• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:92dccc4dddd344dd74283a0610bb44db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"> ไวรัสคอมพิวเตอร์</span></span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ไวรัสคอมพิวเตอร์</span> (computer virus) หรือเรียกสั้นว่า ไวรัส คือ </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"โปรแกรมคอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong>โปรแกรมคอมพิวเตอร์</strong></span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่อง</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"คอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong>คอมพิวเตอร์</strong></span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>โดยไม่ได้รับความยินยอมจาก</strong></span><a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ผู้ใช้ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ผู้ใช้</span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ในเชิงเทคโนโลยี</strong></span><a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\">ความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์</span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้หรือข้อมูลเอกสาร ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับ</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA\" title=\"ไวรัส\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ไวรัส</strong></span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปใน</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B9%8C\" title=\"เซลล์\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong>เซลล์</strong></span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทาง</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2\" title=\"ชีววิทยา\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ชีววิทยา</strong></span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ยังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น <i>การติดไวรัส</i> (infection) </strong></span><a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แฟ้มข้อมูล (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\">แฟ้มข้อมูล</span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า <i>โฮสต์</i> (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภท</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"มัลแวร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong>มัลแวร์</strong></span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A1\" title=\"เวิร์ม\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong>เวิร์ม</strong></span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อ</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"ฮาร์ดแวร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ฮาร์ดแวร์</strong></span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อ</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"ซอฟต์แวร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ซอฟต์แวร์</strong></span></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ในขณะที่ไวรัสโดยทั่วไปนั้นก่อให้เกิดความเสียหาย (เช่น ทำลายข้อมูล) แต่ก็มีหลายชนิดที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย เพียงแต่ก่อให้เกิดความรำคาญเท่านั้น ไวรัสบางชนิดนั้นจะมีการตั้งเวลาให้ทำงานเฉพาะตามเงื่อนไข เช่น เมื่อถึงวันที่ที่กำหนด หรือเมื่อทำการขยายตัวได้ถึงระดับหนึ่ง ซึ่งไวรัสเหล่านี้จะเรียกว่า <i>บอมบ์</i> (bomb) หรือระเบิด ระเบิดเวลาจะทำงานเมื่อถึงวันที่ที่กำหนด ส่วนระเบิดเงื่อนไขนั้นจะทำงานเมื่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีการกระทำเฉพาะซึ่งเป็นตัวจุดชนวน ไม่ว่าจะเป็นไวรัสชนิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือไม่ก็ตาม ก็จะมีผลเสียที่เกิดจากการแพร่ขยายตัวของไวรัสอย่างไร้การควบคุม ซึ่งจะเป็นการบริโภคทรัพยากรคอมพิวเตอร์อย่างไร้ประโยชน์ หรืออาจจะบริโภคไปเป็นจำนวนมาก </strong></span>\n</p>\n<table id=\"toc\" class=\"toc\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div id=\"toctitle\">\n<h2></h2>\n</div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<h2><span id=\".E0.B8.84.E0.B8.B3.E0.B8.88.E0.B8.B3.E0.B8.81.E0.B8.B1.E0.B8.94.E0.B8.84.E0.B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1\" class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #ff0000\">คำจำกัดความ</span></span></h2>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ไวรัสเป็นโปรแกรมประเภทที่สามารถแพร่ขยายตัวเองได้ วิธีการในการจำแนกว่าส่วนของโปรแกรมนั้นเป็นไวรัสหรือไม่ นั้นดูจากการที่โปรแกรมสามารถแพร่กระจายตัวได้โดยผ่านทางพาหะ (โฮสต์)</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>บ่อยครั้งที่ผู้คนจะสับสนระหว่างไวรัสกับเวิร์ม เวิร์มนั้นจะมีลักษณะของการแพร่กระจายโดยไม่ต้องพึ่งพาหะ ส่วนไวรัสนั้นจะสามารถแพร่กระจายได้ก็ต่อเมื่อมีพาหะนำพาไปเท่านั้น เช่น ทางเครือข่าย หรือทางแผ่นดิสก์ โดยไวรัสนั้นอาจฝังตัวอยู่กับแฟ้มข้อมูล และเครื่องคอมพิวเตอร์จะติดไวรัสเมื่อมีการเรียกใช้แฟ้มข้อมูลนั้น</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>เนื่องจากไวรัสในปัจจุบันนี้ได้อาศัยบริการเครือข่ายบนเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%94%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A\" title=\"เวิลด์ไวด์เว็บ\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>เวิลด์ไวด์เว็บ</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%A5\" title=\"อีเมล\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>อีเมล</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> และระบบแฟ้มข้อมูลร่วมในการแพร่กระจายด้วย จึงทำให้ความแตกต่างของไวรัสและเวิร์มในปัจจุบันนั้นไม่ชัดเจน</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ไวรัสสามารถติดพาหะได้หลายชนิด ที่พบบ่อยคือ แฟ้มข้อมูลที่สามารถปฏิบัติการได้ของซอฟต์แวร์ หรือส่วน</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3\" title=\"ระบบปฏิบัติการ\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ระบบปฏิบัติการ</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> ไวรัสยังสามารถติดไปกับบู๊ตเซคเตอร์ของแผ่น</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%9B%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C\" title=\"ฟลอปปี้ดิสก์\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ฟลอปปี้ดิสก์</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> แฟ้มข้อมูลประเภทสคริปต์ ข้อมูลเอกสารที่มีสคริปต์</strong></span><a href=\"http://null/w/index.php?title=%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"มาโคร (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #99cc00\">มาโคร</span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> นอกเหนือจากการสอดแทรกรหัสไวรัสเข้าไปยังข้อมูลดั้งเดิมของพาหะแล้ว ไวรัสยังสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลเดิมในพาหะ และอาจทำการแก้ไขให้รหัสไวรัสถูกเรียกขึ้นมาทำงานเมื่อพาหะถูกเรียกใช้งาน</strong></span>\n</p>\n<h2><strong> <span id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.80.E0.B8.A0.E0.B8.97.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA.E0.B8.84.E0.B8.AD.E0.B8.A1.E0.B8.9E.E0.B8.B4.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.95.E0.B8.AD.E0.B8.A3.E0.B9.8C\" class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #ff0000\">ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์</span></span></strong></h2>\n<h2><span class=\"mw-headline\"></span><span style=\"color: #ff0000\"><strong> <span id=\".E0.B8.9A.E0.B8.B9.E0.B8.95.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA\" class=\"mw-headline\">บูตไวรัส</span></strong></span></h2>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">บูตไวรัส (boot virus) คือไวรัสคอมพิวเตอร์ที่แพร่เข้าสู่เป้าหมายในระหว่างเริ่มทำการบูตเครื่อง ส่วนมาก มันจะติดต่อเข้าสู่แผ่นฟลอปปี้ดิสก์ระหว่างกำลังสั่งปิดเครื่อง เมื่อนำแผ่นที่ติดไวรัสนี้ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ไวรัสก็จะเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ตอนเริ่มทำงานทันที</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\">บูตไวรัสจะติดต่อเข้าไปอยู่ส่วนหัวสุดของฮาร์ดดิสก์ ที่มาสเตอร์บูตเรคคอร์ด (master boot record) และก็จะโหลดตัวเองเข้าไปสู่หน่วยความจำก่อนที่ระบบปฏิบัติการจะเริ่มทำงาน ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น</span></strong>\n</p>\n<h3><span id=\".E0.B9.84.E0.B8.9F.E0.B8.A5.E0.B9.8C.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA\" class=\"mw-headline\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ไฟล์ไวรัส</span></strong></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ไฟล์ไวรัส (file virus) ใช้เรียกไวรัสที่ติดไฟล์โปรแกรม เช่นโปรแกรมที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต นามสกุล.exe โปรแกรมประเภทแชร์แวร์เป็นต้น</strong></span>\n</p>\n<h3><span style=\"color: #99cc00\"><strong> <span id=\".E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B9.82.E0.B8.84.E0.B8.A3.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA\" class=\"mw-headline\">มาโครไวรัส</span></strong></span></h3>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>มาโครไวรัส (macro virus) คือไวรัสที่ติดไฟล์เอกสารชนิดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถในการใส่คำสั่งมาโครสำหรับทำงานอัตโนมัติในไฟล์เอกสารด้วย ตัวอย่างเอกสารที่สามารถติดไวรัสได้ เช่น ไฟล์ไมโครซอฟท์เวิร์ด ไมโครซอฟท์เอ็กเซล เป็นต้น</strong></span>\n</p>\n<h4><span id=\".E0.B9.82.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.88.E0.B8.B1.E0.B8.99\" class=\"mw-headline\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">โทรจัน</span></strong></span></h4>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ม้าโทรจัน (Trojan) คือโปรแกรมจำพวกหนึ่งที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแอบแฝง กระทำการบางอย่าง ในเครื่องของเรา จากผู้ที่ไม่หวังดี ชื่อเรียกของโปรแกรมจำพวกนี้ มาจากตำนานของม้าไม้แห่งเมืองทรอยนั่นเอง ซึ่งการติดนั้น ไม่เหมือนกับไวรัส และหนอน ที่จะกระจายตัวได้ด้วยตัวมันเอง แต่</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99_(%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C)\" title=\"โทรจัน (คอมพิวเตอร์)\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>โทรจัน (คอมพิวเตอร์)</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>จะถูกแนบมากับ อีการ์ด อีเมล์ หรือโปรแกรมที่มีให้ดาวน์โหลดตามอินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ใต้ดิน และสุดท้ายที่มันต่างกับไวรัสและเวิร์ม คือ มันจะสามารถเข้ามาในเครื่องของเรา โดยที่เราเป็นผู้รับมันมาโดยไม่รู้ตัวนั่นเอง</strong></span>\n</p>\n<h2><strong><span style=\"color: #ff0000\"> <span id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4\" class=\"mw-headline\">ประวัติ</span></span></strong></h2>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ในปี </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2505\" title=\"พ.ศ. 2505\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>พ.ศ. 2505</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (ค.ศ. 1962) ทีมวิศวกรของ Bell Telephone Laboratories ได้สร้างเกมชื่อว่า &quot;Darwin&quot; ถือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกที่มีรูปแบบของไวรัส โดยฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำ เกมนี้ใช้คำศัพท์บางอย่างที่มีคำว่า &quot;supervisor&quot; มีลักษณะที่กำหนดกฎเกณฑ์การต่อสู้ระหว่างผู้เข้าแข่งขัน โปรแกรม Darwin นี้มีความสามารถที่จะวิจัยสภาพแวดล้อมของมัน ทำสำเนา และทำลายตัวเองได้ จุดประสงค์หลักของเกมนี้ก็คือลบโปรแกรมทั้งหมดที่คู่แข่งเขียนและครอบครองสนามรบ</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ต้นปี </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2513\" title=\"พ.ศ. 2513\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>พ.ศ. 2513</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (ค.ศ. 1970) มีการตรวจพบไวรัส Creeper ในเครือข่าย APRAnet ของทหารอเมริกา ถือเป็นต้นแบบไวรัสคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โปรแกรม Creeper สามารถเข้าครอบครองเครือข่ายผ่านโมเด็มและส่งสำเนาตัวเองไปที่ฝั่ง remote ไวรัสนี้ทำให้คนรู้ว่าติดไวรัสด้วยการ broadcast ข้อความ &quot;I\'M THE CREEPER ... CATCH ME IF YOU CAN&quot;</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2517\" title=\"พ.ศ. 2517\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>พ.ศ. 2517</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (ค.ศ. 1974) โปรแกรมชื่อ &quot;Rabbit&quot; โผล่ขึ้นมาบนเครื่องเมนเฟรมที่เรียกชื่อนี้เพราะมันไม่ได้ทำอะไรนอกจากสำเนาตัวเองอย่างรวดเร็วไปในระบบเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ Rabbit นี้ได้ดึงทรัพยากรของระบบมาใช้อย่างมาก ทำให้การทำงานกระทบอย่างรุนแรงจนอาจทำให้ระบบทำงานผิดพลาดได้</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2525\" title=\"พ.ศ. 2525\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>พ.ศ. 2525</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (ค.ศ. 1982) มีการตรวจพบไวรัสชื่อ &quot;Elk Cloner&quot; นั้นเป็นคอมพิวเตอร์ไวรัสบนเครื่อง</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%84%E0%B8%A5\" title=\"คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ตัวแรก ซึ่งแพร่กระจาย คือในวงที่กว้างออกไปกว่าภายในห้องทดลองที่สร้างโปรแกรม โปรแกรมนี้ถูกเขียนขึ้นโดย Rich Skrenta โดยไวรัสนี้จะติดไปกับระบบปฏิบัติการ Apple DOS 3.3 ผ่านทาง boot sector ของฟล็อปปี้ดิสก์ ณ เวลานั้นผลของมันทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางคนนึกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เกิดจากมนุษย์ต่างดาว เพราะทำให้การแสดงภาพที่จอกลับหัว, ทำตัวอักษรกระพริบ, ขึ้นข้อความต่างๆออกมา</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2526\" title=\"พ.ศ. 2526\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>พ.ศ. 2526</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (ค.ศ. 1983) Len Adleman แห่งมหาวิทยาลัย Lehigh ตั้งคำว่า &quot;Virus&quot; ว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำสำเนาตัวเองได้ และในปีถัดมาใน Information security conference ครั้งที่ 7 Fred Cohen ได้ให้คำจำกัดความของคำ &quot;computer virus&quot; ว่าเป็นโปรแกรมที่สามารถติดต่อไปยังโปรแกรมอื่นโดยการแก้ไขโปรแกรมเดิมเพื่อแพร่ขยายตัวเอง</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) Fred Cohen บิดาแห่งไวรัสศาสตร์ (Virology) ได้ใช้คอมพิวเตอร์ VAX 11/750 สาธิตว่าโปรแกรมไวรัสสามารถฝังตัวเข้าไปใน object อื่นได้</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2529\" title=\"พ.ศ. 2529\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>พ.ศ. 2529</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (ค.ศ. 1986) ไวรัสตัวคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ สร้างโดยโปรแกรมเมอร์อายุ 19 ปี ชาวปากีสถาน ชื่อ Basit Farooq และพี่ชายชื่อ Amjad เรียกชื่อ &quot;Brain&quot; ที่มีเป้าไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM Compatible ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการรู้ระดับของซอฟต์แวร์เถื่อนในประเทศตัวเอง แต่โชคไม่ดีที่การทดลองนี้หลุดออกมานอกประเทศ</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) โปรแกรมเมอร์ชาวเยอรมันชื่อ Ralf Burger พบวิธีตรวจจับโปรแกรมที่ copy ตัวเองโดยการเพิ่ม code บางตัวเข้าไปใน ไฟล์ COM version ที่ใช้ทดลองชื่อ Virdem ถูกนำมาแสดงในเดือนธันวาคม ที่ Hamburg เป็น forum ที่เหล่า hacker ที่ชำนาญในการ crack ระบบ VAX/VMS มารวมตัวกันชื่อ &quot;Chaos Computer Club&quot;</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2530\" title=\"พ.ศ. 2530\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>พ.ศ. 2530</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (ค.ศ. 1987) เกิดไวรัสระบาดที่ เวียนนา เป็นไวรัสที่ทำลายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรกที่ทำงานเต็มระบบ ส่งผลกระทบไปเกือบทั่วโลก ที่มาของไวรัสนี้เป็นประเด็นถกเถียงกันมาก เพราะคนที่อ้างว่าเป็นคนเขียนคือ Franz Svoboda แต่เมื่อสืบไปจึงพบว่าเขารับมาจาก Ralf Burger ซึ่งก็อ้างว่ารับมาจาก Svoboda เดิมชื่อไวรัสคือ &quot;lovechild&quot; แต่เพราะไม่สามารถหาคนให้กำเนิดได้จึงถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า &quot;orphan&quot; (ลูกกำพร้า)</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เดือนธันวาคม เกิดการระบาดใต้ดินครั้งแรกในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชื่อ &quot;Christmas Three&quot; วันที่ 9 ไวรัสหลุดมาจาก เครือข่าย Bitnet ของมหาวิทยาลัย Western University ประเทศเยอรมนี ทะลุเข้าไปใน European Acadamic Research Network (EARN) และเข้าไป เครือข่าย IBM-Vnet เป็นเวลา 4 วัน เครื่องที่ติดไวรัสจะแสดงผลที่หน้าจอเป็นรูปต้นคริสต์มาสต์ และส่งไปให้ผู้ใช้อื่นๆในเครือข่าย</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี </strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2531\" title=\"พ.ศ. 2531\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>พ.ศ. 2531</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> (ค.ศ. 1988) Peter Norton programmer ที่มีชื่อเสียง ผู้ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท Symantec ได้ออกมาประกาศว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องไร้สาระ โดยเปรียบว่าเป็นแค่จระเข้ที่อยู่ในท่อระบายน้ำเสียในนิวยอร์ก แต่ในที่สุดเขาเป็นผู้ที่ได้เริ่มต้น project Norton-AntiVirus</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) วันที่ 22 เดือนเมษายน เกิด forum ที่ถกกันเรื่อง security threat เป็นครั้งแรก ชื่อ Virus-L host ไว้ที่ Usebet สร้างโดย Ken Van Wyk เพื่อร่วมงานของ Fred Cohen ที่มหาวิทยาลัย Lehigh</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนตุลาคม มีการแพร่ข่าวไวรัสชื่อ Mr. &quot;Rochenle&quot; อย่างมากเป็นไวรัสประเภทหลอกลวง (HOAX) เป็นตัวแรก อ้างถึงชื่อบุคคลที่ไม่มีตัวตนชื่อ Mike RoChenle (&quot;Microchannel&quot;) อ้างว่าไวรัสนี้สามารถส่งตัวเองไประหว่างโมเด็มด้วยความเร็ว 2400 bps ทำให้ความเร็วโมเด็มลดลงเหลือ 1200 bps และได้อธิบายวิธีการแก้ไขที่ไม่ได้มีผลอะไร แต่มีคนหลงเชื่อทำตามกันอย่างมากมาย</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนพฤศจิกายน มีหนอนเครือข่ายชื่อ &quot;Morris&quot; ระบาดอย่างหนักทำให้คอมพิวเตอร์กว่า 6000 เครื่องในอเมริการวมทั้งใน ศูนย์วิจัยของ NASA ติดไปด้วย ส่งผลกระทบให้การปฏิบัติงานหยุดโดยสิ้นเชิง เหตุเนื่องจากมี error ใน code ของ Morris ทำให้มัน copy ตัวเองไปที่เครือข่ายอื่นอย่างไม่จำกัดทำให้เครือข่ายรับไม่ไหว การระบาดครั้งนั้นทำให้สูญเสียเป็นมูลค่ากว่า 96 ล้านเหรียญสหรัฐ</strong></span>\n</p>\n<h1 id=\"firstHeading\" class=\"firstHeading\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">โปรแกรมป้องกันไวรัส</span></strong></h1>\n<div id=\"bodyContent\">\n<h3 id=\"siteSub\"><a href=\"#searchInput\"><u><span style=\"color: #0000ff\"></span></u></a></h3>\n<!-- start content --><!-- start content --><table class=\"noprint metadata plainlinks ambox ambox-content\">\n<tbody>\n<tr>\n<td class=\"mbox-image\">\n<div style=\"width: 52px\">\n <a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Check-Reference.svg\" class=\"image\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><img width=\"50\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/3/34/Check-Reference.svg/50px-Check-Reference.svg.png\" alt=\"Check-Reference.svg\" height=\"50\" /></span></u></a>\n </div>\n</td>\n<td class=\"mbox-text\"><span style=\"color: #99cc00\"><b>บทความนี้ต้องการตรวจสอบความถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญ</b> โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน</span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%94%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%A2:%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA\" title=\"พูดคุย:โปรแกรมป้องกันไวรัส\"><u><span style=\"color: #99cc00\">หน้าอภิปราย</span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"> หากคุณมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ คุณสามารถช่วยปรับปรุงเนื้อหาได้ทันที โดยการกด <i>แก้ไข</i> ด้านบน ซึ่งเมื่อตรวจสอบและแก้ไขแล้วให้นำป้ายนี้ออก</span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<table class=\"noprint metadata plainlinks ambox ambox-style\">\n<tbody>\n<tr>\n<td class=\"mbox-image\">\n<div style=\"width: 52px\">\n <a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Broom_icon.svg\" title=\"ไอคอนไม้กวาด\" class=\"image\"><span style=\"color: #99cc00\"><img width=\"50\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/2c/Broom_icon.svg/50px-Broom_icon.svg.png\" alt=\"ไอคอนไม้กวาด\" height=\"50\" /></span></a>\n </div>\n</td>\n<td class=\"mbox-text\"><b><span style=\"color: #99cc00\">บทความนี้ต้องการ </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89:%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"วิธีใช้:การแก้ไขหน้า\"><u><span style=\"color: #99cc00\">การจัดหน้า</span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"> </span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B9%88\" title=\"วิกิพีเดีย:การจัดหมวดหมู่\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #99cc00\">การจัดหมวดหมู่</span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"> และ</span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B9%8C\" title=\"วิกิพีเดีย:หน่วยเก็บกวาดเฉพาะกิจ/ตัวอย่างการใส่ลิงก์\"><u><span style=\"color: #99cc00\">ใส่ลิงก์ภายใน</span></u></a></b><span style=\"color: #99cc00\"> เพื่อให้</span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B6%E0%B9%89%E0%B8%99\" title=\"วิกิพีเดีย:แนวทางในการเขียนบทความให้ดียิ่งขึ้น\"><u><span style=\"color: #99cc00\">บทความมีคุณภาพดียิ่งขึ้น</span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"> คุณสามารถ</span><a rel=\"nofollow\" href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA&amp;action=edit\" class=\"external text\"><u><span style=\"color: #99cc00\">ปรับปรุงแก้ไข</span></u></a><span style=\"color: #99cc00\">บทความนี้ได้ และนำป้ายออก หรือใช้</span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2:%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1#.E0.B8.82.E0.B8.B1.E0.B9.89.E0.B8.99.E0.B8.97.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B8.AA.E0.B8.AD.E0.B8.87_.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.9A.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B8.E0.B8.87.E0.B8.9A.E0.B8.97.E0.B8.84.E0.B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B9.84.E0.B8.94.E0.B9.89.E0.B8.95.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B8.90.E0.B8.B2.E0.B8.99\" title=\"วิกิพีเดีย:ตรวจสอบบทความ\"><u><span style=\"color: #99cc00\">ป้ายข้อความอื่น</span></u></a><span style=\"color: #99cc00\">ระบุสิ่งที่ต้องแก้ไขให้เจาะจง</span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>โปรแกรมป้องกันไวรัส (</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9\" title=\"ภาษาอังกฤษ\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>อังกฤษ</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>: <span xml:lang=\"en\" lang=\"en\">Antivirus software</span>) หรือในวงการเรียกว่า แอนติไวรัส/แอนติสปายแวร์ (Anti-Virus/Anti-Spyware) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อป้องกันและกำจัด</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"ไวรัสคอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ไวรัสคอมพิวเตอร์</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>(ต่อจากนี้จะเรียกว่าไวรัส) จากผู้ไม่หวังดีทาง</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B9%87%E0%B8%95\" title=\"อินเทอร์เน็ต\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>อินเทอร์เน็ต</strong></span></u></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>โปรแกรมป้องกันไวรัสมี 2 แบบใหญ่ๆ</strong></span>\n</p>\n<ol>\n<li><span style=\"color: #99cc00\"><strong>แอนติไวรัส เป็นโปรแกรมโปรแกรมป้องกันไวรัสทั่วๆไป จะค้นหาและทำลายไวรัสในคอมพิวเตอร์ของเรา </strong></span></li>\n<li><span style=\"color: #99cc00\"><strong>แอนติสปายแวร์ เป็นโปรแกรมป้องกันการโจรกรรมข้อมูล จากไวรัสสปายแวร์ และจาก</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AE%E0%B9%87%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"แฮ็คเกอร์\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>แฮ็คเกอร์</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong> รวมถึงการกำจัด Adware ซึ่งเป็นป๊อปอัพโฆษณาอีกด้วย </strong></span></li>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>โปรแกรมป้องกันไวรัสจะค้นหาและทำลายไวรัสที่ไฟล์โดยตรง แต่ในทุกๆวันจะมีไวรัสชนิดใหม่เกิดขึ้นมาเสมอ ทำให้เราต้องอัปเดตโปรแกรมป้องกันไวรัสตลอดเวลาเพื่อให้</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"คอมพิวเตอร์\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>คอมพิวเตอร์</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ของเราปลอดภัย โดยแอนติไวรัสจะมีหลายรูปแบบตาม</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%97\" title=\"บริษัท\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>บริษัท</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>กันไปและแต่ละบริษัทจะมีการอัปเดตและการป้องกันไม่เหมือนกัน แต่ในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวไม่ควรมีแอนติไวรัส 2 โปรแกรมเพราะจะทำให้</strong></span><a href=\"http://null/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1\" title=\"โปรแกรม\"><u><span style=\"color: #99cc00\"><strong>โปรแกรม</strong></span></u></a><span style=\"color: #99cc00\"><strong>ขัดแย้งกันเองจนไม่สามารถใช้งานได้</strong></span>\n</p>\n<h2><span style=\"color: #99cc00\"><strong><span id=\".E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B8.8A.E0.B8.B7.E0.B9.88.E0.B8.AD.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B9.82.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B9.81.E0.B8.81.E0.B8.A3.E0.B8.A1.E0.B8.9B.E0.B9.89.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.81.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B9.84.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.B1.E0.B8.AA.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B9.82.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B9.81.E0.B8.81.E0.B8.A3.E0.B8.A1.E0.B8.9B.E0.B9.89.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.81.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.AA.E0.B8.9B.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B9.81.E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B9.8C\" class=\"mw-headline\">รายชื่อของโปรแกรมป้องกันไวรัสและโปรแกรมป้องกันสปายแวร์</span></strong></span></h2>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>(ชื่อของโปรแกรมอาจจะคล้ายกันเช่น McAfee VirusScan,McAfee AntiSpyware มาจากแมคคาฟีเหมือนกันแต่คนละประเภท คนละโปรแกรม)</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><strong>อ้างอิง</strong></span>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA</a></span></strong> </p>\n<table cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"width: 100%; background-color: transparent\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"50%\" align=\"left\" vAlign=\"top\">\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<table cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"width: 100%; background-color: transparent\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"50%\" align=\"left\" vAlign=\"top\">\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n', created = 1719403157, expire = 1719489557, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:92dccc4dddd344dd74283a0610bb44db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไวรัสคอมพิวเตอร์

รูปภาพของ skk05794

 ไวรัสคอมพิวเตอร์

ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) หรือเรียกสั้นว่า ไวรัส คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บุกรุกเข้าไปในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะมีประสงค์ร้ายและสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆ

ในเชิงเทคโนโลยีความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์นั้น ไวรัสเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำสำเนาของตัวเอง เพื่อแพร่ออกไปโดยการสอดแทรกตัวสำเนาไปในรหัสคอมพิวเตอร์ส่วนที่สามารถปฏิบัติการได้หรือข้อมูลเอกสาร ดังนั้นไวรัสคอมพิวเตอร์จึงมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกับไวรัสในทางชีววิทยา ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตในลักษณะเดียวกันนี้ คำอื่นๆ ที่ใช้กับไวรัสในทางชีววิทยายังขยายขอบข่ายของความหมายครอบคลุมถึงไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ เช่น การติดไวรัส (infection) แฟ้มข้อมูลที่ติดไวรัสนี้จะเรียกว่า โฮสต์ (host) ไวรัสนั้นเป็นประเภทหนึ่งของโปรแกรมประเภทมัลแวร์ (malware) หรือโปรแกรมที่มีประสงค์ร้าย ในความหมายที่ใช้กันทั่วไปนั้น ไวรัสยังใช้หมายรวมถึง เวิร์ม (worm) ซึ่งก็เป็นโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่งของมัลแวร์ ซึ่งบางครั้งก็ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์นั้นสับสนเมื่อคำไวรัสนั้นใช้ในความหมายที่เฉพาะเจาะจง คอมพิวเตอร์ไวรัสนั้นโดยทั่วไปจะไม่ส่งผลก่อให้เกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์โดยตรง แต่จะทำความเสียหายต่อซอฟต์แวร์

ในขณะที่ไวรัสโดยทั่วไปนั้นก่อให้เกิดความเสียหาย (เช่น ทำลายข้อมูล) แต่ก็มีหลายชนิดที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย เพียงแต่ก่อให้เกิดความรำคาญเท่านั้น ไวรัสบางชนิดนั้นจะมีการตั้งเวลาให้ทำงานเฉพาะตามเงื่อนไข เช่น เมื่อถึงวันที่ที่กำหนด หรือเมื่อทำการขยายตัวได้ถึงระดับหนึ่ง ซึ่งไวรัสเหล่านี้จะเรียกว่า บอมบ์ (bomb) หรือระเบิด ระเบิดเวลาจะทำงานเมื่อถึงวันที่ที่กำหนด ส่วนระเบิดเงื่อนไขนั้นจะทำงานเมื่อผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีการกระทำเฉพาะซึ่งเป็นตัวจุดชนวน ไม่ว่าจะเป็นไวรัสชนิดที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือไม่ก็ตาม ก็จะมีผลเสียที่เกิดจากการแพร่ขยายตัวของไวรัสอย่างไร้การควบคุม ซึ่งจะเป็นการบริโภคทรัพยากรคอมพิวเตอร์อย่างไร้ประโยชน์ หรืออาจจะบริโภคไปเป็นจำนวนมาก

คำจำกัดความ

ไวรัสเป็นโปรแกรมประเภทที่สามารถแพร่ขยายตัวเองได้ วิธีการในการจำแนกว่าส่วนของโปรแกรมนั้นเป็นไวรัสหรือไม่ นั้นดูจากการที่โปรแกรมสามารถแพร่กระจายตัวได้โดยผ่านทางพาหะ (โฮสต์)

บ่อยครั้งที่ผู้คนจะสับสนระหว่างไวรัสกับเวิร์ม เวิร์มนั้นจะมีลักษณะของการแพร่กระจายโดยไม่ต้องพึ่งพาหะ ส่วนไวรัสนั้นจะสามารถแพร่กระจายได้ก็ต่อเมื่อมีพาหะนำพาไปเท่านั้น เช่น ทางเครือข่าย หรือทางแผ่นดิสก์ โดยไวรัสนั้นอาจฝังตัวอยู่กับแฟ้มข้อมูล และเครื่องคอมพิวเตอร์จะติดไวรัสเมื่อมีการเรียกใช้แฟ้มข้อมูลนั้น

เนื่องจากไวรัสในปัจจุบันนี้ได้อาศัยบริการเครือข่ายบนเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น เวิลด์ไวด์เว็บ อีเมล และระบบแฟ้มข้อมูลร่วมในการแพร่กระจายด้วย จึงทำให้ความแตกต่างของไวรัสและเวิร์มในปัจจุบันนั้นไม่ชัดเจน

ไวรัสสามารถติดพาหะได้หลายชนิด ที่พบบ่อยคือ แฟ้มข้อมูลที่สามารถปฏิบัติการได้ของซอฟต์แวร์ หรือส่วนระบบปฏิบัติการ ไวรัสยังสามารถติดไปกับบู๊ตเซคเตอร์ของแผ่นฟลอปปี้ดิสก์ แฟ้มข้อมูลประเภทสคริปต์ ข้อมูลเอกสารที่มีสคริปต์มาโคร นอกเหนือจากการสอดแทรกรหัสไวรัสเข้าไปยังข้อมูลดั้งเดิมของพาหะแล้ว ไวรัสยังสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลเดิมในพาหะ และอาจทำการแก้ไขให้รหัสไวรัสถูกเรียกขึ้นมาทำงานเมื่อพาหะถูกเรียกใช้งาน

 ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์

 บูตไวรัส

บูตไวรัส (boot virus) คือไวรัสคอมพิวเตอร์ที่แพร่เข้าสู่เป้าหมายในระหว่างเริ่มทำการบูตเครื่อง ส่วนมาก มันจะติดต่อเข้าสู่แผ่นฟลอปปี้ดิสก์ระหว่างกำลังสั่งปิดเครื่อง เมื่อนำแผ่นที่ติดไวรัสนี้ไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ไวรัสก็จะเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ตอนเริ่มทำงานทันที

บูตไวรัสจะติดต่อเข้าไปอยู่ส่วนหัวสุดของฮาร์ดดิสก์ ที่มาสเตอร์บูตเรคคอร์ด (master boot record) และก็จะโหลดตัวเองเข้าไปสู่หน่วยความจำก่อนที่ระบบปฏิบัติการจะเริ่มทำงาน ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น

ไฟล์ไวรัส

ไฟล์ไวรัส (file virus) ใช้เรียกไวรัสที่ติดไฟล์โปรแกรม เช่นโปรแกรมที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต นามสกุล.exe โปรแกรมประเภทแชร์แวร์เป็นต้น

 มาโครไวรัส

มาโครไวรัส (macro virus) คือไวรัสที่ติดไฟล์เอกสารชนิดต่างๆ ซึ่งมีความสามารถในการใส่คำสั่งมาโครสำหรับทำงานอัตโนมัติในไฟล์เอกสารด้วย ตัวอย่างเอกสารที่สามารถติดไวรัสได้ เช่น ไฟล์ไมโครซอฟท์เวิร์ด ไมโครซอฟท์เอ็กเซล เป็นต้น

โทรจัน

ม้าโทรจัน (Trojan) คือโปรแกรมจำพวกหนึ่งที่ถูกออกแบบขึ้นมาเพื่อแอบแฝง กระทำการบางอย่าง ในเครื่องของเรา จากผู้ที่ไม่หวังดี ชื่อเรียกของโปรแกรมจำพวกนี้ มาจากตำนานของม้าไม้แห่งเมืองทรอยนั่นเอง ซึ่งการติดนั้น ไม่เหมือนกับไวรัส และหนอน ที่จะกระจายตัวได้ด้วยตัวมันเอง แต่โทรจัน (คอมพิวเตอร์)จะถูกแนบมากับ อีการ์ด อีเมล์ หรือโปรแกรมที่มีให้ดาวน์โหลดตามอินเทอร์เน็ตในเว็บไซต์ใต้ดิน และสุดท้ายที่มันต่างกับไวรัสและเวิร์ม คือ มันจะสามารถเข้ามาในเครื่องของเรา โดยที่เราเป็นผู้รับมันมาโดยไม่รู้ตัวนั่นเอง

 ประวัติ

ในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ทีมวิศวกรของ Bell Telephone Laboratories ได้สร้างเกมชื่อว่า "Darwin" ถือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตัวแรกที่มีรูปแบบของไวรัส โดยฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำ เกมนี้ใช้คำศัพท์บางอย่างที่มีคำว่า "supervisor" มีลักษณะที่กำหนดกฎเกณฑ์การต่อสู้ระหว่างผู้เข้าแข่งขัน โปรแกรม Darwin นี้มีความสามารถที่จะวิจัยสภาพแวดล้อมของมัน ทำสำเนา และทำลายตัวเองได้ จุดประสงค์หลักของเกมนี้ก็คือลบโปรแกรมทั้งหมดที่คู่แข่งเขียนและครอบครองสนามรบ

ต้นปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) มีการตรวจพบไวรัส Creeper ในเครือข่าย APRAnet ของทหารอเมริกา ถือเป็นต้นแบบไวรัสคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โปรแกรม Creeper สามารถเข้าครอบครองเครือข่ายผ่านโมเด็มและส่งสำเนาตัวเองไปที่ฝั่ง remote ไวรัสนี้ทำให้คนรู้ว่าติดไวรัสด้วยการ broadcast ข้อความ "I'M THE CREEPER ... CATCH ME IF YOU CAN"

ปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) โปรแกรมชื่อ "Rabbit" โผล่ขึ้นมาบนเครื่องเมนเฟรมที่เรียกชื่อนี้เพราะมันไม่ได้ทำอะไรนอกจากสำเนาตัวเองอย่างรวดเร็วไปในระบบเก็บข้อมูลชนิดต่างๆ Rabbit นี้ได้ดึงทรัพยากรของระบบมาใช้อย่างมาก ทำให้การทำงานกระทบอย่างรุนแรงจนอาจทำให้ระบบทำงานผิดพลาดได้

ปี พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) มีการตรวจพบไวรัสชื่อ "Elk Cloner" นั้นเป็นคอมพิวเตอร์ไวรัสบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรก ซึ่งแพร่กระจาย คือในวงที่กว้างออกไปกว่าภายในห้องทดลองที่สร้างโปรแกรม โปรแกรมนี้ถูกเขียนขึ้นโดย Rich Skrenta โดยไวรัสนี้จะติดไปกับระบบปฏิบัติการ Apple DOS 3.3 ผ่านทาง boot sector ของฟล็อปปี้ดิสก์ ณ เวลานั้นผลของมันทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางคนนึกว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เกิดจากมนุษย์ต่างดาว เพราะทำให้การแสดงภาพที่จอกลับหัว, ทำตัวอักษรกระพริบ, ขึ้นข้อความต่างๆออกมา

ปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) Len Adleman แห่งมหาวิทยาลัย Lehigh ตั้งคำว่า "Virus" ว่าเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำสำเนาตัวเองได้ และในปีถัดมาใน Information security conference ครั้งที่ 7 Fred Cohen ได้ให้คำจำกัดความของคำ "computer virus" ว่าเป็นโปรแกรมที่สามารถติดต่อไปยังโปรแกรมอื่นโดยการแก้ไขโปรแกรมเดิมเพื่อแพร่ขยายตัวเอง

เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) Fred Cohen บิดาแห่งไวรัสศาสตร์ (Virology) ได้ใช้คอมพิวเตอร์ VAX 11/750 สาธิตว่าโปรแกรมไวรัสสามารถฝังตัวเข้าไปใน object อื่นได้

ปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) ไวรัสตัวคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ สร้างโดยโปรแกรมเมอร์อายุ 19 ปี ชาวปากีสถาน ชื่อ Basit Farooq และพี่ชายชื่อ Amjad เรียกชื่อ "Brain" ที่มีเป้าไปที่เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM Compatible ด้วยเหตุผลที่ว่าต้องการรู้ระดับของซอฟต์แวร์เถื่อนในประเทศตัวเอง แต่โชคไม่ดีที่การทดลองนี้หลุดออกมานอกประเทศ

ปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) โปรแกรมเมอร์ชาวเยอรมันชื่อ Ralf Burger พบวิธีตรวจจับโปรแกรมที่ copy ตัวเองโดยการเพิ่ม code บางตัวเข้าไปใน ไฟล์ COM version ที่ใช้ทดลองชื่อ Virdem ถูกนำมาแสดงในเดือนธันวาคม ที่ Hamburg เป็น forum ที่เหล่า hacker ที่ชำนาญในการ crack ระบบ VAX/VMS มารวมตัวกันชื่อ "Chaos Computer Club"

ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เกิดไวรัสระบาดที่ เวียนนา เป็นไวรัสที่ทำลายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตัวแรกที่ทำงานเต็มระบบ ส่งผลกระทบไปเกือบทั่วโลก ที่มาของไวรัสนี้เป็นประเด็นถกเถียงกันมาก เพราะคนที่อ้างว่าเป็นคนเขียนคือ Franz Svoboda แต่เมื่อสืบไปจึงพบว่าเขารับมาจาก Ralf Burger ซึ่งก็อ้างว่ารับมาจาก Svoboda เดิมชื่อไวรัสคือ "lovechild" แต่เพราะไม่สามารถหาคนให้กำเนิดได้จึงถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "orphan" (ลูกกำพร้า)

ปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เดือนธันวาคม เกิดการระบาดใต้ดินครั้งแรกในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชื่อ "Christmas Three" วันที่ 9 ไวรัสหลุดมาจาก เครือข่าย Bitnet ของมหาวิทยาลัย Western University ประเทศเยอรมนี ทะลุเข้าไปใน European Acadamic Research Network (EARN) และเข้าไป เครือข่าย IBM-Vnet เป็นเวลา 4 วัน เครื่องที่ติดไวรัสจะแสดงผลที่หน้าจอเป็นรูปต้นคริสต์มาสต์ และส่งไปให้ผู้ใช้อื่นๆในเครือข่าย

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) Peter Norton programmer ที่มีชื่อเสียง ผู้ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท Symantec ได้ออกมาประกาศว่าไวรัสคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องไร้สาระ โดยเปรียบว่าเป็นแค่จระเข้ที่อยู่ในท่อระบายน้ำเสียในนิวยอร์ก แต่ในที่สุดเขาเป็นผู้ที่ได้เริ่มต้น project Norton-AntiVirus

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) วันที่ 22 เดือนเมษายน เกิด forum ที่ถกกันเรื่อง security threat เป็นครั้งแรก ชื่อ Virus-L host ไว้ที่ Usebet สร้างโดย Ken Van Wyk เพื่อร่วมงานของ Fred Cohen ที่มหาวิทยาลัย Lehigh

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนตุลาคม มีการแพร่ข่าวไวรัสชื่อ Mr. "Rochenle" อย่างมากเป็นไวรัสประเภทหลอกลวง (HOAX) เป็นตัวแรก อ้างถึงชื่อบุคคลที่ไม่มีตัวตนชื่อ Mike RoChenle ("Microchannel") อ้างว่าไวรัสนี้สามารถส่งตัวเองไประหว่างโมเด็มด้วยความเร็ว 2400 bps ทำให้ความเร็วโมเด็มลดลงเหลือ 1200 bps และได้อธิบายวิธีการแก้ไขที่ไม่ได้มีผลอะไร แต่มีคนหลงเชื่อทำตามกันอย่างมากมาย

ปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) เดือนพฤศจิกายน มีหนอนเครือข่ายชื่อ "Morris" ระบาดอย่างหนักทำให้คอมพิวเตอร์กว่า 6000 เครื่องในอเมริการวมทั้งใน ศูนย์วิจัยของ NASA ติดไปด้วย ส่งผลกระทบให้การปฏิบัติงานหยุดโดยสิ้นเชิง เหตุเนื่องจากมี error ใน code ของ Morris ทำให้มัน copy ตัวเองไปที่เครือข่ายอื่นอย่างไม่จำกัดทำให้เครือข่ายรับไม่ไหว การระบาดครั้งนั้นทำให้สูญเสียเป็นมูลค่ากว่า 96 ล้านเหรียญสหรัฐ

โปรแกรมป้องกันไวรัส

โปรแกรมป้องกันไวรัส (อังกฤษ: Antivirus software) หรือในวงการเรียกว่า แอนติไวรัส/แอนติสปายแวร์ (Anti-Virus/Anti-Spyware) เป็นโปรแกรมที่สร้างขึ้นเพื่อป้องกันและกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์(ต่อจากนี้จะเรียกว่าไวรัส) จากผู้ไม่หวังดีทางอินเทอร์เน็ต

โปรแกรมป้องกันไวรัสมี 2 แบบใหญ่ๆ

  1. แอนติไวรัส เป็นโปรแกรมโปรแกรมป้องกันไวรัสทั่วๆไป จะค้นหาและทำลายไวรัสในคอมพิวเตอร์ของเรา
  2. แอนติสปายแวร์ เป็นโปรแกรมป้องกันการโจรกรรมข้อมูล จากไวรัสสปายแวร์ และจากแฮ็คเกอร์ รวมถึงการกำจัด Adware ซึ่งเป็นป๊อปอัพโฆษณาอีกด้วย

โปรแกรมป้องกันไวรัสจะค้นหาและทำลายไวรัสที่ไฟล์โดยตรง แต่ในทุกๆวันจะมีไวรัสชนิดใหม่เกิดขึ้นมาเสมอ ทำให้เราต้องอัปเดตโปรแกรมป้องกันไวรัสตลอดเวลาเพื่อให้คอมพิวเตอร์ของเราปลอดภัย โดยแอนติไวรัสจะมีหลายรูปแบบตามบริษัทกันไปและแต่ละบริษัทจะมีการอัปเดตและการป้องกันไม่เหมือนกัน แต่ในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวไม่ควรมีแอนติไวรัส 2 โปรแกรมเพราะจะทำให้โปรแกรมขัดแย้งกันเองจนไม่สามารถใช้งานได้

รายชื่อของโปรแกรมป้องกันไวรัสและโปรแกรมป้องกันสปายแวร์

(ชื่อของโปรแกรมอาจจะคล้ายกันเช่น McAfee VirusScan,McAfee AntiSpyware มาจากแมคคาฟีเหมือนกันแต่คนละประเภท คนละโปรแกรม)

อ้างอิง

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 477 คน กำลังออนไลน์