• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a42682a659f966bdee72113727c52208' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 24pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสคอมพิวเตอร์</span></b><b><span style=\"font-size: 24pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #658253; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">     ไวรัสคอมพิวเตอร์ (</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #658253; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Computer virus) <span lang=\"TH\">หรือเรียกสั้นๆ ในวงการว่า ไวรัส คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: #658253; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><img width=\"278\" src=\"http://www.tricast.tv/event_image/12-Apr-07_12-25-55_16561.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 167px; height: 165px\" id=\"imgb\" /> <img width=\"300\" src=\"http://www.thainetsecurity.com/news_img/021.jpg\" height=\"225\" style=\"width: 199px; height: 173px\" id=\"imgb\" /><img width=\"274\" src=\"http://www.it-instructor.com/images/8_1_111.gif\" height=\"209\" style=\"width: 251px; height: 209px\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><u><span style=\"font-size: 20pt; color: #00b0f0; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></u></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><u><span style=\"font-size: 20pt; color: #00b0f0; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></u></b>\n</p>\n<p><b><u><span style=\"font-size: 20pt; color: #00b0f0; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประวัติของไวรัสคอมพิวเตอร์<span>    </span></span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 22pt; color: #00b0f0; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 22pt; color: #00b0f0; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></u></b><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span>โปรแกรมที่สามารถสำเนาตัวเองได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">2526 <span lang=\"TH\">โดย ดร.เฟรดเดอริก โคเฮน นักวิจัยของมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา ได้ทำการศึกษาโปรแกรมลักษณะนี้และได้ตั้งชื่อว่า &quot;ไวรัส&quot; แต่ไวรัสที่แพร่ระบาดและสร้างความเสียหายให้กับคอมพิวเตอร์ตามที่มีการบันทึกไว้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. </span>2529 <span lang=\"TH\">ด้วยผลงานของไวรัสที่มีชื่อ &quot;เบรน(</span>Brain)&quot; <span lang=\"TH\">ซึ่งเขียนขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์สองพี่น้องชาวปากีสถาน ชื่อ อัมจาด (</span>Amjad) <span lang=\"TH\">และ เบซิท(</span>Basit) <span lang=\"TH\">เพื่อป้องกันการคัดลอกทำสำเนาโปรแกรมของพวกเขาโดยไม่จ่ายเงิน</span><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ในปี พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">2505 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1969) <span lang=\"TH\">ทีมวิศวกรของ </span>Bell Telephone Laboratories <span lang=\"TH\">ได้สร้างเกมชื่อว่า &quot;</span>Darwin&quot; <span lang=\"TH\">ถือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกที่มีรูปแบบของไวรัส โดยฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำ เกมนี้ใช้คำศัพท์บางอย่างที่มีคำว่า &quot;</span>supervisor&quot; <span lang=\"TH\">มีลักษณะที่กำหนดกฎเกณฑ์การต่อสู้ระหว่างผู้เข้าแข่งขัน โปรแกรม </span>Darwin <span lang=\"TH\">นี้มีความสามารถที่จะวิจัยสภาพแวดล้อมของมัน ทำสำเนา และทำลายตัวเองได้ จุดประสงค์หลักของเกมนี้ก็คือลบโปรแกรมทั้งหมดที่คู่แข่งเขียนและครอบครองสนามรบ</span></span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ต้นปี พ.ศ. </span>2513 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1970) <span lang=\"TH\">มีการตรวจพบไวรัส </span>Creeper <span lang=\"TH\">ในเครือข่าย </span>APRAnet <span lang=\"TH\">ของทหารอเมริกา ถือเป็นต้นแบบไวรัสคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โปรแกรม </span>Creeper <span lang=\"TH\">สามารถเข้าครอบครองเครือข่ายผ่านโมเด็มและส่งสำเนาตัวเองไปที่ฝั่ง </span>remote <span lang=\"TH\">ไวรัสนี้ทำให้คนรู้ว่าติดไวรัสด้วยการ </span>broadcast <span lang=\"TH\">ข้อความ &quot;</span>I\'M THE CREEPER ... CATCH ME IF YOU CAN&quot;</p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2517 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1974) <span lang=\"TH\">โปรแกรมชื่อ &quot;</span>Rabbit&quot; <span lang=\"TH\">โผล่ขึ้นมาบนเครื่องเมนเฟรมที่เรียกชื่อนี้เพราะมันไม่ได้ทำอะไรนอกจากสำเนาตัวเองอย่างรวดเร็วไปในระบบเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ </span>Rabbit <span lang=\"TH\">นี้ได้ดึงทรัพยากรของระบบมาใช้อย่างมาก ทำให้การทำงานกระทบอย่างรุนแรงจนอาจทำให้ระบบทำงานผิดพลาดได้</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2525 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1982) <span lang=\"TH\">มีการตรวจพบไวรัสชื่อ &quot;</span>Elk Cloner&quot; <span lang=\"TH\">นั้นเป็นคอมพิวเตอร์ไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรก ซึ่งแพร่กระจาย คือในวงที่กว้างออกไปกว่าภายในห้องทดลองที่สร้างโปรแกรม โปรแกรมนี้ถูกเขียนขึ้นโดย</span> Rich Skrenta <span lang=\"TH\">โดยไวรัสนี้จะติดไปกับระบบปฏิบัติการ </span>Apple DOS 3.3 <span lang=\"TH\">ผ่านทาง </span>boot sector <span lang=\"TH\">ของฟล็อปปี้ดิสก์ ณ เวลานั้นผลของมันทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางคนนึกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เกิดจากมนุษย์ต่างดาว เพราะทำให้การแสดงภาพที่จอกลับหัว</span>, <span lang=\"TH\">ทำตัวอักษรกระพริบ</span>, <span lang=\"TH\">ขึ้นข้อความต่างๆออกมา</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2526 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1983) Len Adleman <span lang=\"TH\">แห่งมหาวิทยาลัย </span>Lehigh <span lang=\"TH\">ตั้งคำว่า &quot;</span>Virus&quot; <span lang=\"TH\">ว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำสำเนาตัวเองได้ และในปีถัดมาใน </span>Information security conference <span lang=\"TH\">ครั้งที่ </span>7 Fred Cohen <span lang=\"TH\">ได้ให้คำจำกัดความของคำ &quot;</span>computer virus&quot; <span lang=\"TH\">ว่าเป็นโปรแกรมที่สามารถติดต่อไปยังโปรแกรมอื่นโดยการแก้ไขโปรแกรมเดิมเพื่อแพร่ขยายตัวเอง</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. </span>2526 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1983) Fred Cohen <span lang=\"TH\">บิดาแห่งไวรัสศาสตร์ (</span>Virology) <span lang=\"TH\">ได้ใช้คอมพิวเตอร์ </span>VAX 11/750 <span lang=\"TH\">สาธิตว่าโปรแกรมไวรัสสามารถฝังตัวเข้าไปใน </span>object <span lang=\"TH\">อื่นได้</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2529 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1986) <span lang=\"TH\">ไวรัสตัวคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ สร้างโดยโปรแกรมเมอร์อายุ </span>19 <span lang=\"TH\">ปี ชาวปากีสถาน ชื่อ </span>Basit Farooq <span lang=\"TH\">และพี่ชายชื่อ </span>Amjad <span lang=\"TH\">เรียกชื่อ &quot;</span>Brain&quot; <span lang=\"TH\">ที่มีเป้าไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ </span>IBM Compatible <span lang=\"TH\">ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการรู้ระดับของซอฟต์แวร์เถื่อนในประเทศตัวเอง แต่โชคไม่ดีที่การทดลองนี้หลุดออกมานอกประเทศ</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2529 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1986) <span lang=\"TH\">โปรแกรมเมอร์ชาวเยอรมันชื่อ </span>Ralf Burger <span lang=\"TH\">พบวิธีตรวจจับโปรแกรมที่ </span>copy <span lang=\"TH\">ตัวเองโดยการเพิ่ม </span>code <span lang=\"TH\">บางตัวเข้าไปใน ไฟล์ </span>COM version <span lang=\"TH\">ที่ใช้ทดลองชื่อ </span>Virdem <span lang=\"TH\">ถูกนำมาแสดงในเดือนธันวาคม ที่ </span>Hamburg <span lang=\"TH\">เป็น </span>forum <span lang=\"TH\">ที่เหล่า </span>hacker <span lang=\"TH\">ที่ชำนาญในการ</span> crack <span lang=\"TH\">ระบบ </span>VAX/VMS <span lang=\"TH\">มารวมตัวกันชื่อ &quot;</span>Chaos Computer Club&quot;</p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2530 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1987) <span lang=\"TH\">เกิดไวรัสระบาดที่ เวียนนา เป็นไวรัสที่ทำลายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรกที่ทำงานเต็มระบบ ส่งผลกระทบไปเกือบทั่วโลก ที่มาของไวรัสนี้เป็นประเด็นถกเถียงกันมาก เพราะคนที่อ้างว่าเป็นคนเขียนคือ </span>Franz Svoboda <span lang=\"TH\">แต่เมื่อสืบไปจึงพบว่าเขารับมาจาก</span> Ralf Burger <span lang=\"TH\">ซึ่งก็อ้างว่ารับมาจาก </span>Svoboda <span lang=\"TH\">เดิมชื่อไวรัสคือ &quot;</span>lovechild&quot; <span lang=\"TH\">แต่เพราะไม่สามารถหาคนให้กำเนิดได้จึงถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า &quot;</span>orphan&quot; (<span lang=\"TH\">ลูกกำพร้า)</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2530 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1987) <span lang=\"TH\">เดือนธันวาคม เกิดการระบาดใต้ดินครั้งแรกในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชื่อ &quot;</span>Christmas Three&quot; <span lang=\"TH\">วันที่ </span>9 <span lang=\"TH\">ไวรัสหลุดมาจาก เครือข่าย </span>Bitnet <span lang=\"TH\">ของมหาวิทยาลัย </span>Western University <span lang=\"TH\">ประเทศเยอรมนี ทะลุเขาไปใน </span>European Acadamic Research Network (EARN) <span lang=\"TH\">และเข้าไป เครือข่าย</span> IBM-Vnet <span lang=\"TH\">เป็นเวลา </span>4 <span lang=\"TH\">วัน เครื่องที่ติดไวรัสจะแสดงผลที่หน้าจอเป็นรูปต้นคริสมาสต์ และส่งไปให้ผู้ใช้อื่นๆในเครือข่าย</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2531 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1988) Peter Norton programmer <span lang=\"TH\">ที่มีชื่อเสียง ผู้ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท </span>Symantec <span lang=\"TH\">ได้ออกมาประกาศว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องไร้สาระ โดยเปรียบว่าเป็นแค่จระเข้ที่อยู่ในท่อระบายน้ำเสียในนิวยอร์ก แต่ในที่สุดเขาเป็นผู้ที่ได้เริ่มต้น </span>project Norton-AntiVirus</p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2531 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1988) <span lang=\"TH\">วันที่ </span>22 <span lang=\"TH\">เดือนเมษายน เกิด </span>forum <span lang=\"TH\">ที่ถกกันเรื่อง </span>security threat <span lang=\"TH\">เป็นครั้งแรก ชื่อ </span>Virus-L host <span lang=\"TH\">ไว้ที่ </span>Usebet <span lang=\"TH\">สร้างโดย </span>Ken Van Wyk <span lang=\"TH\">เพื่อร่วมงานของ </span>Fred Cohen <span lang=\"TH\">ที่มหาวิทยาลัย </span>Lehigh</p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2531 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1988) <span lang=\"TH\">เดือนตุลาคม มีการแพร่ข่าวไวรัสชื่อ </span>Mr. &quot;Rochenle&quot; <span lang=\"TH\">อย่างมากเป็นไวรัสประเภทหลอกลวง</span> (HOAX) <span lang=\"TH\">เป็นตัวแรก อ้างถึงชื่อบุคคลที่ไม่มีตัวตนชื่อ </span>Mike RoChenle (&quot;Microchannel&quot;) <span lang=\"TH\">อ้างว่าไวรัสนี้สามารถส่งตัวเองไประหว่างโมเด็มด้วยความเร็ว </span>2400 bps <span lang=\"TH\">ทำให้ความเร็วโมเด็มลดลงเหลือ </span>1200 bps <span lang=\"TH\">และได้อธิบายวิธีการแก้ไขที่ไม่ได้มีผลอะไร แต่มีคนหลงเชื่อทำตามกันอย่างมากมาย</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ปี พ.ศ. </span>2531 (<span lang=\"TH\">ค.ศ. </span>1988) <span lang=\"TH\">เดือนพฤศจิกายน มีหนอนเครือข่ายชื่อ &quot;</span>Morris&quot; <span lang=\"TH\">ระบาดอย่างหนักทำให้คอมพิวเตอร์กว่า</span> 6000 <span lang=\"TH\">เครื่องในอเมริการวมทั้งใน ศูนย์วิจัยของ </span>NASA <span lang=\"TH\">ติดไปด้วย ส่งผลกระทบให้การปฏิบัติงานหยุดโดยสิ้นเชิง เหตุเนื่องจากมี </span>error <span lang=\"TH\">ใน </span>code <span lang=\"TH\">ของ</span> Morris <span lang=\"TH\">ทำให้มัน </span>copy <span lang=\"TH\">ตัวเองไปที่เครือข่ายอื่นอย่างไม่จำกัดทำให้เครือข่ายรับไม่ไหว การระบาดครั้งนั้นทำให้สูญเสียเป็นมูลค่ากว่า </span>96 <span lang=\"TH\">ล้านเหรียญสหรัฐ</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span> <b><u><span style=\"font-size: 22pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์</span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 22pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></u></b><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เราสามารถแบ่งไวรัสที่มีอยู่มากกว่าแปดพันชนิด ตามลักษณะแหล่งที่อยู่ และการฝังตัวของมันได้ดังนี้</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">1.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสที่ฝังตัวอยู่ตามบูตเซ็กเตอร์ของแผ่นดิสก์และตารางพาร์ติชัน</span></b><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ทุกครั่งทีทำการเปิดเครื่อง ระบบจัดการของคอมพิวเตอร์จะอ่านข้อมูลจากบูตเซ็กเตอร์ และโหลดเข้าไปในหน่วยความจำก่อน เสมอ ทำให้ไวรัสประเภทนี้ถูกโหลดไปหลบซ่อนในหน่วยความจำเพื่อรจังหวะแพร่กระจายต่อไปยังแผ่นดิสก์</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสประเภท ไม่สามารถทำลายได้โดยการเปิดเครื่องใหม่ เพราะมันจะเริ่มอยู่ในหน่วยความจำตั้งแต่เปิดเครื่อง และจะเมทำงานตลอดเวลานับจากนั้น</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">2.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสที่เกาะตามไฟล์</span></b><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ส่วนมากจะเกาะติดไฟล์ที่มีสกุล </span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">.COM </span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และ </span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">.EXE </span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คือเมื่อมีการใช้งานโปรแกรม </span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">.COM .EXE </span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสประเภทนี้จะแยกตัวไปซ่อนอยู่ในหน่วยความจำ แล้วหาทางเกาะติดไฟล์ที่มีนามสกุลดังกล่าว ที่เก็บไว้ในแผ่นดิสก์</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">3.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสที่ฝังตัวอยู่ในไฟล</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">์ </span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">COMMAND.COM</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไฟล์นี้เป็น ไฟล์ คำสั่งพื้นฐานที่มีอยู่ในระบบปฏิบัติการ เช่น เมื่อไปใช้งานในโหมด </span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">DOS Prompt <span lang=\"TH\">แล้วไฟล์คำสั่ง </span>COMMAND <span lang=\"TH\">จะทำหน้าที่แปลคำสั่งนั้นให้เป็นภาษาเครื่องเข้าใจ เช่น คำสั่ง </span>DEL,REN,DIR,COPY <span lang=\"TH\">เป็นต้น จากการที่ไฟล์นี้ทำงานบ่อย ๆ นี่เอง ทำให้กระจายไปได้อย่างกว้างขวาง ทำลายยากกว่าไวรัสประเภทแรก</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">4.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสที่แฝงตัวอยู่ในหน่วยความจำ</span></b><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสประเภทนี้จะฝังติดอยู่ในหน่วยความจำ และรอจนกว่าจะเป็นไปตามเงื่อนไขที่เหมาะสมของสภาพแวดล้อม ไวรัสนี้ก็จะเริ่มทำงานทันที</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">5.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: fuchsia; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสประเภททำลายเฉพาะไฟล์</span></b><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไวรัสประเภทนี้เกาะติดไฟล์โปรแกรมไปเรื่อย ๆ และเมื่อพบไฟล์ที่ต้องการก็จะเริ่มทำงานไม่ว่าจะเป็นการแก้ไข การทำลาย การเคลื่อนย้าย เป็นไวรัสที่ร้ายแรงต่อเศรษฐกิจมากกว่าไวรัสประเภทอื่น ๆ กว่าจะพิสูจน์ได้ว่าติดไวรัสแล้ว ข้อมูลที่สำคัญของผู้ใช้ก็อาจหายไปหมดแล้ว</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><img width=\"372\" src=\"http://www.thaicert.org/images/services/virus-worm1.jpg\" height=\"231\" style=\"width: 264px; height: 167px\" id=\"imgb\" /><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><img width=\"440\" src=\"http://tactics4all.files.wordpress.com/2008/12/20070319_antivirus.jpg\" height=\"304\" style=\"width: 209px; height: 161px\" id=\"imgb\" /></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span> <b><u><span style=\"font-size: 22pt; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์</span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 22pt; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></u></b><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">1.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">2.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">1 <span lang=\"TH\">ครั้ง</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">3.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">4.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">5.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">6.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Write Protect )</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">7.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">8.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่าง</span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><br />\n <span lang=\"TH\">ใกล้ชิด</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span><span style=\"color: #000000\">9.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม </span><span style=\"font-size: 16pt; color: navy; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">SCAN <span lang=\"TH\">ของบริษัท </span>McAfee Associates <span lang=\"TH\">รุ่น </span>V.2.5.1 <span lang=\"TH\">หรือ</span> Norton Antivirus</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><b><u><span style=\"font-size: 22pt; color: #ffc000; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">โปรแกรมที่ป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์<o:p></o:p></span></u></b><b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://www.khonkaentoday.com/board/index.php?PHPSESSID=4bca91a55aa7a75aaeb7d05073c0303f&amp;topic=933.msg1176#msg1176\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">โปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ชื่อดัง</span> AVG Anti-Virus Free Edition</span></u></a></span></b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span> </span></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">AVG Anti-Virus Free Edition  : <span lang=\"TH\">เป็นอีกหนึ่งโปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ชื่อดังของโลกนะครับซึ่งเจ้าตัว </span>AVG <span lang=\"TH\">นอกจากจะมีดีเพราะความ ฟรี ของมันแล้ว มันยังมีความสามารถป้องกันไวรัสได้ดีไม่แพ้ของที่เสียตังค์แต่อย่างใด มีการ </span>Update <span lang=\"TH\">ข้อมูลไวรัสอย่างรวดเร็ว แถมยังไม่หน่วงเครื่องของคุณอีกต่างหากแถมยังมีฟังก์ชั่น</span> Real-time protection <span lang=\"TH\">เปรียบเสมือนยามค่อยเฝ้ามองไวรัสอยู่ตลอดเวลา ทั้งดีทั้งฟรีอย่างนี้ไม่ลองแล้วจะเสียใจครับ ผมเองก็ใช้แถม </span>Free <span lang=\"TH\">อีกต่างหาก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"><img border=\"0\" src=\"http://www.khonkaentoday.com/pics/pics/6d3fe0dbf4a7c2f9d4cef95c28f2e8f1.jpg\" /></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #0033ff; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">NOD32 Antivirus System (<span lang=\"TH\">โปรแกรม กำจัดไวรัส ที่สามารถอัพเดทข้อมูลไวรัสตัวใหม่ได้แบบอัตโนมัติตลอดเวลา และยังใช้เวลาในการอัพเดทน้อยมาก) :</span></span></strong><span style=\"font-size: 16pt\" lang=\"TH\"> ด้วยความสามารถของ </span><span style=\"font-size: 16pt\">NOD32 <span lang=\"TH\">สำหรับ </span>Windows <span lang=\"TH\">ที่จะปกป้องคุ้มครองคอมพิวเตอร์ที่บ้านของคุณ </span>, <span lang=\"TH\">คุณจะไม่ต้องกังวลกับไวรัสที่น่ารำคาญอย่าง </span>Netsky , Mydoom <span lang=\"TH\">และ </span>Lovebug <span lang=\"TH\">อีกต่อไป</span> NOD32 <span lang=\"TH\">จะปกป้องคุณ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt\">NOD32 <span lang=\"TH\">ใช้งานได้ง่ายและให้ความปลอดภัยระดับองค์กรที่บ้านของท่าน หลังจากที่ติดตั้งเสร็จสิ้น </span>AMON <span lang=\"TH\">ผู้ดูแลตรวจสอบระบบตลอดเวลา จะทำงานอยู่ด้านหลัง ช่วยให้คอมพิวเตอร์ของคุณปลอดภัย </span>IMON <span lang=\"TH\">ผู้ดูและตรวจสอบอีเมล์ จะสแกนทุกๆเมล์ที่คุณรับ และตรวจหาไวรัสและทำการกำจัดก่อนที่ไวรัสจะมีโอกาสเข้ามาและทำร้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ และเมื่อมีการอัปเดทใหม่ๆเข้ามา </span>, NOD32 <span lang=\"TH\">จะทำการอัปเดทโดยอัตโนมัติ ให้คุณมั่นใจว่าคุณจะมีฐานข้อมูลไวรัสล่าสุด ...</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt\">NOD32 <span lang=\"TH\">สำหรับ </span>Windows <span lang=\"TH\">ได้มอบการป้องกันไวรัสชั้นยอดให้กับผู้ใช้ทั่วไป และไฟล์เซิรฟ์เวอร์. </span>NOD32 <span lang=\"TH\">สำหรับ </span>Windows <span lang=\"TH\">จะดูแลระบบไฟล์ทั้งหมดอยู่ตลอดเวลา และสแกนอีเมล์ที่ติดไวรัสก่อนที่เข้ามาในระบบ และยังใช้ </span>Advanced Heuristics <span lang=\"TH\">ซึ่งทำให้ </span>NOD32 <span lang=\"TH\">สามารถตรวจจับไวรัสและหยุดการทำงานของไวรัสพวกนั้นก่อนที่จะมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับไวรัสตัวนั้นออกมา</span><o:p></o:p></span><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ในขณะนี้ </span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">, NOD32 <span lang=\"TH\">ถือเป็นผู้นำในการได้รับรางวัลการตรวจจับได้ </span>100 % <span lang=\"TH\">มากกว่าระบบป้องกันไวรัสอื่น.</span></span></strong><b><span style=\"font-size: 16pt; color: #ff6600\"><br />\n</span></b><span style=\"font-size: 16pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">กว่า </span>6 <span lang=\"TH\">ปีที่ </span>NOD32 <span lang=\"TH\">ไม่พลาดการตรวจจับไวรัส </span>In-The-Wild <span lang=\"TH\">แม้แต่ตัวเดียวในการทดสอบของ </span>Virus Bulletin ... <o:p></o:p></span></span></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<img width=\"561\" src=\"http://xtreview.com/images/antivirus-2006-chart/NOD32-Antivirus-System-2.5-3.jpg\" height=\"389\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><u><span style=\"font-size: 22pt; color: #e36c0a; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">แหล่งที่มาของข้อมูล<o:p></o:p></span></u></b><span style=\"font-size: 18pt; color: #403152; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/com_11.htm\"><span style=\"color: #403152\"><u>http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it<span lang=\"TH\">01/</span>com_<span lang=\"TH\">11.</span>htm</u></span></a><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #403152; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://www.sci.nu.ac.th/information-it/index.php?topic=135.0\"><span style=\"color: #403152\"><u>http://www.sci.nu.ac.th/information-it/index.php?topic=<span lang=\"TH\">135.0</span></u></span></a><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #403152; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://www.khonkaentoday.com/board/index.php?topic=933.0\"><span style=\"color: #403152\"><u>http://www.khonkaentoday.com/board/index.php?topic=<span lang=\"TH\">933.0</span></u></span></a><o:p></o:p></span><strong><span style=\"font-weight: normal; font-size: 18pt; color: #403152; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><u>http://www.thaiware.com/main/info.php?id=5734<o:p></o:p></u></span></strong><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><o:p> </o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1718647150, expire = 1718733550, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a42682a659f966bdee72113727c52208' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไวรัสคอมพิวเตอร์

รูปภาพของ skk05753

ไวรัสคอมพิวเตอร์

     ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer virus) หรือเรียกสั้นๆ ในวงการว่า ไวรัส คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ

 

ประวัติของไวรัสคอมพิวเตอร์       โปรแกรมที่สามารถสำเนาตัวเองได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2526 โดย ดร.เฟรดเดอริก โคเฮน นักวิจัยของมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา ได้ทำการศึกษาโปรแกรมลักษณะนี้และได้ตั้งชื่อว่า "ไวรัส" แต่ไวรัสที่แพร่ระบาดและสร้างความเสียหายให้กับคอมพิวเตอร์ตามที่มีการบันทึกไว้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 ด้วยผลงานของไวรัสที่มีชื่อ "เบรน(Brain)" ซึ่งเขียนขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์สองพี่น้องชาวปากีสถาน ชื่อ อัมจาด (Amjad) และ เบซิท(Basit) เพื่อป้องกันการคัดลอกทำสำเนาโปรแกรมของพวกเขาโดยไม่จ่ายเงิน

ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1969) ทีมวิศวกรของ Bell Telephone Laboratories ได้สร้างเกมชื่อว่า "Darwin" ถือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกที่มีรูปแบบของไวรัส โดยฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำ เกมนี้ใช้คำศัพท์บางอย่างที่มีคำว่า "supervisor" มีลักษณะที่กำหนดกฎเกณฑ์การต่อสู้ระหว่างผู้เข้าแข่งขัน โปรแกรม Darwin นี้มีความสามารถที่จะวิจัยสภาพแวดล้อมของมัน ทำสำเนา และทำลายตัวเองได้ จุดประสงค์หลักของเกมนี้ก็คือลบโปรแกรมทั้งหมดที่คู่แข่งเขียนและครอบครองสนามรบ

ต้นปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) มีการตรวจพบไวรัส Creeper ในเครือข่าย APRAnet ของทหารอเมริกา ถือเป็นต้นแบบไวรัสคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โปรแกรม Creeper สามารถเข้าครอบครองเครือข่ายผ่านโมเด็มและส่งสำเนาตัวเองไปที่ฝั่ง remote ไวรัสนี้ทำให้คนรู้ว่าติดไวรัสด้วยการ broadcast ข้อความ "I'M THE CREEPER ... CATCH ME IF YOU CAN"

ปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) โปรแกรมชื่อ "Rabbit" โผล่ขึ้นมาบนเครื่องเมนเฟรมที่เรียกชื่อนี้เพราะมันไม่ได้ทำอะไรนอกจากสำเนาตัวเองอย่างรวดเร็วไปในระบบเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ Rabbit นี้ได้ดึงทรัพยากรของระบบมาใช้อย่างมาก ทำให้การทำงานกระทบอย่างรุนแรงจนอาจทำให้ระบบทำงานผิดพลาดได้

ปี พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) มีการตรวจพบไวรัสชื่อ "Elk Cloner" นั้นเป็นคอมพิวเตอร์ไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรก ซึ่งแพร่กระจาย คือในวงที่กว้างออกไปกว่าภายในห้องทดลองที่สร้างโปรแกรม โปรแกรมนี้ถูกเขียนขึ้นโดย Rich Skrenta โดยไวรัสนี้จะติดไปกับระบบปฏิบัติการ Apple DOS 3.3 ผ่านทาง boot sector ของฟล็อปปี้ดิสก์ ณ เวลานั้นผลของมันทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางคนนึกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เกิดจากมนุษย์ต่างดาว เพราะทำให้การแสดงภาพที่จอกลับหัว, ทำตัวอักษรกระพริบ, ขึ้นข้อความต่างๆออกมา

ปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) Len Adleman แห่งมหาวิทยาลัย Lehigh ตั้งคำว่า "Virus" ว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำสำเนาตัวเองได้ และในปีถัดมาใน Information security conference ครั้งที่ 7 Fred Cohen ได้ให้คำจำกัดความของคำ "computer virus" ว่าเป็นโปรแกรมที่สามารถติดต่อไปยังโปรแกรมอื่นโดยการแก้ไขโปรแกรมเดิมเพื่อแพร่ขยายตัวเอง

เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) Fred Cohen บิดาแห่งไวรัสศาสตร์ (Virology) ได้ใช้คอมพิวเตอร์ VAX 11/750 สาธิตว่าโปรแกรมไวรัสสามารถฝังตัวเข้าไปใน object อื่นได้

ปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) ไวรัสตัวคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ สร้างโดยโปรแกรมเมอร์อายุ 19 ปี ชาวปากีสถาน ชื่อ Basit Farooq และพี่ชายชื่อ Amjad เรียกชื่อ "Brain" ที่มีเป้าไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM Compatible ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการรู้ระดับของซอฟต์แวร์เถื่อนในประเทศตัวเอง แต่โชคไม่ดีที่การทดลองนี้หลุดออกมานอกประเทศ

ปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) โปรแกรมเมอร์ชาวเยอรมันชื่อ Ralf Burger พบวิธีตรวจจับโปรแกรมที่ copy ตัวเองโดยการเพิ่ม code บางตัวเข้าไปใน ไฟล์ COM version ที่ใช้ทดลองชื่อ Virdem ถูกนำมาแสดงในเดือนธันวาคม ที่ Hamburg เป็น forum ที่เหล่า hacker ที่ชำนาญในการ crack ระบบ VAX/VMS มารวมตัวกันชื่อ "Chaos Computer Club"

ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เกิดไวรัสระบาดที่ เวียนนา เป็นไวรัสที่ทำลายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรกที่ทำงานเต็มระบบ ส่งผลกระทบไปเกือบทั่วโลก ที่มาของไวรัสนี้เป็นประเด็นถกเถียงกันมาก เพราะคนที่อ้างว่าเป็นคนเขียนคือ Franz Svoboda แต่เมื่อสืบไปจึงพบว่าเขารับมาจาก Ralf Burger ซึ่งก็อ้างว่ารับมาจาก Svoboda เดิมชื่อไวรัสคือ "lovechild" แต่เพราะไม่สามารถหาคนให้กำเนิดได้จึงถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "orphan" (ลูกกำพร้า)

ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เดือนธันวาคม เกิดการระบาดใต้ดินครั้งแรกในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชื่อ "Christmas Three" วันที่ 9 ไวรัสหลุดมาจาก เครือข่าย Bitnet ของมหาวิทยาลัย Western University ประเทศเยอรมนี ทะลุเขาไปใน European Acadamic Research Network (EARN) และเข้าไป เครือข่าย IBM-Vnet เป็นเวลา 4 วัน เครื่องที่ติดไวรัสจะแสดงผลที่หน้าจอเป็นรูปต้นคริสมาสต์ และส่งไปให้ผู้ใช้อื่นๆในเครือข่าย

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) Peter Norton programmer ที่มีชื่อเสียง ผู้ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท Symantec ได้ออกมาประกาศว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องไร้สาระ โดยเปรียบว่าเป็นแค่จระเข้ที่อยู่ในท่อระบายน้ำเสียในนิวยอร์ก แต่ในที่สุดเขาเป็นผู้ที่ได้เริ่มต้น project Norton-AntiVirus

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) วันที่ 22 เดือนเมษายน เกิด forum ที่ถกกันเรื่อง security threat เป็นครั้งแรก ชื่อ Virus-L host ไว้ที่ Usebet สร้างโดย Ken Van Wyk เพื่อร่วมงานของ Fred Cohen ที่มหาวิทยาลัย Lehigh

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนตุลาคม มีการแพร่ข่าวไวรัสชื่อ Mr. "Rochenle" อย่างมากเป็นไวรัสประเภทหลอกลวง (HOAX) เป็นตัวแรก อ้างถึงชื่อบุคคลที่ไม่มีตัวตนชื่อ Mike RoChenle ("Microchannel") อ้างว่าไวรัสนี้สามารถส่งตัวเองไประหว่างโมเด็มด้วยความเร็ว 2400 bps ทำให้ความเร็วโมเด็มลดลงเหลือ 1200 bps และได้อธิบายวิธีการแก้ไขที่ไม่ได้มีผลอะไร แต่มีคนหลงเชื่อทำตามกันอย่างมากมาย

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนพฤศจิกายน มีหนอนเครือข่ายชื่อ "Morris" ระบาดอย่างหนักทำให้คอมพิวเตอร์กว่า 6000 เครื่องในอเมริการวมทั้งใน ศูนย์วิจัยของ NASA ติดไปด้วย ส่งผลกระทบให้การปฏิบัติงานหยุดโดยสิ้นเชิง เหตุเนื่องจากมี error ใน code ของ Morris ทำให้มัน copy ตัวเองไปที่เครือข่ายอื่นอย่างไม่จำกัดทำให้เครือข่ายรับไม่ไหว การระบาดครั้งนั้นทำให้สูญเสียเป็นมูลค่ากว่า 96 ล้านเหรียญสหรัฐ

 ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์เราสามารถแบ่งไวรัสที่มีอยู่มากกว่าแปดพันชนิด ตามลักษณะแหล่งที่อยู่ และการฝังตัวของมันได้ดังนี้1.             ไวรัสที่ฝังตัวอยู่ตามบูตเซ็กเตอร์ของแผ่นดิสก์และตารางพาร์ติชัน ทุกครั่งทีทำการเปิดเครื่อง ระบบจัดการของคอมพิวเตอร์จะอ่านข้อมูลจากบูตเซ็กเตอร์ และโหลดเข้าไปในหน่วยความจำก่อน เสมอ ทำให้ไวรัสประเภทนี้ถูกโหลดไปหลบซ่อนในหน่วยความจำเพื่อรจังหวะแพร่กระจายต่อไปยังแผ่นดิสก์ไวรัสประเภท ไม่สามารถทำลายได้โดยการเปิดเครื่องใหม่ เพราะมันจะเริ่มอยู่ในหน่วยความจำตั้งแต่เปิดเครื่อง และจะเมทำงานตลอดเวลานับจากนั้น2.             ไวรัสที่เกาะตามไฟล์ ส่วนมากจะเกาะติดไฟล์ที่มีสกุล .COM และ .EXE คือเมื่อมีการใช้งานโปรแกรม .COM .EXE ไวรัสประเภทนี้จะแยกตัวไปซ่อนอยู่ในหน่วยความจำ แล้วหาทางเกาะติดไฟล์ที่มีนามสกุลดังกล่าว ที่เก็บไว้ในแผ่นดิสก์3.             ไวรัสที่ฝังตัวอยู่ในไฟลCOMMAND.COM ไฟล์นี้เป็น ไฟล์ คำสั่งพื้นฐานที่มีอยู่ในระบบปฏิบัติการ เช่น เมื่อไปใช้งานในโหมด DOS Prompt แล้วไฟล์คำสั่ง COMMAND จะทำหน้าที่แปลคำสั่งนั้นให้เป็นภาษาเครื่องเข้าใจ เช่น คำสั่ง DEL,REN,DIR,COPY เป็นต้น จากการที่ไฟล์นี้ทำงานบ่อย ๆ นี่เอง ทำให้กระจายไปได้อย่างกว้างขวาง ทำลายยากกว่าไวรัสประเภทแรก4.             ไวรัสที่แฝงตัวอยู่ในหน่วยความจำ ไวรัสประเภทนี้จะฝังติดอยู่ในหน่วยความจำ และรอจนกว่าจะเป็นไปตามเงื่อนไขที่เหมาะสมของสภาพแวดล้อม ไวรัสนี้ก็จะเริ่มทำงานทันที5.             ไวรัสประเภททำลายเฉพาะไฟล์

ไวรัสประเภทนี้เกาะติดไฟล์โปรแกรมไปเรื่อย ๆ และเมื่อพบไฟล์ที่ต้องการก็จะเริ่มทำงานไม่ว่าจะเป็นการแก้ไข การทำลาย การเคลื่อนย้าย เป็นไวรัสที่ร้ายแรงต่อเศรษฐกิจมากกว่าไวรัสประเภทอื่น ๆ กว่าจะพิสูจน์ได้ว่าติดไวรัสแล้ว ข้อมูลที่สำคัญของผู้ใช้ก็อาจหายไปหมดแล้ว

 การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์มีเทคนิคอยู่มากมายหลายวิธี ดังนี้1.             ทุกครั้งที่นำซอฟแวร์ที่ไม่ทราบแหล่งที่ผลิต หรือได้รับแจกฟรี ต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนนำไปใช้ 2.             ควรตรวจสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง 3.             เตรียมแผ่นที่สะอาดไว้สำหรับบูตเครื่องเมื่อคราวจำเป็น 4.             ควรสำรองข้อมูลไว้เสมอ 5.             พยายามสังเกตุสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องอย่างสม่ำเสมอ เช่น การทำงานที่ช้าลง ขนาดไฟล์ หน้าจอแสดงผลแปลก ๆ ไดรฟ์มีเสียงผิดปกติ 6.             ไม่นำแผ่นดิสก์ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ถ้ายังไม่ได้ปิดแถบป้องกันการบันทึก (Write Protect ) 7.             ควรแยกแผ่นโปรแกรม และแผ่นข้อมูลออกจากกันโดยเด็ดขาด 8.             ไม่อนุญาตให้คนอื่นมาเล่นเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน โดยปราศจากการควบคุมอย่าง
 ใกล้ชิด
9.             ควรมีโปรแกรมป้องกันไวรัสไว้ใช้ตรวจสอบและป้องกัน โดยเฉพาะโปรแกรมป้องกันไวรัสรุ่นใหม่ ๆ จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันได้ดีขึ้นมาก ในที่นี้จะขอแนะนำโปรแกรม SCAN ของบริษัท McAfee Associates รุ่น V.2.5.1 หรือ Norton Antivirus  โปรแกรมที่ป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์โปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ชื่อดัง AVG Anti-Virus Free Edition

AVG Anti-Virus Free Edition  : เป็นอีกหนึ่งโปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ชื่อดังของโลกนะครับซึ่งเจ้าตัว AVG นอกจากจะมีดีเพราะความ ฟรี ของมันแล้ว มันยังมีความสามารถป้องกันไวรัสได้ดีไม่แพ้ของที่เสียตังค์แต่อย่างใด มีการ Update ข้อมูลไวรัสอย่างรวดเร็ว แถมยังไม่หน่วงเครื่องของคุณอีกต่างหากแถมยังมีฟังก์ชั่น Real-time protection เปรียบเสมือนยามค่อยเฝ้ามองไวรัสอยู่ตลอดเวลา ทั้งดีทั้งฟรีอย่างนี้ไม่ลองแล้วจะเสียใจครับ ผมเองก็ใช้แถม Free อีกต่างหาก

NOD32 Antivirus System (โปรแกรม กำจัดไวรัส ที่สามารถอัพเดทข้อมูลไวรัสตัวใหม่ได้แบบอัตโนมัติตลอดเวลา และยังใช้เวลาในการอัพเดทน้อยมาก) : ด้วยความสามารถของ NOD32 สำหรับ Windows ที่จะปกป้องคุ้มครองคอมพิวเตอร์ที่บ้านของคุณ , คุณจะไม่ต้องกังวลกับไวรัสที่น่ารำคาญอย่าง Netsky , Mydoom และ Lovebug อีกต่อไป NOD32 จะปกป้องคุณNOD32 ใช้งานได้ง่ายและให้ความปลอดภัยระดับองค์กรที่บ้านของท่าน หลังจากที่ติดตั้งเสร็จสิ้น AMON ผู้ดูแลตรวจสอบระบบตลอดเวลา จะทำงานอยู่ด้านหลัง ช่วยให้คอมพิวเตอร์ของคุณปลอดภัย IMON ผู้ดูและตรวจสอบอีเมล์ จะสแกนทุกๆเมล์ที่คุณรับ และตรวจหาไวรัสและทำการกำจัดก่อนที่ไวรัสจะมีโอกาสเข้ามาและทำร้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ และเมื่อมีการอัปเดทใหม่ๆเข้ามา , NOD32 จะทำการอัปเดทโดยอัตโนมัติ ให้คุณมั่นใจว่าคุณจะมีฐานข้อมูลไวรัสล่าสุด ...NOD32 สำหรับ Windows ได้มอบการป้องกันไวรัสชั้นยอดให้กับผู้ใช้ทั่วไป และไฟล์เซิรฟ์เวอร์. NOD32 สำหรับ Windows จะดูแลระบบไฟล์ทั้งหมดอยู่ตลอดเวลา และสแกนอีเมล์ที่ติดไวรัสก่อนที่เข้ามาในระบบ และยังใช้ Advanced Heuristics ซึ่งทำให้ NOD32 สามารถตรวจจับไวรัสและหยุดการทำงานของไวรัสพวกนั้นก่อนที่จะมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับไวรัสตัวนั้นออกมาในขณะนี้ , NOD32 ถือเป็นผู้นำในการได้รับรางวัลการตรวจจับได้ 100 % มากกว่าระบบป้องกันไวรัสอื่น.

กว่า 6 ปีที่ NOD32 ไม่พลาดการตรวจจับไวรัส In-The-Wild แม้แต่ตัวเดียวในการทดสอบของ Virus Bulletin ...

 

แหล่งที่มาของข้อมูลhttp://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/com_11.htmhttp://www.sci.nu.ac.th/information-it/index.php?topic=135.0http://www.khonkaentoday.com/board/index.php?topic=933.0http://www.thaiware.com/main/info.php?id=5734 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 443 คน กำลังออนไลน์