นิทานพื้นบ้าน

รูปภาพของ pnp31217

แหล่งอ้างอิงรูปภาพ : http://www.panyathai.or.th/wiki/images/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2.jpg

 ตัวอย่างนิทานพื้นบ้านที่เรารู้จักกันดี

 แก้วหน้าม้า

         กาลครั้งหนึ่ง ยังมีหญิงสาวหน้าตาเป็นม้า ชื่อ แก้วมณี เหตุที่ชื่อนี้ เมื่อก่อนคลอด แม่ของนาง ฝันเห็นเทวดานำดวงแก้วมณีมาให้ จึงตั้งชื่อนี้ แก้วมณีเป็นหญิงมีน้ำใจโอบอ้อมอารี เป็นมิตรกับทุกคน ครั้งหนึ่งเมื่อนางไปเลี้ยงควายมีว่าวของพระปิ่นทองลอยมาตกต่อหน้านาง พระปิ่นทองตามมาเอาคืน อย่างไรก็ไม่ได้ จนกระทั่งพระปิ่นทอง หลุดปากออกว่าจะรับนางเป็นเมียใจจริงพระปิ่นทองเกลียดนางแก้วยิ่งนัก นางจึงคืนให้ และสั่งต่อมาจะมารับภายใน 3 วัน นางคอยแล้วคอยเล่าก็มิเห็นแม้เงา พ่อกับแม่จึงจะเข้าวังหลวง ไปทวงสัญญา พระนางนันทา แม่ของพระโอรสปิ่นทองเห็นดีจึงให้เข้าวังมา ด้วยวอทอง ต่อมาไม่นานท้าวภูวดล พ่อของพระปิ่นทองซึ่งเกลียดนางแก้วมณีมาก มีคำสั่งให้นางนั้นไปยกเขาพระสุเมรุมาไว้ในวัง มิอย่างนั้น จะถูกประหารและไม่ได้แต่งงานกับปิ่นทอง เพราะรักพระปิ่นทองนางจึงจำใจไป หนทางนั้นลำบากมาก จนไปถึงอาศรมฤาษี ฤาษีสอนมนต์ถอดหน้าม้าเป็นหญิงสวยได้ พร้อมอาวุฒมีดอีโต้กับเรือเหาะ และชี้ทางไปเขาพระสุเมรุ และนางก็นำกลับวัง แต่สายไป พระปิ่นทองได้เดินทางไปแต่งงานกับ พระธิดาธัศมาลี แห่งเมืองโรมวิถี นางจึงถอดหน้าม้าตามไป และได้เสียกับพระปิ่นทอง ระหว่างทางกลับผ่านเมืองยักษ์ แก้วแปลงกายเป็นชายสู้กับยักษ์จนตาย และยกนาง สร้อยสุวรรณ และจันทร์สุดา เป็นเมียพระปิ่นทองและกลับเมือง นางแก้วมีลูกชื่อ ปิ่นแก้ว พระปิ่นทองจึงรับรักนางแก้วมณีตั้งแต่นั้นมา


         *** นิทานอีสานฉบับนี้ สอนให้รู้ว่า อย่าดูคนแต่เพียงภายนอก รูปร่างหน้าตา ให้ดูลึกถึงจิตใจ

 

 อุทัยเทวี ( นางพญาขี้คันคาก )

         ณ เมืองบาดาล ธิดาพญานาคหนีมาเที่ยวเมืองมนุษย์และพบรักกับรุกขเทวดาที่สิงสถิตอยู่ในต้นไม้ริมสระน้ำ ธิดาพญานาคตั้งครรภ์รอจนคลอดเป็นไข่ฟองหนึ่ง จึงใช้สไบห่อไข่และพ่นพิษคุ้มครองไว้ก่อนแล้วลงกลับไปเมืองบาดาล บังเอิญมีนางคางคกผ่านมาเห็นจึง กินไข่และตายด้วยพิษพญานาค พอดีกับไข่ฟักเป็นเด็กหญิงซึ่งคิดว่านางคางคกเป็นแม่ของตน จึงอาศัยอยู่ในซากคางคกเน่าๆ ตายายสองผัวเมียมาตกปลาพายเรือผ่านมาเห็นเข้าก็ช่วยเลี้ยงดูจนโต ตั้งชื่อให้ว่าอุทัยเทวี และอุทัยเทวีได้แต่งงานกับเจ้าชายสุทธราช ซึ่งก่อนแต่งตากับยาก็ได้มีข้อกำหนดว่า ต้องสร้างสะพานทองตั้งแต่วัง จนถึงบ้านตายยายแต่ก็ผ่านไปได้ด้วยดี อุทัยเทวีจึงเป็นสะใภ้แห่งเมืองหลวง มารดาของเจ้าชายไม่ค่อยชอบอุทัยเทวีนัก จึงหาทางให้ลูกของตนเป็นของคนอื่นไป ซึ่งนั่นคือ เจ้าชายต้องไปแต่งงานกับเจ้าหญิงฉันทนา ซึ่งอุทัยเทวีก็ตามไปด้วยตามสัญญา เจ้าหญิงฉันทนาคิดกำจัดอุทัยเทวีโดยฆ่านางอุทัยเทวี แต่พ่อของอุทัยเทวี ช่วยไว้ จึงบอกว่าให้รอแก้แค้นนางฉันทนาอยู่นอกวัง ต่อมาไม่นานนจางฉันทนากลุ้มใจเรื่องผีนางอุทัยเทวีจะมาหลอก หัวจึงหงอก ผมที่เคนดำกลับขาวไปทุกเส้น จึงเอาผ้าพันศีรษะไว้ตลอดเวลา ต่อมานางอุทัยเทวีแปลงกายเป็นแม่ค้าขายขนมแก่ๆผ่านมา ซึ่งผมดำยาวสลวยผิดกับนางฉันทนา นางฉันทนาเห็นเข้าจึง คิดว่ายายแก่คนนี้ก็มีเคร็ดลับในการบำรุงรักษาผมอย่างแน่นอน จึงให้ยายแก่เข้าไปในวัง และให้รักษาผมของตนเองให้ แต่นางอุทัยเทวีก็จะรักษาให้ แต่ต้องยอมให้ทำทุกอย่างห้ามถามอะไรทั้งสิ้น นางฉันทนาตกลง จึงนอนลงแล้วนางอุทัยเทวี ก็เอามีดโกนโกนผมนางฉันทนา ออกจนหมด แล้วกรีดศีรษะนางฉันทนาแล้วเอาปลาร้าให้หม้อครอบหัวนางฉันทนาไว้ และห้ามเอาหม้อออกก่อนวันที่ 7 แต่ไม่ถึงคืนนางฉันทนาทนพิษบาดแผลไม่ไหว จึงสิ้นใจตาย เจ้าชายสิทธิราช รู้ดังนั้นจึงกลับไปเมืองของตน ซึ่งก็ยังเห็นอุทัยเทวีอยู่ที่เมืองอยู่ก็ทรงโล่งใจ อุทัยเทวี ได้ครองรักกับเจ้าชายอย่างมีความสุขตราบนานเท่านาน

 

 

ข้อคิด คติเตือนใจ

  • คนเราหมั่นทำความดีไว้เยอะๆ เป็นสมบัติไว้ใช้ในชาติต่อไป
  • ความแค้นไม่เคยจบเคยสิ้น ฉะนั้นเราคนไทย อย่าไปมีอคติกับใคร
  • ปลาร้า ยังคงความแซบอยู่ทุกยุคทุกสมัย
  • คู่กันแล้วไม่คล้วกัน

 

 

 ปลาบู่ทอง

         ชายหาปลาคนหนึ่งมีเมีย 2 คน เมียหลวงมีลูกสาวชื่อเอื้อย เมียน้อยมีลูกสาวชื่ออ้าย และอี่ วันหนึ่งชายหาปลาจับได้ปลาบู่ทอง เมียหลวงถูกสามีฆ่าตาย ไปเกิดเป็นปลาบู่ทองหามาเอื้อยลูกสาวของตน แต่ก็ถูกเมียน้อย และลูก ๆ กลั่นแกล้งจับมากิน เอื้อยได้เกล็ดปลาไปปลูกเป็นต้นมะเขือก็ถูกถอนไปกินอีก จึงนำเม็ดมะเขือมาปลูกเป็นต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทอง ท้าวพรหมทัตเสด็จมาพบและได้พบกับเอื้อยทรงพอพระทัยนางมากจึงแต่งตั้งให้เป็นมเหสี ต่อมาถูกฆ่าตายไปเกิดเป็นนกแขกเต้าฤาษีได้ช่วยไว้และชุบให้เกิดเป็นดังเดิม เอื้อยจึงได้กลับเข้ามาอยู่ในวังหลวง ส่วนอ้ายซึ่งปลอมตัวเป็นเอื้อยถูกสั่งให้ประหารชีวิต

และนอกจากนี้ยังมีนิทานพื้นบ้านอีกมากมาย เช่น เรื่องนางผมหอม, ทุ่งกุลาร้องไห้, ผาแดงนางไอ่ ฯลฯ  

แหล่งอ้างอิง   http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/

รูปภาพของ pnp33671

แนนให้ 10 จ้า

ดีมาก มีสาระ

อิอิอิ

รูปภาพของ pnp31471

เนื้อหาเป็นประโยชน์ดี 

 มีความรู้เพิ่มมากขึ้น

ให้ 10 คะแนน ค่ะ

รูปภาพของ pnp33667

น่าสนใจดี

สวยงาม 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp32300

น่าสนใจ ๆ

 

10 คับ 

รูปภาพของ pnp31446

ทำงานถูกต้อง เป็นประโยชน์

 

ส่งตามเวลาอีกนะ

 

เนื้อหาน่าสนใจ  10 สิค่ะ แบบนี้อ่ะ

รูปภาพของ pnp31237

ภูมิปัญญา

เอาไป 10 คร๊าบ

รูปภาพของ pnp31144

น่าอ่าน

 

สิบจ้า

รูปภาพของ pnp31501

อือก็ดีนะนำความรู้มาใช้ได้

รูปภาพของ pnp33670

good

10

รูปภาพของ pnp31427

เนื้อหาดีเอาไป10

รูปภาพของ pnp33664

เอาไปเล่าให้เด็กๆฟังได้ด้วยอะ

ชอบๆๆ 10คะแนน เลย

รูปภาพของ pnp31511

เนื้อหามีประโยชน์ดีค่ะ มีตัวอย่างนิทานด้วย

> <  10 คะแนนเลย

รูปภาพของ pnp33655

น่าอ่านดี 10 พอป่าว

รูปภาพของ pnp31507

good jop

 

ให้ 10 คะแนน นะค่ะ

 

comment^^

รูปภาพของ pnp33660

มีความรู้ดี เอาไป10

รูปภาพของ pnp31503

เนื้อหาน่าสนใจ

 รูปภาพเหมาะกับเนื้อหาดี

 ให้ 10 คะแนน 

รูปภาพของ pnp33672

เนื้อหาดีอ่านได้ทุกเพศวัย

ทำงานเรียนร้อยดีเราให้10คะแนนเต็มนะ

รูปภาพของ pnp31585

มีความรู้

เข้าใจง่าย

เอาไป10คะแนนเลย

รูปภาพของ pnp31269

เนื้อหาน่าสนใจจ้า

 

 

น้ำหวานให้10จ้า

รูปภาพของ pnp31530

ว๊าวววววว

 

สวยงามมากครับ

 

เนื้อหาดีเยี่ยม

 

ให้ 10 คะแนนเลยจ้า

รูปภาพของ pnp31264

เนื้อหาเหมาะสมค่ะ

อ่านแล้วมีความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้านมากขึ้น

 

ให้ๆ10

รูปภาพของ pnp31315

เนื้อหาดีจ้า

อ่านแล้วทำให้อยากอ่านนิทานพื้นบ้าน ^^

 

10ๆ

รูปภาพของ pnp31311

เนื้อหาดีจ๊ะเอ๊ก

อ่านแล้วได้รู้ในสิ่งที่ไม่รู้

 

ให้ 10 จ๊ะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 230 คน กำลังออนไลน์