซิเจนและสารอาหารไปสู่เซลล์ทั่วร่างกายเมื่อสารอาหารและแก๊สออกซิเจนเข้าสู่เซลล์จะเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารอาหารและแก๊สออกซิเจน อาหารจะปล่อยพลังงานออกมา กระบวนการนี้เรียกว่า กระบวนการหายใจ ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นอย่างช้าๆ นอกจากพลังงานแล้วยังได้น้ำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นของเสียแพร่เข้าสู่เส้นเลือด เลือดจะพาของเสียเหล่านี้ไปสู่ถุงลมในปอด เพื่อขับถ่ายออกมาทางลมหายใจออกต่อไป

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 418 คน กำลังออนไลน์