• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ae1faee558aac14f8bb908acacc671ef' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<br />\n<strong><u>การเรียนรู้เรื่องคำราชาศัพท์</u></strong>\n</p>\n<p>\n        ตามที่หลายคนคิดว่าคำราชาศัพท์เป็นเรื่องของในรั้วในวัง เป็นเรื่องของผู้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทนั้น ทำให้คิดต่อไปอีกว่า คำราชาศัพท์เป็นเรื่องยากซึ่งเมื่อก่อนอาจเป็นจริง แต่ปัจจุบันคำราชาศัพท์เป็นเรื่องในชีวิตประจำวันไปเสียแล้ว แม้มิได้ใช้มากเท่ากับภาษาสามัญที่ใช้อยู่ในการดำรงชีวิตประจำวันแต่ทุกคนโดยเฉพาะผู้มีการศึกษาก็ต้องมีโอกาสที่จะสัมผัสกับคำราชาศัพท์ทุกวัน ไม่โดยตรงก็โดยทางอ้อม โดยเฉพาะทางสื่อมวลชน\n</p>\n<p>\n        การเรียนรู้วิธีใช้คำราชาศัพท์นั้น กล่าวโดยสรุป ต้องเรียนรู้ใน 2 ประการ คือ เรียนรู้คำ ประการหนึ่งกับ เรียนรู้วิธี อีกประการหนึ่ง\n</p>\n<p>\nเรียนรู้คำ คือ ต้องเรียนรู้คำราชาศัพท์ <br />\nเรียนรู้วิธี คือ ต้องเรียนรู้วิธีหรือเรียนรู้ธรรมเนียมการใช้คำราชาศัพท์\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์</strong>\n</p>\n<p>\n        เพราะเหตุที่ว่าสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่สูงสุดของประเทศมาแต่โบราณ พระเจ้าแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชาชนอย่างแนบแน่นประการหนึ่ง คำราชาศัพท์นั้นเป็นแบบอย่างวัฒนธรรมอันดีทางด้านการใช้ภาษาไทยประการหนึง และการอ่านหรือศึกษาวรรณคดีก็ดี การรับสารสื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี เหล่านี้ล้วนต้องมีคำราชาศัพท์เกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมออีกประการหนึ่ง ดังนั้นการเรียนรู้คำราชาศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมมากมาย ดังจะเห็นได้ดังต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>ประโยชน์ทางตรง</strong>\n</p>\n<p>\n        เป็นประโยชน์ที่เกิดจากการตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้า อันได้แก่\n</p>\n<p>\n1. ประโยชน์จากการใช้คำราชาศัพท์ถูกต้อง\n</p>\n<p>\nที่เรียกว่าใช้คำราชาศัพท์ถูกต้องนั้น คือ ถูกต้องตามบุคคลที่ใช้ว่าบุคคลใดควรใช้ราชาศัพท์ขั้นไหน อย่างไร ประการหนึ่ง ถูกต้องตามโอกาส คือ โอกาสใดใชคำราชาศัพท์หรือไม่เพียงใด ประการหนึ่ง และถูกต้องตามวิธีการใช้คือ ใช้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยมนั้นก็อีกประการหนึ่ง การใช้ราชาศัพท์ต้องใช้ทั้งความรุ้และประสบการณ์เป็นดุลยพินิจให้ถูกต้อง <br />\n2. ประโยชน์จากการเข้าใจที่ถูกต้อง\n</p>\n<p>\nไม่ว่าจากการอ่านหนังสือประเภทต่างๆ เช่น วรรณกรรมทั่วไป วรรณคดี หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทั้งหลาย โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิงทั้งหลาย มีภาพยนต์ ละคร โขน ลิเก เป็นต้น เพราะการรับรู้ รับฟัง บางครั้งต้องมีสิ่งที่เรียกว่า คำราชาศัพท์ร่วมอยู่ด้วยเสมอ ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>ประโยชน์โดยทางอ้อม</strong>\n</p>\n<p>\n        เป็นประโยชน์ผลพลอยได้ แม้ตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้าหรือไม่ตั้งเป้าหมายไว้ก็ตาม คือ เมื่อรู้คำราชาศัพท์ดี ถูกต้อง ฟังหรืออ่านเรื่องราวที่มีคำราชาศัพท์เข้าใจผลประโยชน์พลอยได้ ก็จะเกิดขึ้นเสมอ ดังนี้\n</p>\n<p>\n1. ธำรงรักษาวัฒนธรรมอันดีงานของชาติไว้\n</p>\n<p>\nคือ รักษาให้คงอยู่ไม่เสื่อมสูญ ถือเป็นการธำรงรักษาวัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศชาติ <br />\n2. เพิ่มความมีเสน่ห์ในตัวบุคคล\n</p>\n<p>\nคือ บุคคลผู้รู้และใช้คำราชาศัพท์ได้อย่างถูกต้อง เป็นการแสดงออกซึ่งความมีวัฒนธรรมอันดีงามทางภาษา\n</p>\n<p>\n<br />\nคำราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับพระราชอิสริยศักดิ์พระบรมราชวงศ์\n</p>\n<p>\nพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว , สมเด็จพระบรมราชินีนาถ <br />\nสมเด็จพระบรมราชินี , สมเด็จพระบรมราชชนนี , สมเด็จพระยุพราช , สมเด็จพระสยามบรมราชกุมารี <br />\nสมเด็จเจ้าฟ้า <br />\nพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า <br />\nพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า <br />\nพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า <br />\nหม่อมเจ้า <br />\nมูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์\n</p>\n<p>\n        คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติดังนั้นการศึกษาเรื่องคำราชศัพท์ นี้ จึงแบ่งเป็น 2 ตอน ใหญ่ๆคือ ตอนที่ 1 ศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ ตอนที่ 2 ศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์ </p>\n<p><strong>ราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์</strong>\n</p>\n<p>\nคำนามที่เป็นชื่อสิ่งของสำคัญที่ควรยกย่อง มีคำเติมหน้า ได้แก่ พระบรมมหาราช พระบรมมหา พระบรมราช พระบรม พระอัคราช พระอัคร และพระมหา เช่น พระบรมมหาราชวัง พระบรมมหาชนกพระบรมราชชนนี พระบรมราชวงศ์ พระบรมอัฐิ พระบรมโอรสาธิราช พระอัครชายา พระมหาปราสาท พระมหาเศวตฉัตร เป็นต้น <br />\nคำนามเป็นชื่อสิ่งสำคัญรองลงมา นำหน้าด้วยคำ“พระราช” เช่น พระราชวังพระราชวงศ์ พระราชทรัพย์ พระราชลัญจกร เป็นต้น <br />\nคำนามเป็นชื่อของสิ่งสามัญทั่วไปที่ไม่ถือว่าสำคัญส่วนใหญ่เป็นคำบาลีสันสกฤต เขมร และคำไทยเก่า แต่บางคำก็เป็นคำไทยธรรมดานำหน้าด้วยคำ “พระ” เช่น พระกร พระบาทพระโรค พระฉาย พระแท่น พระเคราะห์ เป็นต้น คำนามใดที่เป็นคำประสม มีคำ “พระ” ประกอบอยู่แล้ว ห้ามใช้คำ “พระ” นำหน้าซ้อนอีก เช่น พานพระศรี (พานหมาก) ขันพระสาคร (ขันน้ำ) เป็นต้น <br />\nคำนามที่เป็นชื่อสิ่งไม่สำคัญและคำนั้นมักเป็นคำไทย นำหน้าด้วยคำว่า “ต้น” เช่น ม้าต้น ช้างต้น เรือนต้น และนำหน้าด้วย “หลวง” เช่น ลูกหลวง หลานหลวง รถหลวง เรือหลวง สวนหลวง ส่วน “หลวง” ที่แปลว่าใหญ่ ไม่จัดว่าเป็นราชาศัพท์ เช่นภรรยาหลวง เขาหลวง ทะเลหลวง เป็นต้น นอกจากคำว่า “ต้น” และ “หลวง” ประกอบท้ายคำแล้ว บางคำยังประกอบคำอื่นๆ อีก เช่น รถพระที่นั่ง เรือพระที่นั่ง รถทรง เรือทรง ม้าทรง ช้างทรง น้ำสรง ห้องสรง ของเสวย โต๊ะเสวย ห้องบรรทม เป็นต้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><u>ศัพท์สำหรับเจ้านายหรือพระบรมวงศานุวงศ์ คือตั้งแต่สมเด็จพระบรมราชินีลงไปถึงหม่อมเจ้า</u></strong>\n</p>\n<p>\nใช้พระราชนำหน้า เช่น พระราชเสาวนีย์ พระราชประวัติ พระราชดำรัlส พระราชกุศล พระราโชวาท พระราโชบาย เป็นต้น <br />\nใช้พระนำหน้า เช่น พระเศียร พระองค์ พระหัตถ์ พระทัย พระบาท เว้นแต่หม่อมเจ้าไม่ใช้ “พระ” นำหน้า ใช้ว่า เศียร องค์ หัตถ์ หทัย บาท เป็นต้น <br />\nคำนามราชาศัพท์สำหรับเจ้านายอยู่ในตัว ไม่ต้องใช้คำนำหน้าหรือคำต่อท้าย เช่น วัง ตำหนัก ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น <br />\nการใช้คำราชาศัพท์ในการเพ็ดทูล\n</p>\n<p>\nหลักเกณฑ์ในการกราบบังคมทูลพระเจ้าแผ่นดิน\n</p>\n<p>\nถ้าผู้รับคำกราบบังคมทูลไม่ทรงรู้จัก ควรแนะนำตนเองว่า &quot;ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกหระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ......................ชื่อ.................... ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท&quot; และลงท้ายว่า ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ <br />\nถ้ากราบบังคมทูลธรรมดา เช่น ทรงมีกระแสพระราชดำรัสถามส่าชื่ออะไร ก็กราบบังคมทูลว่า &quot;ข้าพระพุทธเจ้า ชื่อ ...................พระพุทธเจ้าข้า&quot; <br />\nถ้าต้องการกราบบังคมทูลถึงความสะดวกสบาย หรือรอดอันตรายให้ใช้คำว่า &quot;เดชะพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม......................&quot; <br />\nถ้าจะกราบบังคมทูลถึงสิ่งที่ทำผิดพลาดไม่สมควรทำให้ใช้คำนำ &quot;พระราชอาญาไม่พ้นเกล้าพ้นกระหม่อม&quot; <br />\nถ้าจะกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระมหากรุณาใช้คำว่า &quot;ขอพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม&quot; <br />\nถ้าจะกราบบังคมทูลถึงของหยาบมิบังควร ใช้คำว่า &quot;ไม่ควรจะกราบบังคมพระกรุณา&quot; <br />\nถ้าจะกราบบังคมทูลเป็นกลางๆ เพื่อให้ทรงเลือก ให้ลงท้ายว่า &quot;ควรมีควร ประการใดสุดแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม&quot; <br />\nถ้าจะกราบบังคมทูลถึงความคิดเห็นของตนเองใช้ว่า &quot;เห็นด้วยเกล้าด้วยกระกม่อม&quot; <br />\nถ้ากราบบังคมทูลถึงสิ่งที่ที่ทราบใช้ว่า &quot;ทราบเกล้าทราบกระหม่อม&quot; <br />\nถ้าจะกราบบังคมทูลถึงการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งถวายใช้คำว่า &quot;สนองพระมหากรุณาธิคุณ&quot; <br />\nถ้าจะกล่าวขออภัยโทษ ควรกล่าวคำว่า &quot;เดชะพระอาญาไม่พ้นเกล้า&quot; และลงท้ายว่า ด้วยเกล้าด้วยกระกม่อม <br />\nการกล่าวถึงสิ่งที่ได้รับความอนุเคราะห์ ให้ใช้คำว่า &quot;พระเดชพระคุณเป็นล้นเกล้าล้นกระหม่อม&quot; <br />\nสำหรับเจ้านายตั้งแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป\n</p>\n<p>\nในการกราบบังคมทูล ไม่ต้องใช้คำขึ้นต้นและลงท้าย ถ้าเป็นพระยุพราช , พระราชินีแห่งอดีตรัชกาลและสมเด็จเจ้าฟ้า ควรใช้สรรพนามแทนพระองค์ท่านว่า &quot;ใต้ฝ่าละอองพระบาท&quot; ใช้สรรพนามแทนตนเองว่า &quot;ข้าพระพุทธเจ้า&quot; และใช้คำรับว่า &quot;พระพุทธเจ้าข้า&quot; <br />\nเจ้านายชั้นรองลงมา ใช้สรรพนามแทนพระองค์ว่า &quot;ใต้ฝ่าพระบาท&quot; ใช้สรรพนามแทนตนเองว่า &quot;เกล้ากระหม่อม&quot; ใช้คำรับว่า &quot;พระเจ้าข้า&quot; เจ้านายชั้นสมเด็จพระยาและพระยาพานทอง ใช้สรรพนามของท่านว่า &quot;ใต้เท้ากรุณา&quot; ใช้สรรพนามของตนว่า &quot;เกล้ากระหม่อม&quot; ฝช้คำรับว่า &quot;ขอรับกระผม&quot; <br />\nคำที่พระภิกษุใช้เพ็ดทูลต่อพระเจ้าแผ่นดิน แทนคำรับว่า &quot;ถวายพระพร&quot; แทนตนเองว่า &quot;อาตมภาพ&quot; ใช้สรรพนามของพระองค์ว่า &quot;มหาบพิตร&quot; <br />\n<strong>วิธีใช้คำประกอบหน้าคำราชาศัพท์</strong>\n</p>\n<p>\nพระบรมราช ใช้ประกอบหน้าคำเพื่อให้เห็นว่าสำคัญยิ่ง ในกรณีที่ต้องการเชิดชูพระราชอำนาจ <br />\nพระบรม ใช้ประกอบหน้าคำเพื่อให้เห็นว่าสำคัญยิ่ง ในกรณีที่ต้องการเชิดชูพระราชอิสริยยศ <br />\nพระราช ใช้ประกอบหน้าคำเพื่อให้เห็นว่าสำคัญรองมาจาก พระบรม เพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นสิ่งเฉพาะขององค์พระเจ้าแผ่นดิน <br />\nวิธีใช้คำประกอบหลังคำราชาศัพท์\n</p>\n<p>\nทรง ใช้ประกอบหลังคำนาม เพื่อเป็นคำนามราชาศัพท์ <br />\nต้น ใช้ประกอบหลังคำนามสำคัญทั่วไป เพื่อทำให้เป็นคำนามราชาศัพท์ มักใช้กับสิ่งที่โปรดเป็นพิเศษ <br />\nหลวง ใช้ประกอบหลังคำนามสามัญทั่วไป เพื่อให้เป็นนามราชาศัพท์ <br />\nพระที่นั่ง ใช้ประกอบหลังคำนามสามัญ เพื่อให้เป็นนามราชาศัพท์ มีความหมายว่าเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ <br />\n <strong>ราชาศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์</strong>\n</p>\n<p>\n        ไทยเรามีคำพูดที่ใช้กับพระภิกษุโดยเฉพาะอยู่ประเภทหนึ่งบางทีก็เป็นคำที่พระภิกษุเป็นผู้ใช้เอง ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่จะรู้จักกันหมดแล้ว เช่น คำว่า อาตมาภาพ หรืออาตมา มีความหมายเท่ากับ ฉัน บางคำก็ทั้งท่านใช้เองและเราใช้กับท่าน เช่น คำว่า ฉัน หมายถึง กิน เป็นต้น การพูดกับพระภิกษุต้องมีสัมมาคารวะ สำรวม ไม่ใช้ถ้อยคำที่เป็นไปในทำนองพูดเล่นหรือพูดพล่อยๆ ซึ่งจะเป็นการขาดความเคารพไปสำหรับพระภิกษุ เราจำเป็นต้องทราบราชทินนาม เรียกว่า พระภิกษุผู้ทรงสมณศักดิ์ ของพระภิกษุเรียงลำดับได้ดังนี้ เพื่อที่จะได้ใช้ได้อย่างถูกต้อง\n</p>\n<p>\nสมเด็จพระสังฆราช <br />\nสมเด็จพระราชาคณะ หรือ ชั้นสุพรรณปัฎ คือ พระภิกษุที่มีราชทินนามนำหน้าด้วยคำว่า &quot;สมเด็จพระ&quot; <br />\nพระราชาคณะชั้นรอง <br />\nพระราชาคณะชั้นธรรม พระราชาคณะชั้นนี้มักมีคำว่า &quot;ธรรม&quot; นำหน้า <br />\nพระราชาคณะชั้นเทพ พระราชาคณะชั้นนี้มักมีคำว่า &quot;เทพ&quot; นำหน้า <br />\nพระราชาคณะชั้นราช พระราชาคณะชั้นนี้มักมีคำว่า &quot;ราช&quot; นำหน้า <br />\nพระราชาคณะชั้นสามัญ <br />\nพระครูสัญญาบัติ , พระครูชั้นประทวน , พระครูฐานานุกรม <br />\nพระเปรียญตั้งแต่ 3-9 <br />\n        การใช้คำพูดกับพระภิกษุทรงสมณศักดิ์ ที่ผิดกันมากคือชั้นสมเด็จพระราชาคณะเห็นจะเป็นเพราะมีคำว่า &quot;สมเด็จ&quot; นำหน้าจึงเข้าใจว่าต้องใช้คำราชาศัพท์ ซึ่งผิด ความจริงแล้ว พระภิกษุทรงสมณศักดิ์ที่ต้องใช้ราชาศัพท์มีเฉพาะเพียงสมเด็จพระสังฆราชเท่านั้น เว้นแต่พระภิกษุรูปนั้นๆ ท่านจะมีฐานันดรศักดิ์ทางพระราชวงศ์อยู่แล้ว.\n</p>\n<p>\nคำราชาศัพท์ที่ควรทราบ\n</p>\n<p>\nพระภิกษุที่เป็นพระราชวงศ์ ใช้ราชาศัพท์ตามลำดับชั้นแห่งพระราชวงศ์ สำหรับสมเด็จพระสังฆราชเจ้า(สมเด็จพระสังฆราชที่เป็นพระราชวงศ์) ใช้ดังนี้\n</p>\n<p>\nคำขึ้นต้น ใช้ว่า ขอประทานกราบทูล (กล่าวพระนามเต็ม) <br />\nสรรพนามแทนผู้พูด ใช้ว่า ข้าพระพุทธเจ้า <br />\nสรรพนามแทนพระองค์ท่าน ใช้ว่า ใต้ฝ่าพระบาท <br />\nคำลงท้าย ใช้ว่า ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม <br />\nสมเด็จพระสังฆราช ซึ่งดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ใช้ราชาศัพท์เสมอพระเจ้าวรวงศ์เธอ (ที่มิได้ทรงกรม) เช่น\n</p>\n<p>\nคำขึ้นต้น ใช้ว่า กราบทูล (กล่าวพระนามเต็ม) <br />\nสรรพนามแทนผู้พูด ใช้ว่า เกล้ากระหม่อม (สำหรับชาย), เกล้ากระหม่อมฉัน(สำหรับหญิง) <br />\nสรรพนามแทนพระองค์ท่าน ใช้ว่า ฝ่าพระบาท <br />\nคำลงท้าย ใช้ว่า ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<em>&lt;!--pagebreak--&gt;</em>\n</p>\n<p>\n<strong>ครุ ลหุ เอก โท</strong> \n</p>\n<p>\n ครุ\n</p>\n<p>\n        คือพยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) และ สระเกินทั้ง ๔ คือ สระ อำ ใอ ไอ เอา และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่นตา ดำ หัด เรียน ฯลฯ\n</p>\n<p>\n        ครุ (เสียงหนัก) เป็นพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงยาวในมาตราแม่ ก.กาและมีตัว สะกด รวมทั้งประสมด้วย อำ ไอ ใอ เอา เช่น จำ ได้ ไป เขา รัก ลูก\n</p>\n<p>\n         คำครุ แปลว่า เสียงหนัก สัญลักษณ์ “ อั “ ประกอบด้วย\n</p>\n<p>\nพยางค์ที่มีสระเสียงยาวไม่มีตัวสะกด เช่น มาหา พารา <br />\nพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้ง 8 แม่ เช่น รัก ชิด ชอบ ฯลฯ <br />\nพยางค์ที่มีสระ อำ ไอ ใอ เอา เช่น เรา จำ ใจ ไป <br />\nลหุ\n</p>\n<p>\n        คือพยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่พยางค์ที่ประกอบด้วย สระสั้น(รัสสระ) ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น พระ จะ มิ ดุ แกะ ฯลฯ\n</p>\n<p>\n        ลหุ คำที่มีเสียงเบา เป็นพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น เช่น จะ ดุ ติ ผิว กระทะ ฤ\n</p>\n<p>\n คำลหุ แปลว่า เสียงเบา สัญลักษณ์ “ อุ “ ประกอบด้วย\n</p>\n<p>\nพยางค์ที่มีสระเสียงสั้นไม่มีตัวสะกด เช่น มะลิ ชิชะ ก็ เถอะ <br />\nพยางค์ที่มีตัวพยัญชนะตัวเดียว เช่น ณ บ ธ <br />\nเอก\n</p>\n<p>\n        คือพยางค์ หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคำตายทั้งสิ้น ซึ่งในโคลง และร่าย ใช้เอกแทนได้ เช่น พ่อ แม่ พี่ ปู่ ชิ ชะ มัก มาก ฯลฯ\n</p>\n<p>\nโท\n</p>\n<p>\n        คือพยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์โท เช่น น้า ป้า ช้าง นี้น้อง ต้อง เลี้ยว ฯลฯ\n</p>\n<p>\n         เอก-โท ที่บังคับด้วยรูปวรรณยุกต์ เอก โท นิยมใช้กับคำประพันธ์ประเภทร่าย โคลง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><u>สักวา </u></strong><br />\nสักวา เป็นกลอนที่แต่งขึ้นเพื่อร้องเล่นโต้ตอบกัน ซึ่งเป็นการละเล่นอย่างหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา กลอนสักวากำหนดลักษณะเฉพาะไว้ดังนี้\n</p>\n<p>\n1. กลอนสักวาบทหนึ่งมี 4 คำกลอน\n</p>\n<p>\n2. จังหวะแรกของวรรคขึ้นต้นบทด้วยคำว่า &quot; สักวา &quot;\n</p>\n<p>\n3. คำสุดท้ายของบทลงท้ายด้วย &quot; เอย &quot;\n</p>\n<p>\n4. สัมผัสบังคับ เป็นสัมผัสสระ ลักษณะอย่างกลอนทั่วไป\n</p>\n<p>\n1) แสดงผังโครงสร้างกลอนสักวา ความยาว 1 บท\n</p>\n<p>\n2) สักวา 1บท มี 4 คำกลอน หรือ 8 วรรค\n</p>\n<p>\n3) สักวา 1 วรรค นิยมเขียน 7-10 คำ\n</p>\n<p>\n4) เส้นโยงภายในวรรค เรียกว่าสัมผัสใน ส่วนเส้นโยงคำท้ายวรรค เรียกว่า สัมผัสนอก\n</p>\n<p>\n5) กลอนสักวาต้องขึ้นต้นด้วยคำว่า &quot;สักวา&quot; และจบด้วยคำว่า &quot;เอย&quot; เสมอ\n</p>\n<p>\n6) ลักษณะบังคับอื่น ๆ เช่น เรื่องเสียงท้ายวรรคการชิงสัมผัส สัมผัสซ้ำ สัมผัสเลือน และสัมผัส ทีฆะรัสสะ นั้น คงใช้หลักเกณฑ์ เดียวกันกับ กลอนแปด\n</p>\n<p>\n7) กลอนสักวา และกลอนแปด บรรทัดสุดท้ายของบท นอกจากสัมผัสคำที่ 3 แล้วอาจเลิ่อนไปสัมผัสตรงคำที่ 5 ก็ได้\n</p>\n<p>\nตัวอย่างกลอนสักวา\n</p>\n<p>\nสักวาหน้าฝนถนนเปรอะ ดูแฉะเฉอะโคลนตมถมวิถี ฟ้าพยับอับแสงแห่งสุรีย์ ปฐพีน้ำท่วมท้นล้นเจิ่งนอง จะเดินตรอกซอกซอยพลอยเปียกหมด เสียงล้อรถน้ำซ่านซ่าพาหม่นหมอง รองเท้าเปียกเปื่อยพังลงนั่งมอง น้ำไหลนองท้วมท้นถนนเอย\n</p>\n', created = 1719640254, expire = 1719726654, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ae1faee558aac14f8bb908acacc671ef' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานชิ้นที่ 3 เรื่องภาษาไทย

รูปภาพของ pnp31495


การเรียนรู้เรื่องคำราชาศัพท์

        ตามที่หลายคนคิดว่าคำราชาศัพท์เป็นเรื่องของในรั้วในวัง เป็นเรื่องของผู้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทนั้น ทำให้คิดต่อไปอีกว่า คำราชาศัพท์เป็นเรื่องยากซึ่งเมื่อก่อนอาจเป็นจริง แต่ปัจจุบันคำราชาศัพท์เป็นเรื่องในชีวิตประจำวันไปเสียแล้ว แม้มิได้ใช้มากเท่ากับภาษาสามัญที่ใช้อยู่ในการดำรงชีวิตประจำวันแต่ทุกคนโดยเฉพาะผู้มีการศึกษาก็ต้องมีโอกาสที่จะสัมผัสกับคำราชาศัพท์ทุกวัน ไม่โดยตรงก็โดยทางอ้อม โดยเฉพาะทางสื่อมวลชน

        การเรียนรู้วิธีใช้คำราชาศัพท์นั้น กล่าวโดยสรุป ต้องเรียนรู้ใน 2 ประการ คือ เรียนรู้คำ ประการหนึ่งกับ เรียนรู้วิธี อีกประการหนึ่ง

เรียนรู้คำ คือ ต้องเรียนรู้คำราชาศัพท์
เรียนรู้วิธี คือ ต้องเรียนรู้วิธีหรือเรียนรู้ธรรมเนียมการใช้คำราชาศัพท์


ประโยชน์ของการเรียนรู้คำราชาศัพท์

        เพราะเหตุที่ว่าสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันที่สูงสุดของประเทศมาแต่โบราณ พระเจ้าแผ่นดินทรงใกล้ชิดกับประชาชนอย่างแนบแน่นประการหนึ่ง คำราชาศัพท์นั้นเป็นแบบอย่างวัฒนธรรมอันดีทางด้านการใช้ภาษาไทยประการหนึง และการอ่านหรือศึกษาวรรณคดีก็ดี การรับสารสื่อมวลชนในปัจจุบันก็ดี เหล่านี้ล้วนต้องมีคำราชาศัพท์เกี่ยวข้องอยู่ด้วยเสมออีกประการหนึ่ง ดังนั้นการเรียนรู้คำราชาศัพท์จึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมมากมาย ดังจะเห็นได้ดังต่อไปนี้

 


ประโยชน์ทางตรง

        เป็นประโยชน์ที่เกิดจากการตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้า อันได้แก่

1. ประโยชน์จากการใช้คำราชาศัพท์ถูกต้อง

ที่เรียกว่าใช้คำราชาศัพท์ถูกต้องนั้น คือ ถูกต้องตามบุคคลที่ใช้ว่าบุคคลใดควรใช้ราชาศัพท์ขั้นไหน อย่างไร ประการหนึ่ง ถูกต้องตามโอกาส คือ โอกาสใดใชคำราชาศัพท์หรือไม่เพียงใด ประการหนึ่ง และถูกต้องตามวิธีการใช้คือ ใช้ถูกต้องตามแบบแผนที่นิยมนั้นก็อีกประการหนึ่ง การใช้ราชาศัพท์ต้องใช้ทั้งความรุ้และประสบการณ์เป็นดุลยพินิจให้ถูกต้อง
2. ประโยชน์จากการเข้าใจที่ถูกต้อง

ไม่ว่าจากการอ่านหนังสือประเภทต่างๆ เช่น วรรณกรรมทั่วไป วรรณคดี หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ทั้งหลาย โทรทัศน์ วิทยุ ตลอดจนสิ่งบันเทิงทั้งหลาย มีภาพยนต์ ละคร โขน ลิเก เป็นต้น เพราะการรับรู้ รับฟัง บางครั้งต้องมีสิ่งที่เรียกว่า คำราชาศัพท์ร่วมอยู่ด้วยเสมอ ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ

 

ประโยชน์โดยทางอ้อม

        เป็นประโยชน์ผลพลอยได้ แม้ตั้งเป้าหมายไว้ล่วงหน้าหรือไม่ตั้งเป้าหมายไว้ก็ตาม คือ เมื่อรู้คำราชาศัพท์ดี ถูกต้อง ฟังหรืออ่านเรื่องราวที่มีคำราชาศัพท์เข้าใจผลประโยชน์พลอยได้ ก็จะเกิดขึ้นเสมอ ดังนี้

1. ธำรงรักษาวัฒนธรรมอันดีงานของชาติไว้

คือ รักษาให้คงอยู่ไม่เสื่อมสูญ ถือเป็นการธำรงรักษาวัฒนธรรมและความมั่นคงของประเทศชาติ
2. เพิ่มความมีเสน่ห์ในตัวบุคคล

คือ บุคคลผู้รู้และใช้คำราชาศัพท์ได้อย่างถูกต้อง เป็นการแสดงออกซึ่งความมีวัฒนธรรมอันดีงามทางภาษา


คำราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับพระราชอิสริยศักดิ์พระบรมราชวงศ์

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว , สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
สมเด็จพระบรมราชินี , สมเด็จพระบรมราชชนนี , สมเด็จพระยุพราช , สมเด็จพระสยามบรมราชกุมารี
สมเด็จเจ้าฟ้า
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
หม่อมเจ้า
มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์

        คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติดังนั้นการศึกษาเรื่องคำราชศัพท์ นี้ จึงแบ่งเป็น 2 ตอน ใหญ่ๆคือ ตอนที่ 1 ศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ ตอนที่ 2 ศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์

ราชาศัพท์สำหรับพระมหากษัตริย์

คำนามที่เป็นชื่อสิ่งของสำคัญที่ควรยกย่อง มีคำเติมหน้า ได้แก่ พระบรมมหาราช พระบรมมหา พระบรมราช พระบรม พระอัคราช พระอัคร และพระมหา เช่น พระบรมมหาราชวัง พระบรมมหาชนกพระบรมราชชนนี พระบรมราชวงศ์ พระบรมอัฐิ พระบรมโอรสาธิราช พระอัครชายา พระมหาปราสาท พระมหาเศวตฉัตร เป็นต้น
คำนามเป็นชื่อสิ่งสำคัญรองลงมา นำหน้าด้วยคำ“พระราช” เช่น พระราชวังพระราชวงศ์ พระราชทรัพย์ พระราชลัญจกร เป็นต้น
คำนามเป็นชื่อของสิ่งสามัญทั่วไปที่ไม่ถือว่าสำคัญส่วนใหญ่เป็นคำบาลีสันสกฤต เขมร และคำไทยเก่า แต่บางคำก็เป็นคำไทยธรรมดานำหน้าด้วยคำ “พระ” เช่น พระกร พระบาทพระโรค พระฉาย พระแท่น พระเคราะห์ เป็นต้น คำนามใดที่เป็นคำประสม มีคำ “พระ” ประกอบอยู่แล้ว ห้ามใช้คำ “พระ” นำหน้าซ้อนอีก เช่น พานพระศรี (พานหมาก) ขันพระสาคร (ขันน้ำ) เป็นต้น
คำนามที่เป็นชื่อสิ่งไม่สำคัญและคำนั้นมักเป็นคำไทย นำหน้าด้วยคำว่า “ต้น” เช่น ม้าต้น ช้างต้น เรือนต้น และนำหน้าด้วย “หลวง” เช่น ลูกหลวง หลานหลวง รถหลวง เรือหลวง สวนหลวง ส่วน “หลวง” ที่แปลว่าใหญ่ ไม่จัดว่าเป็นราชาศัพท์ เช่นภรรยาหลวง เขาหลวง ทะเลหลวง เป็นต้น นอกจากคำว่า “ต้น” และ “หลวง” ประกอบท้ายคำแล้ว บางคำยังประกอบคำอื่นๆ อีก เช่น รถพระที่นั่ง เรือพระที่นั่ง รถทรง เรือทรง ม้าทรง ช้างทรง น้ำสรง ห้องสรง ของเสวย โต๊ะเสวย ห้องบรรทม เป็นต้น

 

 

 

ศัพท์สำหรับเจ้านายหรือพระบรมวงศานุวงศ์ คือตั้งแต่สมเด็จพระบรมราชินีลงไปถึงหม่อมเจ้า

ใช้พระราชนำหน้า เช่น พระราชเสาวนีย์ พระราชประวัติ พระราชดำรัlส พระราชกุศล พระราโชวาท พระราโชบาย เป็นต้น
ใช้พระนำหน้า เช่น พระเศียร พระองค์ พระหัตถ์ พระทัย พระบาท เว้นแต่หม่อมเจ้าไม่ใช้ “พระ” นำหน้า ใช้ว่า เศียร องค์ หัตถ์ หทัย บาท เป็นต้น
คำนามราชาศัพท์สำหรับเจ้านายอยู่ในตัว ไม่ต้องใช้คำนำหน้าหรือคำต่อท้าย เช่น วัง ตำหนัก ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
การใช้คำราชาศัพท์ในการเพ็ดทูล

หลักเกณฑ์ในการกราบบังคมทูลพระเจ้าแผ่นดิน

ถ้าผู้รับคำกราบบังคมทูลไม่ทรงรู้จัก ควรแนะนำตนเองว่า "ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกหระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ......................ชื่อ.................... ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท" และลงท้ายว่า ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
ถ้ากราบบังคมทูลธรรมดา เช่น ทรงมีกระแสพระราชดำรัสถามส่าชื่ออะไร ก็กราบบังคมทูลว่า "ข้าพระพุทธเจ้า ชื่อ ...................พระพุทธเจ้าข้า"
ถ้าต้องการกราบบังคมทูลถึงความสะดวกสบาย หรือรอดอันตรายให้ใช้คำว่า "เดชะพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม......................"
ถ้าจะกราบบังคมทูลถึงสิ่งที่ทำผิดพลาดไม่สมควรทำให้ใช้คำนำ "พระราชอาญาไม่พ้นเกล้าพ้นกระหม่อม"
ถ้าจะกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระมหากรุณาใช้คำว่า "ขอพระบารมีปกเกล้าปกกระหม่อม"
ถ้าจะกราบบังคมทูลถึงของหยาบมิบังควร ใช้คำว่า "ไม่ควรจะกราบบังคมพระกรุณา"
ถ้าจะกราบบังคมทูลเป็นกลางๆ เพื่อให้ทรงเลือก ให้ลงท้ายว่า "ควรมีควร ประการใดสุดแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม"
ถ้าจะกราบบังคมทูลถึงความคิดเห็นของตนเองใช้ว่า "เห็นด้วยเกล้าด้วยกระกม่อม"
ถ้ากราบบังคมทูลถึงสิ่งที่ที่ทราบใช้ว่า "ทราบเกล้าทราบกระหม่อม"
ถ้าจะกราบบังคมทูลถึงการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งถวายใช้คำว่า "สนองพระมหากรุณาธิคุณ"
ถ้าจะกล่าวขออภัยโทษ ควรกล่าวคำว่า "เดชะพระอาญาไม่พ้นเกล้า" และลงท้ายว่า ด้วยเกล้าด้วยกระกม่อม
การกล่าวถึงสิ่งที่ได้รับความอนุเคราะห์ ให้ใช้คำว่า "พระเดชพระคุณเป็นล้นเกล้าล้นกระหม่อม"
สำหรับเจ้านายตั้งแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป

ในการกราบบังคมทูล ไม่ต้องใช้คำขึ้นต้นและลงท้าย ถ้าเป็นพระยุพราช , พระราชินีแห่งอดีตรัชกาลและสมเด็จเจ้าฟ้า ควรใช้สรรพนามแทนพระองค์ท่านว่า "ใต้ฝ่าละอองพระบาท" ใช้สรรพนามแทนตนเองว่า "ข้าพระพุทธเจ้า" และใช้คำรับว่า "พระพุทธเจ้าข้า"
เจ้านายชั้นรองลงมา ใช้สรรพนามแทนพระองค์ว่า "ใต้ฝ่าพระบาท" ใช้สรรพนามแทนตนเองว่า "เกล้ากระหม่อม" ใช้คำรับว่า "พระเจ้าข้า" เจ้านายชั้นสมเด็จพระยาและพระยาพานทอง ใช้สรรพนามของท่านว่า "ใต้เท้ากรุณา" ใช้สรรพนามของตนว่า "เกล้ากระหม่อม" ฝช้คำรับว่า "ขอรับกระผม"
คำที่พระภิกษุใช้เพ็ดทูลต่อพระเจ้าแผ่นดิน แทนคำรับว่า "ถวายพระพร" แทนตนเองว่า "อาตมภาพ" ใช้สรรพนามของพระองค์ว่า "มหาบพิตร"
วิธีใช้คำประกอบหน้าคำราชาศัพท์

พระบรมราช ใช้ประกอบหน้าคำเพื่อให้เห็นว่าสำคัญยิ่ง ในกรณีที่ต้องการเชิดชูพระราชอำนาจ
พระบรม ใช้ประกอบหน้าคำเพื่อให้เห็นว่าสำคัญยิ่ง ในกรณีที่ต้องการเชิดชูพระราชอิสริยยศ
พระราช ใช้ประกอบหน้าคำเพื่อให้เห็นว่าสำคัญรองมาจาก พระบรม เพื่อแสดงให้เห็นว่าเป็นสิ่งเฉพาะขององค์พระเจ้าแผ่นดิน
วิธีใช้คำประกอบหลังคำราชาศัพท์

ทรง ใช้ประกอบหลังคำนาม เพื่อเป็นคำนามราชาศัพท์
ต้น ใช้ประกอบหลังคำนามสำคัญทั่วไป เพื่อทำให้เป็นคำนามราชาศัพท์ มักใช้กับสิ่งที่โปรดเป็นพิเศษ
หลวง ใช้ประกอบหลังคำนามสามัญทั่วไป เพื่อให้เป็นนามราชาศัพท์
พระที่นั่ง ใช้ประกอบหลังคำนามสามัญ เพื่อให้เป็นนามราชาศัพท์ มีความหมายว่าเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ 
 ราชาศัพท์สำหรับพระภิกษุสงฆ์

        ไทยเรามีคำพูดที่ใช้กับพระภิกษุโดยเฉพาะอยู่ประเภทหนึ่งบางทีก็เป็นคำที่พระภิกษุเป็นผู้ใช้เอง ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่จะรู้จักกันหมดแล้ว เช่น คำว่า อาตมาภาพ หรืออาตมา มีความหมายเท่ากับ ฉัน บางคำก็ทั้งท่านใช้เองและเราใช้กับท่าน เช่น คำว่า ฉัน หมายถึง กิน เป็นต้น การพูดกับพระภิกษุต้องมีสัมมาคารวะ สำรวม ไม่ใช้ถ้อยคำที่เป็นไปในทำนองพูดเล่นหรือพูดพล่อยๆ ซึ่งจะเป็นการขาดความเคารพไปสำหรับพระภิกษุ เราจำเป็นต้องทราบราชทินนาม เรียกว่า พระภิกษุผู้ทรงสมณศักดิ์ ของพระภิกษุเรียงลำดับได้ดังนี้ เพื่อที่จะได้ใช้ได้อย่างถูกต้อง

สมเด็จพระสังฆราช
สมเด็จพระราชาคณะ หรือ ชั้นสุพรรณปัฎ คือ พระภิกษุที่มีราชทินนามนำหน้าด้วยคำว่า "สมเด็จพระ"
พระราชาคณะชั้นรอง
พระราชาคณะชั้นธรรม พระราชาคณะชั้นนี้มักมีคำว่า "ธรรม" นำหน้า
พระราชาคณะชั้นเทพ พระราชาคณะชั้นนี้มักมีคำว่า "เทพ" นำหน้า
พระราชาคณะชั้นราช พระราชาคณะชั้นนี้มักมีคำว่า "ราช" นำหน้า
พระราชาคณะชั้นสามัญ
พระครูสัญญาบัติ , พระครูชั้นประทวน , พระครูฐานานุกรม
พระเปรียญตั้งแต่ 3-9
        การใช้คำพูดกับพระภิกษุทรงสมณศักดิ์ ที่ผิดกันมากคือชั้นสมเด็จพระราชาคณะเห็นจะเป็นเพราะมีคำว่า "สมเด็จ" นำหน้าจึงเข้าใจว่าต้องใช้คำราชาศัพท์ ซึ่งผิด ความจริงแล้ว พระภิกษุทรงสมณศักดิ์ที่ต้องใช้ราชาศัพท์มีเฉพาะเพียงสมเด็จพระสังฆราชเท่านั้น เว้นแต่พระภิกษุรูปนั้นๆ ท่านจะมีฐานันดรศักดิ์ทางพระราชวงศ์อยู่แล้ว.

คำราชาศัพท์ที่ควรทราบ

พระภิกษุที่เป็นพระราชวงศ์ ใช้ราชาศัพท์ตามลำดับชั้นแห่งพระราชวงศ์ สำหรับสมเด็จพระสังฆราชเจ้า(สมเด็จพระสังฆราชที่เป็นพระราชวงศ์) ใช้ดังนี้

คำขึ้นต้น ใช้ว่า ขอประทานกราบทูล (กล่าวพระนามเต็ม)
สรรพนามแทนผู้พูด ใช้ว่า ข้าพระพุทธเจ้า
สรรพนามแทนพระองค์ท่าน ใช้ว่า ใต้ฝ่าพระบาท
คำลงท้าย ใช้ว่า ควรมิควรแล้วแต่จะโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
สมเด็จพระสังฆราช ซึ่งดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ใช้ราชาศัพท์เสมอพระเจ้าวรวงศ์เธอ (ที่มิได้ทรงกรม) เช่น

คำขึ้นต้น ใช้ว่า กราบทูล (กล่าวพระนามเต็ม)
สรรพนามแทนผู้พูด ใช้ว่า เกล้ากระหม่อม (สำหรับชาย), เกล้ากระหม่อมฉัน(สำหรับหญิง)
สรรพนามแทนพระองค์ท่าน ใช้ว่า ฝ่าพระบาท
คำลงท้าย ใช้ว่า ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด

 

<!--pagebreak-->

ครุ ลหุ เอก โท 

 ครุ

        คือพยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) และ สระเกินทั้ง ๔ คือ สระ อำ ใอ ไอ เอา และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่นตา ดำ หัด เรียน ฯลฯ

        ครุ (เสียงหนัก) เป็นพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงยาวในมาตราแม่ ก.กาและมีตัว สะกด รวมทั้งประสมด้วย อำ ไอ ใอ เอา เช่น จำ ได้ ไป เขา รัก ลูก

         คำครุ แปลว่า เสียงหนัก สัญลักษณ์ “ อั “ ประกอบด้วย

พยางค์ที่มีสระเสียงยาวไม่มีตัวสะกด เช่น มาหา พารา
พยางค์ที่มีตัวสะกดทั้ง 8 แม่ เช่น รัก ชิด ชอบ ฯลฯ
พยางค์ที่มีสระ อำ ไอ ใอ เอา เช่น เรา จำ ใจ ไป
ลหุ

        คือพยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่พยางค์ที่ประกอบด้วย สระสั้น(รัสสระ) ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น พระ จะ มิ ดุ แกะ ฯลฯ

        ลหุ คำที่มีเสียงเบา เป็นพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น เช่น จะ ดุ ติ ผิว กระทะ ฤ

 คำลหุ แปลว่า เสียงเบา สัญลักษณ์ “ อุ “ ประกอบด้วย

พยางค์ที่มีสระเสียงสั้นไม่มีตัวสะกด เช่น มะลิ ชิชะ ก็ เถอะ
พยางค์ที่มีตัวพยัญชนะตัวเดียว เช่น ณ บ ธ
เอก

        คือพยางค์ หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคำตายทั้งสิ้น ซึ่งในโคลง และร่าย ใช้เอกแทนได้ เช่น พ่อ แม่ พี่ ปู่ ชิ ชะ มัก มาก ฯลฯ

โท

        คือพยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์โท เช่น น้า ป้า ช้าง นี้น้อง ต้อง เลี้ยว ฯลฯ

         เอก-โท ที่บังคับด้วยรูปวรรณยุกต์ เอก โท นิยมใช้กับคำประพันธ์ประเภทร่าย โคลง

 

 

สักวา
สักวา เป็นกลอนที่แต่งขึ้นเพื่อร้องเล่นโต้ตอบกัน ซึ่งเป็นการละเล่นอย่างหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา กลอนสักวากำหนดลักษณะเฉพาะไว้ดังนี้

1. กลอนสักวาบทหนึ่งมี 4 คำกลอน

2. จังหวะแรกของวรรคขึ้นต้นบทด้วยคำว่า " สักวา "

3. คำสุดท้ายของบทลงท้ายด้วย " เอย "

4. สัมผัสบังคับ เป็นสัมผัสสระ ลักษณะอย่างกลอนทั่วไป

1) แสดงผังโครงสร้างกลอนสักวา ความยาว 1 บท

2) สักวา 1บท มี 4 คำกลอน หรือ 8 วรรค

3) สักวา 1 วรรค นิยมเขียน 7-10 คำ

4) เส้นโยงภายในวรรค เรียกว่าสัมผัสใน ส่วนเส้นโยงคำท้ายวรรค เรียกว่า สัมผัสนอก

5) กลอนสักวาต้องขึ้นต้นด้วยคำว่า "สักวา" และจบด้วยคำว่า "เอย" เสมอ

6) ลักษณะบังคับอื่น ๆ เช่น เรื่องเสียงท้ายวรรคการชิงสัมผัส สัมผัสซ้ำ สัมผัสเลือน และสัมผัส ทีฆะรัสสะ นั้น คงใช้หลักเกณฑ์ เดียวกันกับ กลอนแปด

7) กลอนสักวา และกลอนแปด บรรทัดสุดท้ายของบท นอกจากสัมผัสคำที่ 3 แล้วอาจเลิ่อนไปสัมผัสตรงคำที่ 5 ก็ได้

ตัวอย่างกลอนสักวา

สักวาหน้าฝนถนนเปรอะ ดูแฉะเฉอะโคลนตมถมวิถี ฟ้าพยับอับแสงแห่งสุรีย์ ปฐพีน้ำท่วมท้นล้นเจิ่งนอง จะเดินตรอกซอกซอยพลอยเปียกหมด เสียงล้อรถน้ำซ่านซ่าพาหม่นหมอง รองเท้าเปียกเปื่อยพังลงนั่งมอง น้ำไหลนองท้วมท้นถนนเอย

รูปภาพของ pnp33671

แนนให้ 10 จ้า

ดีมาก มีสาระ

อิอิอิ

รูปภาพของ pnp33671

แนนให้ 10 จ้า

ดีมาก มีสาระ

อิอิอิ

รูปภาพของ pnp31471

เนื้หาดี มีประโยชน์ทำให้เข้าใจภาษาไทยมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม

ทำงานเรียนร้อยดี

ให้10คะเเนนเต็มเลยจร้า

สวยงามคับน้องนก

 

10คับ                

รูปภาพของ pnp33667

น่าสนใจดี

สวยงาม 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp32300

แน่ นอน ๆ

 

สวยงาม 10 เลย

รูปภาพของ pnp31446

ทำงานถูกต้อง

 

ส่งตามเวลา

 

เนื้อหาน่าสนใจ  10 สิค่ะ

รูปภาพของ pnp31503

เนื้อหาดีมาก

มีประโยชน์

ให้ 10 คะแนนเต็ม 

รูปภาพของ pnp31144

น่าสนใจดี

 

เอาไปสิบ

รูปภาพของ pnp31501

อือก็ดีนะนำความรู้มาใช้ได้

รูปภาพของ pnp31427

เนื้อหาดีมีสาระ

เอาไป10

รูปภาพของ pnp31511

เนื้อหาดี

+ทำให้เข้าใจมากขึ้น

10 คะแนน ;)

รูปภาพของ pnp33607

10 คะแนนครับ

 

น่าสนใจ.

 

S i R i U s Z . b a D z . V i r G i n .

 

______________________________ . L o v e ~ ♡

รูปภาพของ pnp33655

เอาไป10พอ

รูปภาพของ pnp31507

ให้

 

10

 

คะแนน

 

นะค่ะ

รูปภาพของ pnp33670

ดีดี

เอาเอา

10 10

รูปภาพของ pnp33660

รักในหลวง ให้10ครับ

รูปภาพของ pnp31269

เนื้อหาน่าสนใจจ้า

 

 

น้ำหวานให้10จ้า

รูปภาพของ pnp31530

สวย ดี มีสาระ

10 คะแนน

 

 

รูปภาพของ pnp31264

เนื้อหาดี

มีประโยชน์จ้า

 

10ๆ

รูปภาพของ pnp31315

มีสาระจ้า

เหมาะสมๆ 

 

10ๆ

รูปภาพของ pnp31311

มีประโยชน์ค่ะ

เนื้อหาดี

 

ให้ 10

รูปภาพของ pnp33669

เนื้อหาดี  มีสาระ ให้ 10

รูปภาพของ pnp33672

เนื้หาดี มีประโยชน์ทำให้เข้าใจภาษาไทยมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม

ทำงานเรียนร้อยดี รูปภาพสวย ให้ 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31585

เนื้อหาดี

เข้าใจง่าย

เอาไปเลย 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp33659

เนื้อหาดีเข้าใจง่ายและมีประโยชน์ ให้ 10 คะแนน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 294 คน กำลังออนไลน์