• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:179de09a97e0b0c443c262600adbdde7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b>จันทรุปราคา</b> (เรียกได้หลายอย่าง ตัวอย่างเช่น <b>จันทรคาธ</b>, <b>จันทรคราส</b>, <b>ราหูอมจันทร์</b> หรือ <b>กบกินเดือน</b>) คือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อ<span style=\"color: #002bb8\">ดวงอาทิตย์</span>, <span style=\"color: #002bb8\">โลก</span> และ<span style=\"color: #002bb8\">ดวงจันทร์</span> เรียงอยู่ในแนวเดียวกันพอดี หากเกิดขึ้นในช่วงพระจันทร์เต็มดวง เมื่อดวงจันทร์ผ่านเงาของโลก จะเรียกว่า <i>จันทรุปราคา</i> ปรากฏการณ์จันทรุปราคาแม้จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่มีอิทธิพลต่อความคิดและความเชื่อในหลายวัฒนธรรมมาช้านาน รวมทั้งของไทยด้วย ซึ่งลักษณะของจันทรุปราคาขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดวงจันทร์ที่เคลื่อนที่ผ่านเงาของโลกในเวลานั้นๆ<img height=\"188\" width=\"250\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/7/7b/Lunar_eclipse01.JPEG/250px-Lunar_eclipse01.JPEG\" class=\"thumbimage\" style=\"width: 218px; height: 137px\" />\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\" id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.80.E0.B8.A0.E0.B8.97.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.88.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.B8.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.84.E0.B8.B2\">ประเภทของจันทรุปราคา</span>\n</p>\n<div class=\"thumb tleft\">\n<div class=\"thumbinner\" style=\"width: 182px\">\n<img height=\"167\" width=\"180\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/8/8b/Lunar_eclipse.gif\" class=\"thumbimage\" /> \n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n</div>\n<p>ขั้นตอนการเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง\n</p></div>\n</div>\n</div>\n<ul>\n<li><b>จันทรุปราคาเงามัว</b>* เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่านเงามัวของโลก จันทรุปราคาลักษณะนี้จะสังเกตเห็นได้ไม่ชัดเจนมากนัก เนื่องจากความสว่างของดวงจันทร์จะลดลงไปเพียงเล็กน้อยเท่านั้น </li>\n</ul>\n<ul>\n<li><b>จันทรุปราคาเงามัวเต็มดวง</b> เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่เข้าไปในเงามัวของโลกทั้งดวงแต่ไม่ได้เข้าไปอยู่ในบริเวณเงามืด ดวงจันทร์ด้านที่อยู่ใกล้เงามืดมากกว่าจะมืดกว่าด้านที่อยู่ไกลออกไป จันทรุปราคาลักษณะนี้เกิดขึ้นไม่บ่อยนัก </li>\n</ul>\n<ul>\n<li><b>จันทรุปราคาเต็มดวง</b>* เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่เข้าสู่เงามืดของโลกทั้งดวง ดวงจันทร์จะอยู่ภายใต้เงามืดของโลกนานเกือบ 107 นาที เนื่องจากดวงจันทร์เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วประมาณ 1 กิโลเมตรต่อวินาที แต่หากนับเวลาตั้งแต่ดวงจันทร์เริ่มเคลื่อนเข้าสู่เงามืดจนออกจากเงามืดทั้งดวง อาจกินเวลาถึง 6 ชั่วโมง 14 นาที </li>\n</ul>\n<ul>\n<li><b>จันทรุปราคาบางส่วน</b> เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่านเงามืดของโลกเพียงบางส่วน จันทรุปราคาเกิดจากประมาณว่าดวงจันทรืมาบังดวงอาทิตย์ </li>\n</ul>\n<p>\n<br clear=\"all\" /><br />\n<span class=\"mw-headline\" id=\".E0.B8.A5.E0.B8.B1.E0.B8.81.E0.B8.A9.E0.B8.93.E0.B8.B0.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.94.E0.B8.A7.E0.B8.87.E0.B8.88.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B9.8C.E0.B9.80.E0.B8.A1.E0.B8.B7.E0.B9.88.E0.B8.AD.E0.B9.80.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B8.94.E0.B8.88.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.B8.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.84.E0.B8.B2.E0.B9.80.E0.B8.95.E0.B9.87.E0.B8.A1.E0.B8.94.E0.B8.A7.E0.B8.87\">ลักษณะของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง</span>\n</p>\n<div class=\"center\">\n<div class=\"floatnone\">\n<img height=\"78\" width=\"800\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/thumb/6/6e/Moon-eclipse5May04.jpg/800px-Moon-eclipse5May04.jpg\" alt=\"จันทรุปราคาเต็มดวงในไทย วันที่ 5 พค.2547\" />\n</div>\n</div>\n<p>\nเมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ดวงจันทร์ไม่ได้หายไปจนมืดทั้งดวง แต่จะเห็นเป็นสีแดงอิฐ เนื่องจากมีการหักเหของแสงอาทิตย์เมื่อส่องผ่านชั้นบรรยากาศของโลก สีของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาแต่ละครั้งจะไม่เหมือนกัน แบ่งออกได้เป็น 5 ระดับ ดังนี้\n</p>\n<dl>\n<dd>\n<ul>\n<li>ระดับ 0 ดวงจันทร์มืดจนแทบมองไม่เห็น </li>\n<li>ระดับ 1 ดวงจันทร์มืด เห็นเป็นสีเทาหรือสีน้ำตาลแต่มองไม่เห็นรายละเอียด ลักษณะพื้นผิวของดวงจันทร์ </li>\n<li>ระดับ 2 ดวงจันทร์มีสีแดงเข้มบริเวณด้านในของเงามืด และมีสีเหลืองสว่างบริเวณด้านนอกของเงามืด </li>\n<li>ระดับ 3 ดวงจันทร์มีสีแดงอิฐและมีสีเหลืองสว่างบริเวณขอบของเงามืด </li>\n<li>ระดับ 4 ดวงจันทร์สว่างสีทองแดงหรือสีส้ม ด้านขอบของเงาสว่างมาก </li>\n</ul>\n</dd>\n</dl>\n<table cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" class=\"gallery\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div class=\"gallerybox\" style=\"width: 155px\">\n<div class=\"thumb\" style=\"padding-bottom: 13px; padding-left: 0px; width: 150px; padding-right: 0px; padding-top: 13px\">\n<div style=\"width: 120px; margin-left: auto; margin-right: auto\">\n <img height=\"120\" width=\"120\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/c/c8/Lunar-eclipse-09-11-2003.jpeg/120px-Lunar-eclipse-09-11-2003.jpeg\" />\n </div>\n</div>\n<div class=\"gallerytext\">\n<p>\n จันทรุปราคาเต็มดวง (ระดับ 4)\n </p>\n</div>\n</div>\n</td>\n<td>\n<div class=\"gallerybox\" style=\"width: 155px\">\n<div class=\"thumb\" style=\"padding-bottom: 13px; padding-left: 0px; width: 150px; padding-right: 0px; padding-top: 13px\">\n<div style=\"width: 120px; margin-left: auto; margin-right: auto\">\n <img height=\"120\" width=\"120\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/thumb/5/59/Lunar-partial-eclipse.jpg/120px-Lunar-partial-eclipse.jpg\" />\n </div>\n</div>\n<div class=\"gallerytext\">\n<p>\n จันทรุปราคาบางส่วน (ราว 1 ใน 5) ในกรุงเทพฯ เมื่อ 8 ก.ย. 2549 เวลา 01.25 น.\n </p>\n</div>\n</div>\n</td>\n<td>\n<div class=\"gallerybox\" style=\"width: 155px\">\n<div class=\"thumb\" style=\"padding-bottom: 30px; padding-left: 0px; width: 150px; padding-right: 0px; padding-top: 30px\">\n<div style=\"width: 120px; margin-left: auto; margin-right: auto\">\n <img height=\"86\" width=\"120\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/thumb/e/ee/Evnt_UmbrelMoon40307_02.JPG/120px-Evnt_UmbrelMoon40307_02.JPG\" />\n </div>\n</div>\n<div class=\"gallerytext\">\n<p>\n จันทรุปราคาเต็มดวง (ขณะเริ่มสัมผัส) เช้ามืดวันที่ <span style=\"color: #002bb8\">4 มีนาคม</span> <span style=\"color: #002bb8\">พ.ศ. 2550</span> มองจาก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี\n </p>\n</div>\n</div>\n</td>\n<td>\n<div class=\"gallerybox\" style=\"width: 155px\">\n<div class=\"thumb\" style=\"padding-bottom: 31px; padding-left: 0px; width: 150px; padding-right: 0px; padding-top: 31px\">\n<div style=\"width: 120px; margin-left: auto; margin-right: auto\">\n <img height=\"83\" width=\"120\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/thumb/d/d8/Evnt_UmbrelMoon40307_01.JPG/120px-Evnt_UmbrelMoon40307_01.JPG\" />\n </div>\n</div>\n<div class=\"gallerytext\">\n<p>\n จันทรุปราคาเต็มดวง ระดับ 0 เช้ามืดวันที่ <span style=\"color: #002bb8\">4 มีนาคม</span> <span style=\"color: #002bb8\">พ.ศ. 2550</span> มองจาก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี\n </p>\n</div>\n</div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<div class=\"gallerybox\" style=\"width: 155px\">\n<div class=\"thumb\" style=\"padding-bottom: 28px; padding-left: 0px; width: 150px; padding-right: 0px; padding-top: 28px\">\n<div style=\"width: 120px; margin-left: auto; margin-right: auto\">\n <img height=\"90\" width=\"120\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/1/1e/December_2009_lunar_eclipse.jpg/120px-December_2009_lunar_eclipse.jpg\" />\n </div>\n</div>\n<div class=\"gallerytext\">\n<p>\n จันทรุปราคาบางส่วน เช้ามืดวันที่ <span style=\"color: #002bb8\">1 มกราคม</span> <span style=\"color: #002bb8\">พ.ศ. 2553</span> เวลา 02.55 น. มองจาก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี\n </p>\n</div>\n</div>\n</td>\n<td>\n<div class=\"gallerybox\" style=\"width: 155px\">\n<div class=\"thumb\" style=\"padding-bottom: 13px; padding-left: 0px; width: 150px; padding-right: 0px; padding-top: 13px\">\n<div style=\"width: 120px; margin-left: auto; margin-right: auto\">\n <img height=\"120\" width=\"120\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/8/80/Lunar_Eclipse_1st_Jan_2010.jpg/120px-Lunar_Eclipse_1st_Jan_2010.jpg\" />\n </div>\n</div>\n<div class=\"gallerytext\">\n<p>\n จันทรุปราคาบางส่วน เช้ามืดวันที่ <span style=\"color: #002bb8\">1 มกราคม</span> <span style=\"color: #002bb8\">พ.ศ. 2553</span> จาก<span style=\"color: #002bb8\">ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์</span> ขณะที่<span style=\"color: #ba0000\">เงามืด</span>เข้าไปใน<span style=\"color: #002bb8\">ดวงจันทร์</span>ลึกที่สุด\n </p>\n</div>\n</div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<div class=\"thumb tleft\">\n<div class=\"thumbinner\" style=\"width: 402px\">\n<img height=\"36\" width=\"400\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/af/Lunar_eclipse_040307_bangkok.jpg/400px-Lunar_eclipse_040307_bangkok.jpg\" class=\"thumbimage\" /> \n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n<img height=\"11\" width=\"15\" src=\"http://bits.wikimedia.org/skins-1.5/common/images/magnify-clip.png\" />\n</div>\n<p>ภาพชุดจันทรุปราคาเต็มดวงในไทย เช้ามืดวันที่ <span style=\"color: #002bb8\">4 มีนาคม</span> <span style=\"color: #002bb8\">พ.ศ. 2550</span> เกิดการหักเหของแสงเป็นสีส้ม เมื่อใกล้คราสเต็มดวง\n</p></div>\n</div>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h2><span class=\"editsection\">[<span style=\"color: #002bb8\">แก้</span>]</span> <span class=\"mw-headline\" id=\".E0.B8.9B.E0.B8.B1.E0.B8.88.E0.B8.88.E0.B8.B1.E0.B8.A2.E0.B9.83.E0.B8.99.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.80.E0.B8.81.E0.B8.B4.E0.B8.94.E0.B8.88.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.97.E0.B8.A3.E0.B8.B8.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.84.E0.B8.B2\">ปัจจัยในการเกิดจันทรุปราคา</span></h2>\n<p>\nจันทรุปราคาไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยๆ เนื่องจากระนาบการโคจรของโลกรอบ<span style=\"color: #002bb8\">ดวงอาทิตย์</span>และระนาบการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกทำมุมกัน 5 องศา ในการเกิดจันทรุปราคา ดวงจันทร์จะต้องอยู่บริเวณจุดตัดของระนาบวงโคจรทั้งสอง และต้องอยู่ใกล้จุดตัดนั้นมาก จึงจะเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงหรือจันทรุปราคาบางส่วนได้\n</p>\n<p>\nระยะห่างระหว่างโลกและดวงจันทร์มีผลต่อความเข้มของจันทรุปราคาด้วย นอกจากนี้ หากดวงจันทร์อยู่ในตำแหน่งที่ห่างจากโลกมากที่สุด (apogee) จะทำให้ระยะเวลาในการเกิดจันทรุปราคานานขึ้น ด้วยเหตุผล 2 ประการ คือ\n</p>\n<dl>\n<dd>\n<dl>\n<dd>1 ดวงจันทร์จะเคลื่อนที่อย่างช้าๆ เพราะตำแน่งนี้เป็นตำแหน่งที่ดวงจันทร์เคลื่อนที่ช้าที่สุดตลอดการโคจรรอบโลก </dd>\n<dd>2 ดวงจันทร์ที่มองเห็นจากโลกจะมีขนาดเล็ก จะเคลื่อนที่ผ่านเงาของโลกไปทีละน้อย ทำให้อยู่ในเงามืดนานขึ้น </dd>\n</dl>\n</dd>\n</dl>\n<p>\nในทุกๆ ปีจะมีจันทรุปราคาเกิดขึ้นอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง หากเก็บสถิติการเกิดจันทรุปราคาแล้ว จะสามารถทำนายวันเวลาในการเกิดจันทรุปราคาครั้งต่อไปได้\n</p>\n<p>\nการสังเกตจันทรุปราคาแตกต่างจาก<span style=\"color: #002bb8\">สุริยุปราคา</span> จันทรุปราคาส่วนใหญ่จะสามารถสังเกตได้จากบริเวณใดๆ บนโลกที่อยู่ในช่วงเวลากลางคืนขณะนั้น ขณะที่สุริยุปราคาจะสามารถสังเกตได้เพียงบริเวณเล็กๆ เท่านั้น\n</p>\n<p>\nหากขึ้นไปยืนอยู่บนพื้นผิวของดวงจันทร์ขณะที่เกิดจันทรุปราคาบนโลก ก็จะสามารถเห็นการเกิดสุริยุปราคาบนดวงจันทร์ได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้ เนื่องจากการที่โลกกำลังบังดวงอาทิตย์อยู่ในเวลานั้น\n</p>\n', created = 1729394990, expire = 1729481390, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:179de09a97e0b0c443c262600adbdde7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเกิดจันทรุปราคา

จันทรุปราคา (เรียกได้หลายอย่าง ตัวอย่างเช่น จันทรคาธ, จันทรคราส, ราหูอมจันทร์ หรือ กบกินเดือน) คือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อดวงอาทิตย์, โลก และดวงจันทร์ เรียงอยู่ในแนวเดียวกันพอดี หากเกิดขึ้นในช่วงพระจันทร์เต็มดวง เมื่อดวงจันทร์ผ่านเงาของโลก จะเรียกว่า จันทรุปราคา ปรากฏการณ์จันทรุปราคาแม้จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่มีอิทธิพลต่อความคิดและความเชื่อในหลายวัฒนธรรมมาช้านาน รวมทั้งของไทยด้วย ซึ่งลักษณะของจันทรุปราคาขึ้นอยู่กับตำแหน่งของดวงจันทร์ที่เคลื่อนที่ผ่านเงาของโลกในเวลานั้นๆ

ประเภทของจันทรุปราคา

ขั้นตอนการเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง

  • จันทรุปราคาเงามัว* เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่านเงามัวของโลก จันทรุปราคาลักษณะนี้จะสังเกตเห็นได้ไม่ชัดเจนมากนัก เนื่องจากความสว่างของดวงจันทร์จะลดลงไปเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
  • จันทรุปราคาเงามัวเต็มดวง เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่เข้าไปในเงามัวของโลกทั้งดวงแต่ไม่ได้เข้าไปอยู่ในบริเวณเงามืด ดวงจันทร์ด้านที่อยู่ใกล้เงามืดมากกว่าจะมืดกว่าด้านที่อยู่ไกลออกไป จันทรุปราคาลักษณะนี้เกิดขึ้นไม่บ่อยนัก
  • จันทรุปราคาเต็มดวง* เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่เข้าสู่เงามืดของโลกทั้งดวง ดวงจันทร์จะอยู่ภายใต้เงามืดของโลกนานเกือบ 107 นาที เนื่องจากดวงจันทร์เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วประมาณ 1 กิโลเมตรต่อวินาที แต่หากนับเวลาตั้งแต่ดวงจันทร์เริ่มเคลื่อนเข้าสู่เงามืดจนออกจากเงามืดทั้งดวง อาจกินเวลาถึง 6 ชั่วโมง 14 นาที
  • จันทรุปราคาบางส่วน เกิดขึ้นเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่านเงามืดของโลกเพียงบางส่วน จันทรุปราคาเกิดจากประมาณว่าดวงจันทรืมาบังดวงอาทิตย์



ลักษณะของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง

จันทรุปราคาเต็มดวงในไทย วันที่ 5 พค.2547

เมื่อเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง ดวงจันทร์ไม่ได้หายไปจนมืดทั้งดวง แต่จะเห็นเป็นสีแดงอิฐ เนื่องจากมีการหักเหของแสงอาทิตย์เมื่อส่องผ่านชั้นบรรยากาศของโลก สีของดวงจันทร์เมื่อเกิดจันทรุปราคาแต่ละครั้งจะไม่เหมือนกัน แบ่งออกได้เป็น 5 ระดับ ดังนี้

  • ระดับ 0 ดวงจันทร์มืดจนแทบมองไม่เห็น
  • ระดับ 1 ดวงจันทร์มืด เห็นเป็นสีเทาหรือสีน้ำตาลแต่มองไม่เห็นรายละเอียด ลักษณะพื้นผิวของดวงจันทร์
  • ระดับ 2 ดวงจันทร์มีสีแดงเข้มบริเวณด้านในของเงามืด และมีสีเหลืองสว่างบริเวณด้านนอกของเงามืด
  • ระดับ 3 ดวงจันทร์มีสีแดงอิฐและมีสีเหลืองสว่างบริเวณขอบของเงามืด
  • ระดับ 4 ดวงจันทร์สว่างสีทองแดงหรือสีส้ม ด้านขอบของเงาสว่างมาก

ภาพชุดจันทรุปราคาเต็มดวงในไทย เช้ามืดวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2550 เกิดการหักเหของแสงเป็นสีส้ม เมื่อใกล้คราสเต็มดวง

 

[แก้] ปัจจัยในการเกิดจันทรุปราคา

จันทรุปราคาไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยๆ เนื่องจากระนาบการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์และระนาบการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกทำมุมกัน 5 องศา ในการเกิดจันทรุปราคา ดวงจันทร์จะต้องอยู่บริเวณจุดตัดของระนาบวงโคจรทั้งสอง และต้องอยู่ใกล้จุดตัดนั้นมาก จึงจะเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงหรือจันทรุปราคาบางส่วนได้

ระยะห่างระหว่างโลกและดวงจันทร์มีผลต่อความเข้มของจันทรุปราคาด้วย นอกจากนี้ หากดวงจันทร์อยู่ในตำแหน่งที่ห่างจากโลกมากที่สุด (apogee) จะทำให้ระยะเวลาในการเกิดจันทรุปราคานานขึ้น ด้วยเหตุผล 2 ประการ คือ

1 ดวงจันทร์จะเคลื่อนที่อย่างช้าๆ เพราะตำแน่งนี้เป็นตำแหน่งที่ดวงจันทร์เคลื่อนที่ช้าที่สุดตลอดการโคจรรอบโลก
2 ดวงจันทร์ที่มองเห็นจากโลกจะมีขนาดเล็ก จะเคลื่อนที่ผ่านเงาของโลกไปทีละน้อย ทำให้อยู่ในเงามืดนานขึ้น

ในทุกๆ ปีจะมีจันทรุปราคาเกิดขึ้นอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง หากเก็บสถิติการเกิดจันทรุปราคาแล้ว จะสามารถทำนายวันเวลาในการเกิดจันทรุปราคาครั้งต่อไปได้

การสังเกตจันทรุปราคาแตกต่างจากสุริยุปราคา จันทรุปราคาส่วนใหญ่จะสามารถสังเกตได้จากบริเวณใดๆ บนโลกที่อยู่ในช่วงเวลากลางคืนขณะนั้น ขณะที่สุริยุปราคาจะสามารถสังเกตได้เพียงบริเวณเล็กๆ เท่านั้น

หากขึ้นไปยืนอยู่บนพื้นผิวของดวงจันทร์ขณะที่เกิดจันทรุปราคาบนโลก ก็จะสามารถเห็นการเกิดสุริยุปราคาบนดวงจันทร์ได้ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้ เนื่องจากการที่โลกกำลังบังดวงอาทิตย์อยู่ในเวลานั้น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 379 คน กำลังออนไลน์

                       


Warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('', 'node/58002', '', '3.17.187.198', 0, '2fdfe6cc032765af827ae2dedf2b2c72', 11, 1729396532) in /home/tgv/htdocs/includes/database.mysql.inc on line 135