• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:62401354b245fc6c4863d30b8dfc4ccf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><strong>วันมาฆบูชา </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\">ความหมายของวันมาฆบูชา</span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"background-color: #ffff00\"></span></span><span style=\"color: #800080\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\">คำว่า <strong>&quot;มาฆะ&quot;</strong> นั้น เป็นชื่อของเดือน 3 ย่อมาจากคำว่า <strong>&quot;มาฆบุรณมี&quot;</strong> หมายถึง การบูชาพระในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะตามปฏิทินของอินเดีย หรือเดือน 3 </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #800080\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\">การกำหนดวันมาฆบูชา</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\">การกำหนดวันมาฆบูชาตามปฏิทินจันทรคติของไทยนั้นจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 แต่ถ้าปีใดมีเดือนอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองครั้ง วันมาฆบูชาก็จะเลื่อนไปเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 และมักตรงกับเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม<br />\n</span></span></p>\n<p><span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\">ความสำคัญและประวัติของวันมาฆบูชา</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\"> ความสำคัญของวันมาฆบูชา คือเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง <strong>&quot;โอวาทปาติโมกข์&quot;</strong> แก่พระสงฆ์เป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้มาแล้วเป็นเวลา 9 เดือน ซึ่งหลักคำสอนนี้เป็นหลักการ และวิธีการปฏิบัติต่างๆ หากสรุปเป็นใจความสำคัญ จะมีเนื้อหาว่า <strong>&quot;ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์&quot;</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"> </span><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\">หลักธรรมที่ควรนำไปปฏิบัติ</span></span><br />\n</span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><strong> </strong> หลักธรรมที่ควรนำไปปฏิบัติคือ &quot;โอวาทปาติโมกข์&quot; ซึ่งเป็นหลักคำสอนสำคัญอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เพื่อไปสู่ความหลุดพ้น หลักธรรมประกอบด้วย หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 และวิธีการ 6 ดังนี้</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">หลักการ 3 คือหลักคำสอนที่ควรปฏิบัติ ได้แก่</span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>1.การไม่ทำบาปทั้งปวง</strong> คือ การลด ละ เลิก ทำบาปทั้งปวง อันได้แก่ อกุศลกรรมบถ 10 ซึ่งเป็นทางแห่งความชั่ว 10 ประการที่เป็นความชั่วทางกาย (การฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ การประพฤติผิดในกาม) ทางวาจา (การพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดเพ้อเจ้อ) และทางใจ (การอยากได้สมบัติของผู้อื่น การผูกพยาบาท และความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม)</span></span></p>\n<p>          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>2.การทำกุศลให้ถึงพร้อม</strong> คือ การทำความดีทุกอย่างตาม กุศลกรรมบถ 10 ทั้งความดีทางกาย (ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้มาเป็นของตน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่ประพฤติผิดในกาม) ความดีทางวาจา (ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดหยาบคาย ไม่พูดเพ้อเจ้อ) และความดีทางใจ (ไม่โลภอยากได้ของผู้อื่น มีความเมตตาปรารถนาดี มีความเข้าใจถูกต้องตามทำนองคลองธรรม)</p>\n<p>          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>3.การทำจิตใจให้ผ่องใส</strong> คือ ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ หลุดจากนิวรณ์ที่คอยขัดขวางจิตใจไม่ให้เข้าถึงความสงบ ได้แก่ ความพอใจในกาม, ความพยาบาท, ความหดหู่ท้อแท้, ความฟุ้งซ่าน และความลังเลสงสัย</p>\n<p>        <strong>  ซึ่งทั้ง 3 หลักการข้างต้น สามารถสรุปใจความสำคัญได้ว่า &quot;ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์&quot; นั่นเอง</strong></p>\n<p><br />\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><img border=\"0\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/204138.gif\" /> อุดมการณ์ 4 ได้แก่</span></strong></p>\n<p>          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>1.ความอดทน อดกลั้น</strong> คือ ไม่ทำบาปทั้งกาย วาจา ใจ<br />\n          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>2.ความไม่เบียดเบียน</strong> คือ งดเว้นจากการทำร้าย หรือ เบียดเบียนผู้อื่น<br />\n          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>3. ความสงบ</strong> ได้แก่ การปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย ทางวาจาและทางใจ<br />\n          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>4. นิพพาน</strong> ได้แก่ การดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><img border=\"0\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/204138.gif\" /> วิธีการ 6 ได้แก่</span></strong></p>\n<p>          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>1.ไม่ว่าร้าย</strong> คือ ไม่กล่าวให้ร้าย โจมตีใคร<br />\n          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" />2.ไม่ทำร้าย คือ การไม่เบียดเบียนผู้อื่น<br />\n          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>3.สำรวมในปาติโมกข์</strong> คือ เคารพระเบียบวินัย กฎกติกา รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของสังคม<br />\n          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>4.รู้จักประมาณ</strong> คือ รู้จักความพอดีในการบริโภค รวมทั้งการใช้สอยสิ่งต่างๆ<br />\n          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>5.อยู่ในสถานที่สงัด</strong> คือ อยู่ในสถานที่ที่มีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม<br />\n          <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann56.gif\" /><strong>6.ฝึกหัดจิตใจให้สงบ</strong> คือ การฝึกหัดชำระจิตใจให้สงบ มีประสิทธิภาพที่ดี</p>\n<p>\n<img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/ann-113_2.gif\" /> <strong><span style=\"background-color: #ffff00\">กิจกรรมต่างๆ ที่ควรปฏิบัติในวันมาฆบูชา</span></strong></p>\n<p>          การปฏิบัติตนสำหรับพุทธศาสนิกชนในวันมาฆบูชาคือ คือ ในตอนเช้า ควรไปทำบุญตักบาตร ไปวัดเพื่อฟังพระธรรมเทศนา หรือจัดสำรับคาวหวานไปทำบุญถวายภัตตาหาร ช่วงบ่ายฟังพระแสดงพระธรรมเทศนา เจริญสมาธิภาวนา เมื่อถึงตอนค่ำ นำดอกไม้ ธุปเทียนไปเวียนเทียน 3 รอบที่พระอุโบสถ โดยการเวียนเทียนนั้นจะเวียนขวา จำนวน 3 รอบ และช่วงเวลาที่เดินอยู่นั้นให้ระลึกถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์<br />\nนอกจากนี้พุทธศาสนิกชนควรบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ตามสถานที่ต่างๆ และรักษาศีล สำหรับตามบ้านเรือน สถานที่ราชการ จะมีการประดับธงชาติ ธงธรรมจักร เพื่อระลึกถึงวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา <br />\n\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" width=\"291\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/variety/01_221.jpg\" alt=\"มาฆบูชา\" height=\"350\" style=\"width: 291px; height: 350px\" /></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\">ที่มา  </span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #008000; background-color: #ffffff\">                 hilight.kapook.com/view/20696</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><strong><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1727564972, expire = 1727651372, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:62401354b245fc6c4863d30b8dfc4ccf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วันมาฆบูชา

รูปภาพของ skk05755

วันมาฆบูชา

ความหมายของวันมาฆบูชา

คำว่า "มาฆะ" นั้น เป็นชื่อของเดือน 3 ย่อมาจากคำว่า "มาฆบุรณมี" หมายถึง การบูชาพระในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะตามปฏิทินของอินเดีย หรือเดือน 3


การกำหนดวันมาฆบูชา

การกำหนดวันมาฆบูชาตามปฏิทินจันทรคติของไทยนั้นจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 แต่ถ้าปีใดมีเดือนอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองครั้ง วันมาฆบูชาก็จะเลื่อนไปเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 และมักตรงกับเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคม

ความสำคัญและประวัติของวันมาฆบูชา

 ความสำคัญของวันมาฆบูชา คือเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาติโมกข์" แก่พระสงฆ์เป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้มาแล้วเป็นเวลา 9 เดือน ซึ่งหลักคำสอนนี้เป็นหลักการ และวิธีการปฏิบัติต่างๆ หากสรุปเป็นใจความสำคัญ จะมีเนื้อหาว่า "ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์"

 หลักธรรมที่ควรนำไปปฏิบัติ

  หลักธรรมที่ควรนำไปปฏิบัติคือ "โอวาทปาติโมกข์" ซึ่งเป็นหลักคำสอนสำคัญอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เพื่อไปสู่ความหลุดพ้น หลักธรรมประกอบด้วย หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 และวิธีการ 6 ดังนี้

หลักการ 3 คือหลักคำสอนที่ควรปฏิบัติ ได้แก่

1.การไม่ทำบาปทั้งปวง คือ การลด ละ เลิก ทำบาปทั้งปวง อันได้แก่ อกุศลกรรมบถ 10 ซึ่งเป็นทางแห่งความชั่ว 10 ประการที่เป็นความชั่วทางกาย (การฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ การประพฤติผิดในกาม) ทางวาจา (การพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดเพ้อเจ้อ) และทางใจ (การอยากได้สมบัติของผู้อื่น การผูกพยาบาท และความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม)

          2.การทำกุศลให้ถึงพร้อม คือ การทำความดีทุกอย่างตาม กุศลกรรมบถ 10 ทั้งความดีทางกาย (ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้มาเป็นของตน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่ประพฤติผิดในกาม) ความดีทางวาจา (ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดหยาบคาย ไม่พูดเพ้อเจ้อ) และความดีทางใจ (ไม่โลภอยากได้ของผู้อื่น มีความเมตตาปรารถนาดี มีความเข้าใจถูกต้องตามทำนองคลองธรรม)

          3.การทำจิตใจให้ผ่องใส คือ ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ หลุดจากนิวรณ์ที่คอยขัดขวางจิตใจไม่ให้เข้าถึงความสงบ ได้แก่ ความพอใจในกาม, ความพยาบาท, ความหดหู่ท้อแท้, ความฟุ้งซ่าน และความลังเลสงสัย

          ซึ่งทั้ง 3 หลักการข้างต้น สามารถสรุปใจความสำคัญได้ว่า "ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์" นั่นเอง


 อุดมการณ์ 4 ได้แก่

          1.ความอดทน อดกลั้น คือ ไม่ทำบาปทั้งกาย วาจา ใจ
          2.ความไม่เบียดเบียน คือ งดเว้นจากการทำร้าย หรือ เบียดเบียนผู้อื่น
          3. ความสงบ ได้แก่ การปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย ทางวาจาและทางใจ
          4. นิพพาน ได้แก่ การดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา

 วิธีการ 6 ได้แก่

          1.ไม่ว่าร้าย คือ ไม่กล่าวให้ร้าย โจมตีใคร
          2.ไม่ทำร้าย คือ การไม่เบียดเบียนผู้อื่น
          3.สำรวมในปาติโมกข์ คือ เคารพระเบียบวินัย กฎกติกา รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของสังคม
          4.รู้จักประมาณ คือ รู้จักความพอดีในการบริโภค รวมทั้งการใช้สอยสิ่งต่างๆ
          5.อยู่ในสถานที่สงัด คือ อยู่ในสถานที่ที่มีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
          6.ฝึกหัดจิตใจให้สงบ คือ การฝึกหัดชำระจิตใจให้สงบ มีประสิทธิภาพที่ดี

 กิจกรรมต่างๆ ที่ควรปฏิบัติในวันมาฆบูชา

          การปฏิบัติตนสำหรับพุทธศาสนิกชนในวันมาฆบูชาคือ คือ ในตอนเช้า ควรไปทำบุญตักบาตร ไปวัดเพื่อฟังพระธรรมเทศนา หรือจัดสำรับคาวหวานไปทำบุญถวายภัตตาหาร ช่วงบ่ายฟังพระแสดงพระธรรมเทศนา เจริญสมาธิภาวนา เมื่อถึงตอนค่ำ นำดอกไม้ ธุปเทียนไปเวียนเทียน 3 รอบที่พระอุโบสถ โดยการเวียนเทียนนั้นจะเวียนขวา จำนวน 3 รอบ และช่วงเวลาที่เดินอยู่นั้นให้ระลึกถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
นอกจากนี้พุทธศาสนิกชนควรบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ตามสถานที่ต่างๆ และรักษาศีล สำหรับตามบ้านเรือน สถานที่ราชการ จะมีการประดับธงชาติ ธงธรรมจักร เพื่อระลึกถึงวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

มาฆบูชา

ที่มา 

                 hilight.kapook.com/view/20696

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 313 คน กำลังออนไลน์