• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7bb635cf02ac06376d25796e1b819010' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nไวรัสคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p>\n<b>ไวรัสคอมพิวเตอร์</b> (computer virus) หรือเรียกสั้นว่า <b>ไวรัส</b> คือ <a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"โปรแกรมคอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โปรแกรมคอมพิวเตอร์</span></u></a>ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่อง<a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"คอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">คอมพิวเตอร์</span></u></a>โดยไม่ได้รับความยินยอมจาก<a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ผู้ใช้ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ผู้ใช้</span></u></a> ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ\n</p>\n<p>\n<span id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4\" class=\"mw-headline\">ประวัติ</span>\n</p>\n<p>\nในปี <a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2505\" title=\"พ.ศ. 2505\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2505</span></u></a> (ค.ศ. 1962) ทีมวิศวกรของ Bell Telephone Laboratories ได้สร้างเกมชื่อว่า &quot;Darwin&quot; ถือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกที่มีรูปแบบของไวรัส โดยฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำ เกมนี้ใช้คำศัพท์บางอย่างที่มีคำว่า &quot;supervisor&quot; มีลักษณะที่กำหนดกฎเกณฑ์การต่อสู้ระหว่างผู้เข้าแข่งขัน โปรแกรม Darwin นี้มีความสามารถที่จะวิจัยสภาพแวดล้อมของมัน ทำสำเนา และทำลายตัวเองได้ จุดประสงค์หลักของเกมนี้ก็คือลบโปรแกรมทั้งหมดที่คู่แข่งเขียนและครอบครองสนามรบ\n</p>\n<p>\nต้นปี <a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2513\" title=\"พ.ศ. 2513\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2513</span></u></a> (ค.ศ. 1970) มีการตรวจพบไวรัส Creeper ในเครือข่าย APRAnet ของทหารอเมริกา ถือเป็นต้นแบบไวรัสคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โปรแกรม Creeper สามารถเข้าครอบครองเครือข่ายผ่านโมเด็มและส่งสำเนาตัวเองไปที่ฝั่ง remote ไวรัสนี้ทำให้คนรู้ว่าติดไวรัสด้วยการ broadcast ข้อความ &quot;I\'M THE CREEPER ... CATCH ME IF YOU CAN&quot;\n</p>\n<p>\n  <span id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.80.E0.B8.A0.E0.B8.97.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA.E0.B8.84.E0.B8.AD.E0.B8.A1.E0.B8.9E.E0.B8.B4.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.95.E0.B8.AD.E0.B8.A3.E0.B9.8C\" class=\"mw-headline\">ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์</span>\n</p>\n<h3><span class=\"editsection\">[<a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;section=3\" title=\"แก้ไขส่วน: บูตไวรัส\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แก้</span></u></a>]</span> <span id=\".E0.B8.9A.E0.B8.B9.E0.B8.95.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA\" class=\"mw-headline\">บูตไวรัส</span></h3>\n<p>\n<b>บูตไวรัส</b> (boot virus) คือ<b>ไวรัสคอมพิวเตอร์</b>ที่แพร่เข้าสู่เป้าหมายในระหว่างเริ่มทำการบูตเครื่อง ส่วนมาก มันจะติดต่อเข้าสู่แผ่นฟลอปปี้ดิสก์ระหว่างกำลังสั่งปิดเครื่อง เมื่อนำแผ่นที่ติดไวรัสนี้ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ไวรัสก็จะเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ตอนเริ่มทำงานทันที\n</p>\n<p>\nบูตไวรัสจะติดต่อเข้าไปอยู่ส่วนหัวสุดของฮาร์ดดิสก์ ที่มาสเตอร์บูตเรคคอร์ด (master boot record) และก็จะโหลดตัวเองเข้าไปสู่หน่วยความจำก่อนที่ระบบปฏิบัติการจะเริ่มทำงาน ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น\n</p>\n<h3><span class=\"editsection\">[<a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;section=4\" title=\"แก้ไขส่วน: ไฟล์ไวรัส\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แก้</span></u></a>]</span> <span id=\".E0.B9.84.E0.B8.9F.E0.B8.A5.E0.B9.8C.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA\" class=\"mw-headline\">ไฟล์ไวรัส</span></h3>\n<p>\n<b>ไฟล์ไวรัส</b> (file virus) ใช้เรียกไวรัสที่ติดไฟล์โปรแกรม เช่นโปรแกรมที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต นามสกุล.exe โปรแกรมประเภทแชร์แวร์เป็นต้น\n</p>\n<h3><span class=\"editsection\">[<a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;section=5\" title=\"แก้ไขส่วน: มาโครไวรัส\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แก้</span></u></a>]</span> <span id=\".E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B9.82.E0.B8.84.E0.B8.A3.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA\" class=\"mw-headline\">มาโครไวรัส</span></h3>\n<p>\n<b>มาโครไวรัส</b> (macro virus) คือไวรัสที่ติดไฟล์เอกสารชนิดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถในการใส่คำสั่งมาโครสำหรับทำงานอัตโนมัติในไฟล์เอกสารด้วย ตัวอย่างเอกสารที่สามารถติดไวรัสได้ เช่น ไฟล์ไมโครซอฟท์เวิร์ด ไมโครซอฟท์เอ็กเซล เป็นต้น\n</p>\n<h3><span class=\"editsection\">[<a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;section=6\" title=\"แก้ไขส่วน: อื่นๆ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แก้</span></u></a>]</span> <span id=\".E0.B8.AD.E0.B8.B7.E0.B9.88.E0.B8.99.E0.B9.86\" class=\"mw-headline\">อื่นๆ</span></h3>\n<h4><span class=\"editsection\">[<a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;section=7\" title=\"แก้ไขส่วน: โทรจัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แก้</span></u></a>]</span> <span id=\".E0.B9.82.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.88.E0.B8.B1.E0.B8.99\" class=\"mw-headline\">โทรจัน</span></h4>\n<p>\n<b>ม้าโทรจัน</b> (Trojan) คือโปรแกรมจำพวกหนึ่งที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแอบแฝง กระทำการบางอย่าง ในเครื่องของเรา จากผู้ที่ไม่หวังดี ชื่อเรียกของโปรแกรมจำพวกนี้ มาจากตำนานของม้าไม้แห่งเมืองทรอยนั่นเอง ซึ่งการติดนั้น ไม่เหมือนกับไวรัส และหนอน ที่จะกระจายตัวได้ด้วยตัวมันเอง แต่<a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99_(%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C)\" title=\"โทรจัน (คอมพิวเตอร์)\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โทรจัน (คอมพิวเตอร์)</span></u></a>จะถูกแนบมากับ อีการ์ด อีเมล์ หรือโปรแกรมที่มีให้ดาวน์โหลดตามอินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ใต้ดิน และสุดท้ายที่มันต่างกับไวรัสและเวิร์ม คือ มันจะสามารถเข้ามาในเครื่องของเรา โดยที่เราเป็นผู้รับมันมาโดยไม่รู้ตัวนั่นเอง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h1 id=\"firstHeading\" class=\"firstHeading\">โปรแกรมป้องกันไวรัส</h1>\n<div id=\"bodyContent\">\n<h3 id=\"siteSub\">จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี</h3>\n<div id=\"contentSub\">\n</div>\n<div id=\"jump-to-nav\">\nไปที่: <a href=\"#column-one\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ป้ายบอกทาง</span></u></a>, <a href=\"#searchInput\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ค้นหา</span></u></a>\n</div>\n<!-- start content --><!-- start content --><table class=\"noprint metadata plainlinks ambox ambox-content\">\n<tbody>\n<tr>\n<td class=\"mbox-image\">\n<div style=\"width: 52px\">\n <a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Check-Reference.svg\" class=\"image\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><img width=\"50\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/3/34/Check-Reference.svg/50px-Check-Reference.svg.png\" alt=\"Check-Reference.svg\" height=\"50\" /></span></u></a>\n </div>\n</td>\n<td class=\"mbox-text\"><b>บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญ</b> โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน<a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%A2:%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA\" title=\"พูดคุย:โปรแกรมป้องกันไวรัส\"><u><span style=\"color: #0000ff\">หน้าอภิปราย</span></u></a> หากคุณมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ คุณสามารถช่วยปรับปรุงเนื้อหาได้ทันที โดยการกด <i>แก้ไข</i> ด้านบน ซึ่งเมื่อตรวจสอบและแก้ไขแล้วให้นำป้ายนี้ออก</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<table class=\"noprint metadata plainlinks ambox ambox-style\">\n<tbody>\n<tr>\n<td class=\"mbox-image\">\n<div style=\"width: 52px\">\n <a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Broom_icon.svg\" title=\"ไอคอนไม้กวาด\" class=\"image\"><img width=\"50\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/2c/Broom_icon.svg/50px-Broom_icon.svg.png\" alt=\"ไอคอนไม้กวาด\" height=\"50\" /></a>\n </div>\n</td>\n<td class=\"mbox-text\"><b>บทความนี้ต้องการ <a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89:%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"วิธีใช้:การแก้ไขหน้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">การจัดหน้า</span></u></a> <a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B9%88\" title=\"วิกิพีเดีย:การจัดหมวดหมู่\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">การจัดหมวดหมู่</span></u></a> และ<a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B9%8C\" title=\"วิกิพีเดีย:หน่วยเก็บกวาดเฉพาะกิจ/ตัวอย่างการใส่ลิงก์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ใส่ลิงก์ภายใน</span></u></a></b> เพื่อให้<a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B6%E0%B9%89%E0%B8%99\" title=\"วิกิพีเดีย:แนวทางในการเขียนบทความให้ดียิ่งขึ้น\"><u><span style=\"color: #0000ff\">บทความมีคุณภาพดียิ่งขึ้น</span></u></a> คุณสามารถ<a rel=\"nofollow\" href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA&amp;action=edit\" class=\"external text\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ปรับปรุงแก้ไข</span></u></a>บทความนี้ได้ และนำป้ายออก หรือใช้<a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1#.E0.B8.82.E0.B8.B1.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B8.AA.E0.B8.AD.E0.B8.87_.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.9A.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B8.E0.B8.87.E0.B8.9A.E0.B8.97.E0.B8.84.E0.B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B9.84.E0.B8.94.E0.B9.89.E0.B8.95.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B8.90.E0.B8.B2.E0.B8.99\" title=\"วิกิพีเดีย:ตรวจสอบบทความ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ป้ายข้อความอื่น</span></u></a>ระบุสิ่งที่ต้องแก้ไขให้เจาะจง</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n<b>โปรแกรมป้องกันไวรัส</b> (<a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9\" title=\"ภาษาอังกฤษ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อังกฤษ</span></u></a>: <span xml:lang=\"en\" lang=\"en\">Antivirus software</span>) หรือในวงการเรียกว่า <b>แอนติไวรัส/แอนติสปายแวร์</b> (Anti-Virus/Anti-Spyware) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อป้องกันและกำจัด<a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"ไวรัสคอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ไวรัสคอมพิวเตอร์</span></u></a>(ต่อจากนี้จะเรียกว่าไวรัส) จากผู้ไม่หวังดีทาง<a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B9%87%E0%B8%95\" title=\"อินเทอร์เน็ต\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อินเทอร์เน็ต</span></u></a>\n</p>\n<p>\nโปรแกรมป้องกันไวรัสมี 2 แบบใหญ่ๆ\n</p>\n<ol>\n<li>แอนติไวรัส เป็นโปรแกรมโปรแกรมป้องกันไวรัสทั่วๆไป จะค้นหาและทำลายไวรัสในคอมพิวเตอร์ของเรา </li>\n<li>แอนติสปายแวร์ เป็นโปรแกรมป้องกันการโจรกรรมข้อมูล จากไวรัสสปายแวร์ และจาก<a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AE%E0%B9%87%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"แฮ็คเกอร์\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แฮ็คเกอร์</span></u></a> รวมถึงการกำจัด Adware ซึ่งเป็นป๊อปอัพโฆษณาอีกด้วย </li>\n</ol>\n<p>\nโปรแกรมป้องกันไวรัสจะค้นหาและทำลายไวรัสที่ไฟล์โดยตรง แต่ในทุกๆวันจะมีไวรัสชนิดใหม่เกิดขึ้นมาเสมอ ทำให้เราต้องอัปเดตโปรแกรมป้องกันไวรัสตลอดเวลาเพื่อให้<a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"คอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">คอมพิวเตอร์</span></u></a>ของเราปลอดภัย โดยแอนติไวรัสจะมีหลายรูปแบบตาม<a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%97\" title=\"บริษัท\"><u><span style=\"color: #0000ff\">บริษัท</span></u></a>กันไปและแต่ละบริษัทจะมีการอัปเดตและการป้องกันไม่เหมือนกัน แต่ในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวไม่ควรมีแอนติไวรัส 2 โปรแกรมเพราะจะทำให้<a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1\" title=\"โปรแกรม\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โปรแกรม</span></u></a>ขัดแย้งกันเองจนไม่สามารถใช้งานได้\n</p>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h1>วิธีป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์</h1>\n<div class=\"div_content\">\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">          แม้ว่าจะมีไวรัสหลายพันชนิด แต่ไวรัสส่วนใหญ่อยู่ในห้องทดลองคอมพิวเตอร์ มีไวรัสเพียงประมาณ 500 กว่าชนิดที่ยังอาละวาดอยู่ และส่วนใหญ่ไวรัสเหล่านี้แทบจะไม่มีอันตรายต่อคอมพิวเตอร์และข้อมูล เพียงแต่อาจจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานช้าลงด้วยการแย่งใช้หน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม มีวิธีง่ายๆที่จะช่วยป้องกันเครื่องคอมพิวเตอร์และข้อมูลจากไวรัส </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">ใช้โปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัส (anti-virus) อย่างไรก็ตามไม่มีโปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัส โปรแกรมใดสมบูรณ์แบบ การเตือนที่ผิดพลาดว่ามีไวรัสก่อให้เกิดความรำคาญพอๆกับตัวไวรัสเอง อย่าลืมว่าจะต้อง update โปรแกรมที่ใช้ตรวจจับและกำจัดไวรัสอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ครอบคลุมถึงไวรัสชนิดใหม่ๆ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">scan ทุกไฟล์บนดิสเกตต์และ CD-ROM ก่อน นำลง hard disk </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">scan ทุกไฟล์ที่ download มาจาก internet </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">scan ไฟล์หรือโปรแกรมที่ติดมากับ e-mail ก่อนที่จะเปิดอ่านหรือเก็บลงบน hard disk </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">เก็บเอกสารในรูปของ ASCII Text Mode หรือ Rich Text Format (RTF) โดยเฉพาะเอกสารที่ใช้ ร่วมกันบน network ทั้งสอง format จะไม่ save ส่วนที่เป็น macro ลงพร้อมกับเอกสารด้วยซึ่งทำให้ ปลอดภัยจาก macro viruses </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">back up ข้อมูลและโปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างสม่ำเสมอ และที่สำคัญอย่าเก็บ back up ไว้ใน hard disk อันเดียวกันกับข้อมูลและโปรแกรมจริง </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">สาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส                               <a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.fm100cmu.com/blog/ITWave/uploads/pic-virus.jpg&amp;imgrefurl=http://www.fm100cmu.com/blog/ITWave/content.php%3Fid%3D266&amp;usg=__9tb87StpX6YQw9RFrSx5dDACL68=&amp;h=338&amp;w=450&amp;sz=30&amp;hl=th&amp;start=1&amp;um=1&amp;itbs=1&amp;tbnid=8Zct8ivgAA32iM:&amp;tbnh=95&amp;tbnw=127&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%258C%26hl%3Dth%26sa%3DN%26um%3D1\" id=\"apf0\"><img width=\"127\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:8Zct8ivgAA32iM:http://www.fm100cmu.com/blog/ITWave/uploads/pic-virus.jpg\" height=\"95\" style=\"vertical-align: bottom; width: 88px; height: 73px; border: 1px solid\" id=\"ipf8Zct8ivgAA32iM:\" /></a></span> </li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small; color: #696969; font-family: MS Sans Serif\">เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น </span></li>\n</ul>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1718644739, expire = 1718731139, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7bb635cf02ac06376d25796e1b819010' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไวรัสคอมพิวเตอร์

รูปภาพของ skk06574

ไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) หรือเรียกสั้นว่า ไวรัส คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ

ประวัติ

ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ทีมวิศวกรของ Bell Telephone Laboratories ได้สร้างเกมชื่อว่า "Darwin" ถือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกที่มีรูปแบบของไวรัส โดยฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำ เกมนี้ใช้คำศัพท์บางอย่างที่มีคำว่า "supervisor" มีลักษณะที่กำหนดกฎเกณฑ์การต่อสู้ระหว่างผู้เข้าแข่งขัน โปรแกรม Darwin นี้มีความสามารถที่จะวิจัยสภาพแวดล้อมของมัน ทำสำเนา และทำลายตัวเองได้ จุดประสงค์หลักของเกมนี้ก็คือลบโปรแกรมทั้งหมดที่คู่แข่งเขียนและครอบครองสนามรบ

ต้นปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) มีการตรวจพบไวรัส Creeper ในเครือข่าย APRAnet ของทหารอเมริกา ถือเป็นต้นแบบไวรัสคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โปรแกรม Creeper สามารถเข้าครอบครองเครือข่ายผ่านโมเด็มและส่งสำเนาตัวเองไปที่ฝั่ง remote ไวรัสนี้ทำให้คนรู้ว่าติดไวรัสด้วยการ broadcast ข้อความ "I'M THE CREEPER ... CATCH ME IF YOU CAN"

  ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์

[แก้] บูตไวรัส

บูตไวรัส (boot virus) คือไวรัสคอมพิวเตอร์ที่แพร่เข้าสู่เป้าหมายในระหว่างเริ่มทำการบูตเครื่อง ส่วนมาก มันจะติดต่อเข้าสู่แผ่นฟลอปปี้ดิสก์ระหว่างกำลังสั่งปิดเครื่อง เมื่อนำแผ่นที่ติดไวรัสนี้ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ไวรัสก็จะเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ตอนเริ่มทำงานทันที

บูตไวรัสจะติดต่อเข้าไปอยู่ส่วนหัวสุดของฮาร์ดดิสก์ ที่มาสเตอร์บูตเรคคอร์ด (master boot record) และก็จะโหลดตัวเองเข้าไปสู่หน่วยความจำก่อนที่ระบบปฏิบัติการจะเริ่มทำงาน ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น

[แก้] ไฟล์ไวรัส

ไฟล์ไวรัส (file virus) ใช้เรียกไวรัสที่ติดไฟล์โปรแกรม เช่นโปรแกรมที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต นามสกุล.exe โปรแกรมประเภทแชร์แวร์เป็นต้น

[แก้] มาโครไวรัส

มาโครไวรัส (macro virus) คือไวรัสที่ติดไฟล์เอกสารชนิดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถในการใส่คำสั่งมาโครสำหรับทำงานอัตโนมัติในไฟล์เอกสารด้วย ตัวอย่างเอกสารที่สามารถติดไวรัสได้ เช่น ไฟล์ไมโครซอฟท์เวิร์ด ไมโครซอฟท์เอ็กเซล เป็นต้น

[แก้] อื่นๆ

[แก้] โทรจัน

ม้าโทรจัน (Trojan) คือโปรแกรมจำพวกหนึ่งที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแอบแฝง กระทำการบางอย่าง ในเครื่องของเรา จากผู้ที่ไม่หวังดี ชื่อเรียกของโปรแกรมจำพวกนี้ มาจากตำนานของม้าไม้แห่งเมืองทรอยนั่นเอง ซึ่งการติดนั้น ไม่เหมือนกับไวรัส และหนอน ที่จะกระจายตัวได้ด้วยตัวมันเอง แต่โทรจัน (คอมพิวเตอร์)จะถูกแนบมากับ อีการ์ด อีเมล์ หรือโปรแกรมที่มีให้ดาวน์โหลดตามอินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ใต้ดิน และสุดท้ายที่มันต่างกับไวรัสและเวิร์ม คือ มันจะสามารถเข้ามาในเครื่องของเรา โดยที่เราเป็นผู้รับมันมาโดยไม่รู้ตัวนั่นเอง

 

โปรแกรมป้องกันไวรัส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โปรแกรมป้องกันไวรัส (อังกฤษ: Antivirus software) หรือในวงการเรียกว่า แอนติไวรัส/แอนติสปายแวร์ (Anti-Virus/Anti-Spyware) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อป้องกันและกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์(ต่อจากนี้จะเรียกว่าไวรัส) จากผู้ไม่หวังดีทางอินเทอร์เน็ต

โปรแกรมป้องกันไวรัสมี 2 แบบใหญ่ๆ

  1. แอนติไวรัส เป็นโปรแกรมโปรแกรมป้องกันไวรัสทั่วๆไป จะค้นหาและทำลายไวรัสในคอมพิวเตอร์ของเรา
  2. แอนติสปายแวร์ เป็นโปรแกรมป้องกันการโจรกรรมข้อมูล จากไวรัสสปายแวร์ และจากแฮ็คเกอร์ รวมถึงการกำจัด Adware ซึ่งเป็นป๊อปอัพโฆษณาอีกด้วย

โปรแกรมป้องกันไวรัสจะค้นหาและทำลายไวรัสที่ไฟล์โดยตรง แต่ในทุกๆวันจะมีไวรัสชนิดใหม่เกิดขึ้นมาเสมอ ทำให้เราต้องอัปเดตโปรแกรมป้องกันไวรัสตลอดเวลาเพื่อให้คอมพิวเตอร์ของเราปลอดภัย โดยแอนติไวรัสจะมีหลายรูปแบบตามบริษัทกันไปและแต่ละบริษัทจะมีการอัปเดตและการป้องกันไม่เหมือนกัน แต่ในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวไม่ควรมีแอนติไวรัส 2 โปรแกรมเพราะจะทำให้โปรแกรมขัดแย้งกันเองจนไม่สามารถใช้งานได้

 

วิธีป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์

          แม้ว่าจะมีไวรัสหลายพันชนิด แต่ไวรัสส่วนใหญ่อยู่ในห้องทดลองคอมพิวเตอร์ มีไวรัสเพียงประมาณ 500 กว่าชนิดที่ยังอาละวาดอยู่ และส่วนใหญ่ไวรัสเหล่านี้แทบจะไม่มีอันตรายต่อคอมพิวเตอร์และข้อมูล เพียงแต่อาจจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานช้าลงด้วยการแย่งใช้หน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม มีวิธีง่ายๆที่จะช่วยป้องกันเครื่องคอมพิวเตอร์และข้อมูลจากไวรัส

  • ใช้โปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัส (anti-virus) อย่างไรก็ตามไม่มีโปรแกรมตรวจจับและกำจัดไวรัส โปรแกรมใดสมบูรณ์แบบ การเตือนที่ผิดพลาดว่ามีไวรัสก่อให้เกิดความรำคาญพอๆกับตัวไวรัสเอง อย่าลืมว่าจะต้อง update โปรแกรมที่ใช้ตรวจจับและกำจัดไวรัสอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ครอบคลุมถึงไวรัสชนิดใหม่ๆ
  • scan ทุกไฟล์บนดิสเกตต์และ CD-ROM ก่อน นำลง hard disk
  • scan ทุกไฟล์ที่ download มาจาก internet
  • scan ไฟล์หรือโปรแกรมที่ติดมากับ e-mail ก่อนที่จะเปิดอ่านหรือเก็บลงบน hard disk
  • เก็บเอกสารในรูปของ ASCII Text Mode หรือ Rich Text Format (RTF) โดยเฉพาะเอกสารที่ใช้ ร่วมกันบน network ทั้งสอง format จะไม่ save ส่วนที่เป็น macro ลงพร้อมกับเอกสารด้วยซึ่งทำให้ ปลอดภัยจาก macro viruses
  • back up ข้อมูลและโปรแกรมบนเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างสม่ำเสมอ และที่สำคัญอย่าเก็บ back up ไว้ใน hard disk อันเดียวกันกับข้อมูลและโปรแกรมจริง
  • สำหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
  • ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
  • อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
  • สาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
  • เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
  • เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
  • เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส                              
  • เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สำหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทำงานได้
  • เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 512 คน กำลังออนไลน์