• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:722982b5f0b3c42ce2c26799400af3ad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><u>ทีฆายุโก - ฑีฆายุโก</u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><img border=\"0\" width=\"91\" src=\"/files/u20196/images.jpg\" height=\"118\" /></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มารูปภาพ  <a href=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:9Ycp0E50V-TExM\">http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:9Ycp0E50V-TExM</a><br />\nเนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ไม่ว่าจะเป็น ๕ ธันวาคม หรือ ๑๒ สิงหาคม ก็ตาม เราจะพบป้ายหรือข้อความถวายชัยมงคลว่า &quot;ทีฆายุโก โหตุ มหาราชา&quot; หรือ &quot;ทีฆายุกา โหตุ มหาราชินี&quot; ตามสถานที่ราชการ หรือ ในหนังสือพิมพ์ ตลอดจนวารสารรายสัปดาห์ รายปักษ์ หรือรายเดือนอยู่ทั่วไป เขียนกันถูกบ้าง ผิดบ้าง แม้จะได้เคยแนะนำทั้งทางวิทยุและข้อเขียนต่าง ๆ อยู่เสมอแล้ว แต่ก็ยังคงมีการเขียนหรือพิมพ์ผิด ๆ อยู่ตลอดมาทุกปี นั่นคือคำว่า &quot;ทีฆายุโก&quot; หรือ &quot;ทีฆายุกา&quot; ซึ่งจะต้องใช้ ท (ทหาร) นั้น บางทีก็ใช้ ฑ (นางมณโฑ) อยู่บ่อย ๆ และ ณ สถานที่ราชการซึ่งมีผู้มีความรู้ด้านบาลี ถึงเปรียญ ๙ ประโยคอยู่มากกว่าหน่วยราชการอื่น ๆ คือ กระทรวงกลาโหม ก็ยังปล่อยให้เขียนผิด ๆ ออกมา ถ้าท่านเดินผ่านหรือนั่งรถผ่านหน้ากระทรวงกลาโหม และสังเกตดูข้อความถวายชัยมงคลตัวขนาดใหญ่ ชั้นบนของอาคารด้านหน้า ปรากฏว่าเป็น &quot;ฑีฆายุโก โหตุ มหาราชา&quot; ท (ทหาร) ที่คำว่า &quot;ทีฆายุโก) กลายเป็น ฑ (นางมณโฑ) ไป\n</p>\n<p>\nคำว่า &quot;ทีฆายุโก&quot; เป็นภาษาบาลี ใช้ ท ทหาร แปลว่า &quot;มีอายุยืน&quot; เมื่อรวมข้อความที่ว่า &quot;ทีฆายุโก โหตุ มหาราชา&quot; ตามอักษรก็แปลว่า &quot;ขอพระมหาราชจงทรงมีพระชนมายุยั่งยืนนาน&quot; และ &quot;ทีฆายุกา&quot; สำหรับพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถนั้น ก็เป็นการเปลี่ยนรูปตามไวยากรณ์ เพราะ คำว่า &quot;มหาราชา&quot; เป็นปุงลิงค์ คือเพศชาย จึงต้องใช้ &quot;ทีฆายุโก&quot; ส่วน &quot;มหาราชินี&quot; เป็น อิตถีลิงค์ คือ เพศหญิง จึงใช้ &quot;ทีฆายุกา&quot;\n</p>\n<p>\nเหตุที่บางคนเขียนเป็น ฑ นางมณโฑนั้น คงเป็นเพราะตัว ฑ อยู่ใกล้กับ ฆ (ระฆัง) ซึ่งมีหัวหยัก เลยทำให้ ท (ทหาร) มีหัวหยัก เลยกลายเป็น ฑ (นาง มณโฑ) ตามไปด้วย\n</p>\n<p>\nคำในภาษาไทยที่มาจากภาษาบาลีที่เดิมเป็น ท (ทหาร) แล้วมีผู้เขียนเป็น ฑ (นางมณโฑ) ในสมัยก่อน ๆ นั้นมีอยู่หลายคำ เช่นคำว่า &quot;ทูต&quot; ซึ่งเป็นภาษาบาลี ใช้ ท (ทหาร) ก็มีพบอยู่บ่อย ๆ โดยเฉพาะในหนังสือเก่าเขียนเป็น &quot;ฑูต&quot; โดยใช้ ฑ (นางมณโฑ) หรือคำว่า &quot;มนเทียรบาล&quot; หนังสือเก่า ๆ เช่นในเรื่อง &quot;กฎมณเฑียรบาล&quot; ก็ดี หรือ &quot;หมู่พระราชมณเฑียร&quot; ก็ดี ที่คำว่า &quot;มณเฑียร&quot; ก็ใช้ ฑ (นางมณโฑ) แต่พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้เขียนเป็น &quot;มนเทียร&quot; ใช้ ท (ทหาร) เพราะคำนี้มาจากคำบาลีว่า &quot;มนฺทิร&quot; ซึ่งแปลว่า &quot;เรือน&quot; เมื่อแผลง อิ เป็น เอีย คำว่า &quot;มนฺทิร&quot; จึงกลายเป็น &quot;มนเทียร&quot; ทำนองเดียวกับแผลงคำว่า &quot;วชิร&quot; เป็น &quot;วิเชียร&quot; หรือ &quot;พาหิร&quot; เป็น &quot;พาเหียร&quot; และ &quot;ปกีรณกะ&quot; เป็น &quot;ปเกียรณกะ&quot; ฉะนั้น\n</p>\n<p>\nข้าพเจ้าจึงขอร้องให้เขียนคำว่า &quot;ทีฆายุโก&quot; ให้ถูกต้องหน่อย ในฐานะที่เราเป็นประชาชนที่มีความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จึงไม่ควรที่จะใช้ข้อความใด ๆ ที่เกี่ยวกับพระองค์ท่านให้ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง ผู้หลักผู้ใหญ่ในหน่วยราชการต่าง ๆ ควรจะได้เอาใจใส่ดูแล และสอดส่องให้มากกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ ไม่ใช่ผู้น้อยหรือผู้เขียนจะทำอย่างไรหรือเขียนอย่างไร ก็ปล่อยเลยตามเลย ข้าพเจ้าคิดว่าถ้าทางกระทรวงกลาโหมพอจะมีเวลาก็ควรแก้ไขเสียให้ถูกต้อง ก่อนจะถึงวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๓๖\n</p>\n<p>\nนอกจากนั้น ตามหนังสือพิมพ์รายวันแทบทุกฉบับ ก็มีทั้งคำว่า &quot;ทีฆายุโก&quot; (ท ทหาร) และ &quot;ฑีฆายุโก&quot; (ฑ นางมณโฑ) ปะปนกันอยู่ในฉบับเดียวกัน ควรจะได้ระมัดระวังให้มาก ความจริงก็มิได้ทำให้ความหมายเสียไป แต่ไม่ถูกต้องตามหลักภาษาเท่านั้นเอง เพราะคำว่า &quot;ฑีฆ&quot; (ฑ นางมณโฑ) ในภาษาบาลีหรือสันสกฤตที่แปลว่า &quot;ยาว&quot; นั้นไม่มี มีแต่ &quot;ทีฆ&quot; (ท ทหาร) เท่านั้น ความจริงเรื่องนี้ก็ได้พูดกันมาทุกปี แต่การเขียนก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร ยังมีที่ผิด ๆ ให้เห็นอยู่เสมอ แม้จะน้อยลงบ้างก็ตาม ยิ่งคำว่า &quot;ทีฆายุกา โหตุ มหาราชินี&quot; ด้วยแล้ว บางทีก็เขียนเป็น &quot;ทีฆายุโก โหตุ มหาราชินี&quot; และบางทีที่คำว่า &quot;ทีฆายุโก&quot; ใช้ ฑ (นางมณโฑ) หรือ ฑ หัวหยักก็มี แต่ในปัจจุบันการเขียนถูกต้องเกือบ ๑๐๐% แล้ว เพียงแต่คำว่า &quot;ทีฆายุโก&quot; และ &quot;ทีฆายุกา&quot; บางทียังใช้ ฑ (นางมณโฑ) แทน ท (ทหาร) อยู่บ้างเท่านั้น จึงขอร้องให้ช่วยกันระมัดระวังและเขียนให้ถูกต้องหน่อย อย่าเห็นว่าเป็นเรื่องเล็กน้อยหรือไม่สำคัญเลย. <br />\n<strong><u>หลักการใช้ &quot;คำสรรพนาม&quot; ในภาษาไทย</u></strong> <br />\nประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสรรพนามที่อยู่ข้างหน้าและทำหน้าที่เชื่อมประโยค ได้แก่ คำว่า ที่ ซึ่ง อัน ตำแหน่งของคำสรรพนามนี้จะเรียงชิดติดอยู่กับคำนามหรือสรรพนามเสมอ\n</p>\n<p>\nสรรพนามใช้เน้นความรู้สึกของผู้พูด จะเรียงไว้หลังคำนามเพื่อเน้นความรู้สึกต่างๆ ของผู้พูด ความรู้สึกยกย่อง คุ้นเคย ดูหมิ่น หรือความรู้สึกอย่างใดก็ได้ <br />\nข้อสังเกตุคำสรรพาม<br />\nบุรุษสรรพนามอาจเป็นได้หลายบุรุษ ขึ้นอยู่กับหน้าที่ของคำเป็นสำคัญ เช่น\n</p>\n<p>\nเราจะทำงานบ้าน (เป็นบุรุษที่ 1)\n</p>\n<p>\nเราน่ะ ทำงานบ้านเสร็จแล้วหรือ (เป็นบุรุษที่ 2)\n</p>\n<p>\nวันนี้เขาเหนื่อย เขาขอหยุดพักหนึ่งวันนะ (เป็นบุรุษที่ 1)<br />\nวิภาคสรรพนาม คำว่า ต่าง บ้าง กัน นั้นต้องใช้แทนนาม หรือสรรพนาม ถ้าทำหน้าที่ขยายคำนาม คำสรรพนาม กริยา วิเศษณ์ จัดเป็นคำวิเศษณ์ เช่น<br />\nชายบ้างหญิงบ้าง\n</p>\n<p>\nเรียนบ้างเล่นบ้าง\n</p>\n<p>\nต่างจิตต่างใจ\n</p>\n<p>\nคำบ้างและต่างด้านบนนี้ เป็นคำวิเศษณ์ขยายคำนามและคำกริยา<br />\nปฤจฉาสรรพนาม กับอนิยมสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนามทำให้ประโยคมีเนื้อความเป็นคำถามที่ต้องการคำตอบ ส่วนอนิยมสรรพนามไม่ทำให้ประโยคเป็นประโยคคำถาม เช่น<br />\nใครไม่ทำเลขข้อนี้ (ใคร เป็นคำถามต้องการคำตอบ)\n</p>\n<p>\nใครไม่ทำเลขข้อนี้ก็ได้ (ใคร เป็นความบอกเล่าที่ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง ไม่ต้องการคำตอบ)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><u>คำสรรพนามทำหน้าที่ได้หลายประการดังต่อไปนี้</u></strong>\n</p>\n<p>\nเป็นประธาน เช่น<br />\n- เธอรู้สึกไม่สบายมากวันนี้<br />\n- ฉันจะไปเที่ยวเชียงใหม่\n</p>\n<p>\n<br />\nเป็นกรรม เช่น<br />\n- เธอชอบอะไร<br />\n- อย่าไปโทษเธอเลย\n</p>\n<p>\n<br />\nใช้เรียกขาน เช่น<br />\n- ท่านคะ ใครมา\n</p>\n<p>\n<br />\nเป็นส่วนเติมเต็ม เช่น<br />\n- เด็กคนนี้เหมือนเธอมาก<br />\n- ช่างเครื่องยนต์ที่เชี่ยวชาญที่สุดคือเขา\n</p>\n<p>\n<br />\nคำสรรพนามบางคำใช้แสดงความรู้สึกของผู้พูดหรือบอกฐานะของบุคคลที่กล่าวถึง เช่น<br />\n- อาจารย์ท่านสอนเก่งมาก<br />\n- ตาทองแกทำไร่\n</p>\n<p>\n<br />\nนิยมสรรพนามใช้ชี้ระยะ เช่น<br />\n- นี่ใกล้กว่านั้นและโน่นไกลที่สุด\n</p>\n<p>\n<br />\nอนิยมสรรพนามใช้บอกความไม่เจาะจง หรือแสดงความสงสัย เช่น<br />\n- ฉันไม่เห็นอะไรอยู่ในตู้\n</p>\n<p>\n<br />\nประพันธสรรพนามใช้เชื่อมประโยค เช่น<br />\n- ฉันรักคนไทยที่รักชาติไทย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>', created = 1719405661, expire = 1719492061, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:722982b5f0b3c42ce2c26799400af3ad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานชิ้นที่ 3 เรื่องภาษาไทย

รูปภาพของ pnp31495

ทีฆายุโก - ฑีฆายุโก

ที่มารูปภาพ  http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:9Ycp0E50V-TExM
เนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ไม่ว่าจะเป็น ๕ ธันวาคม หรือ ๑๒ สิงหาคม ก็ตาม เราจะพบป้ายหรือข้อความถวายชัยมงคลว่า "ทีฆายุโก โหตุ มหาราชา" หรือ "ทีฆายุกา โหตุ มหาราชินี" ตามสถานที่ราชการ หรือ ในหนังสือพิมพ์ ตลอดจนวารสารรายสัปดาห์ รายปักษ์ หรือรายเดือนอยู่ทั่วไป เขียนกันถูกบ้าง ผิดบ้าง แม้จะได้เคยแนะนำทั้งทางวิทยุและข้อเขียนต่าง ๆ อยู่เสมอแล้ว แต่ก็ยังคงมีการเขียนหรือพิมพ์ผิด ๆ อยู่ตลอดมาทุกปี นั่นคือคำว่า "ทีฆายุโก" หรือ "ทีฆายุกา" ซึ่งจะต้องใช้ ท (ทหาร) นั้น บางทีก็ใช้ ฑ (นางมณโฑ) อยู่บ่อย ๆ และ ณ สถานที่ราชการซึ่งมีผู้มีความรู้ด้านบาลี ถึงเปรียญ ๙ ประโยคอยู่มากกว่าหน่วยราชการอื่น ๆ คือ กระทรวงกลาโหม ก็ยังปล่อยให้เขียนผิด ๆ ออกมา ถ้าท่านเดินผ่านหรือนั่งรถผ่านหน้ากระทรวงกลาโหม และสังเกตดูข้อความถวายชัยมงคลตัวขนาดใหญ่ ชั้นบนของอาคารด้านหน้า ปรากฏว่าเป็น "ฑีฆายุโก โหตุ มหาราชา" ท (ทหาร) ที่คำว่า "ทีฆายุโก) กลายเป็น ฑ (นางมณโฑ) ไป

คำว่า "ทีฆายุโก" เป็นภาษาบาลี ใช้ ท ทหาร แปลว่า "มีอายุยืน" เมื่อรวมข้อความที่ว่า "ทีฆายุโก โหตุ มหาราชา" ตามอักษรก็แปลว่า "ขอพระมหาราชจงทรงมีพระชนมายุยั่งยืนนาน" และ "ทีฆายุกา" สำหรับพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถนั้น ก็เป็นการเปลี่ยนรูปตามไวยากรณ์ เพราะ คำว่า "มหาราชา" เป็นปุงลิงค์ คือเพศชาย จึงต้องใช้ "ทีฆายุโก" ส่วน "มหาราชินี" เป็น อิตถีลิงค์ คือ เพศหญิง จึงใช้ "ทีฆายุกา"

เหตุที่บางคนเขียนเป็น ฑ นางมณโฑนั้น คงเป็นเพราะตัว ฑ อยู่ใกล้กับ ฆ (ระฆัง) ซึ่งมีหัวหยัก เลยทำให้ ท (ทหาร) มีหัวหยัก เลยกลายเป็น ฑ (นาง มณโฑ) ตามไปด้วย

คำในภาษาไทยที่มาจากภาษาบาลีที่เดิมเป็น ท (ทหาร) แล้วมีผู้เขียนเป็น ฑ (นางมณโฑ) ในสมัยก่อน ๆ นั้นมีอยู่หลายคำ เช่นคำว่า "ทูต" ซึ่งเป็นภาษาบาลี ใช้ ท (ทหาร) ก็มีพบอยู่บ่อย ๆ โดยเฉพาะในหนังสือเก่าเขียนเป็น "ฑูต" โดยใช้ ฑ (นางมณโฑ) หรือคำว่า "มนเทียรบาล" หนังสือเก่า ๆ เช่นในเรื่อง "กฎมณเฑียรบาล" ก็ดี หรือ "หมู่พระราชมณเฑียร" ก็ดี ที่คำว่า "มณเฑียร" ก็ใช้ ฑ (นางมณโฑ) แต่พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้เขียนเป็น "มนเทียร" ใช้ ท (ทหาร) เพราะคำนี้มาจากคำบาลีว่า "มนฺทิร" ซึ่งแปลว่า "เรือน" เมื่อแผลง อิ เป็น เอีย คำว่า "มนฺทิร" จึงกลายเป็น "มนเทียร" ทำนองเดียวกับแผลงคำว่า "วชิร" เป็น "วิเชียร" หรือ "พาหิร" เป็น "พาเหียร" และ "ปกีรณกะ" เป็น "ปเกียรณกะ" ฉะนั้น

ข้าพเจ้าจึงขอร้องให้เขียนคำว่า "ทีฆายุโก" ให้ถูกต้องหน่อย ในฐานะที่เราเป็นประชาชนที่มีความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จึงไม่ควรที่จะใช้ข้อความใด ๆ ที่เกี่ยวกับพระองค์ท่านให้ผิดเพี้ยนไปจากความเป็นจริง ผู้หลักผู้ใหญ่ในหน่วยราชการต่าง ๆ ควรจะได้เอาใจใส่ดูแล และสอดส่องให้มากกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ ไม่ใช่ผู้น้อยหรือผู้เขียนจะทำอย่างไรหรือเขียนอย่างไร ก็ปล่อยเลยตามเลย ข้าพเจ้าคิดว่าถ้าทางกระทรวงกลาโหมพอจะมีเวลาก็ควรแก้ไขเสียให้ถูกต้อง ก่อนจะถึงวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๓๖

นอกจากนั้น ตามหนังสือพิมพ์รายวันแทบทุกฉบับ ก็มีทั้งคำว่า "ทีฆายุโก" (ท ทหาร) และ "ฑีฆายุโก" (ฑ นางมณโฑ) ปะปนกันอยู่ในฉบับเดียวกัน ควรจะได้ระมัดระวังให้มาก ความจริงก็มิได้ทำให้ความหมายเสียไป แต่ไม่ถูกต้องตามหลักภาษาเท่านั้นเอง เพราะคำว่า "ฑีฆ" (ฑ นางมณโฑ) ในภาษาบาลีหรือสันสกฤตที่แปลว่า "ยาว" นั้นไม่มี มีแต่ "ทีฆ" (ท ทหาร) เท่านั้น ความจริงเรื่องนี้ก็ได้พูดกันมาทุกปี แต่การเขียนก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร ยังมีที่ผิด ๆ ให้เห็นอยู่เสมอ แม้จะน้อยลงบ้างก็ตาม ยิ่งคำว่า "ทีฆายุกา โหตุ มหาราชินี" ด้วยแล้ว บางทีก็เขียนเป็น "ทีฆายุโก โหตุ มหาราชินี" และบางทีที่คำว่า "ทีฆายุโก" ใช้ ฑ (นางมณโฑ) หรือ ฑ หัวหยักก็มี แต่ในปัจจุบันการเขียนถูกต้องเกือบ ๑๐๐% แล้ว เพียงแต่คำว่า "ทีฆายุโก" และ "ทีฆายุกา" บางทียังใช้ ฑ (นางมณโฑ) แทน ท (ทหาร) อยู่บ้างเท่านั้น จึงขอร้องให้ช่วยกันระมัดระวังและเขียนให้ถูกต้องหน่อย อย่าเห็นว่าเป็นเรื่องเล็กน้อยหรือไม่สำคัญเลย.
หลักการใช้ "คำสรรพนาม" ในภาษาไทย
ประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนนามหรือสรรพนามที่อยู่ข้างหน้าและทำหน้าที่เชื่อมประโยค ได้แก่ คำว่า ที่ ซึ่ง อัน ตำแหน่งของคำสรรพนามนี้จะเรียงชิดติดอยู่กับคำนามหรือสรรพนามเสมอ

สรรพนามใช้เน้นความรู้สึกของผู้พูด จะเรียงไว้หลังคำนามเพื่อเน้นความรู้สึกต่างๆ ของผู้พูด ความรู้สึกยกย่อง คุ้นเคย ดูหมิ่น หรือความรู้สึกอย่างใดก็ได้
ข้อสังเกตุคำสรรพาม
บุรุษสรรพนามอาจเป็นได้หลายบุรุษ ขึ้นอยู่กับหน้าที่ของคำเป็นสำคัญ เช่น

เราจะทำงานบ้าน (เป็นบุรุษที่ 1)

เราน่ะ ทำงานบ้านเสร็จแล้วหรือ (เป็นบุรุษที่ 2)

วันนี้เขาเหนื่อย เขาขอหยุดพักหนึ่งวันนะ (เป็นบุรุษที่ 1)
วิภาคสรรพนาม คำว่า ต่าง บ้าง กัน นั้นต้องใช้แทนนาม หรือสรรพนาม ถ้าทำหน้าที่ขยายคำนาม คำสรรพนาม กริยา วิเศษณ์ จัดเป็นคำวิเศษณ์ เช่น
ชายบ้างหญิงบ้าง

เรียนบ้างเล่นบ้าง

ต่างจิตต่างใจ

คำบ้างและต่างด้านบนนี้ เป็นคำวิเศษณ์ขยายคำนามและคำกริยา
ปฤจฉาสรรพนาม กับอนิยมสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนามทำให้ประโยคมีเนื้อความเป็นคำถามที่ต้องการคำตอบ ส่วนอนิยมสรรพนามไม่ทำให้ประโยคเป็นประโยคคำถาม เช่น
ใครไม่ทำเลขข้อนี้ (ใคร เป็นคำถามต้องการคำตอบ)

ใครไม่ทำเลขข้อนี้ก็ได้ (ใคร เป็นความบอกเล่าที่ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง ไม่ต้องการคำตอบ)

 


คำสรรพนามทำหน้าที่ได้หลายประการดังต่อไปนี้

เป็นประธาน เช่น
- เธอรู้สึกไม่สบายมากวันนี้
- ฉันจะไปเที่ยวเชียงใหม่


เป็นกรรม เช่น
- เธอชอบอะไร
- อย่าไปโทษเธอเลย


ใช้เรียกขาน เช่น
- ท่านคะ ใครมา


เป็นส่วนเติมเต็ม เช่น
- เด็กคนนี้เหมือนเธอมาก
- ช่างเครื่องยนต์ที่เชี่ยวชาญที่สุดคือเขา


คำสรรพนามบางคำใช้แสดงความรู้สึกของผู้พูดหรือบอกฐานะของบุคคลที่กล่าวถึง เช่น
- อาจารย์ท่านสอนเก่งมาก
- ตาทองแกทำไร่


นิยมสรรพนามใช้ชี้ระยะ เช่น
- นี่ใกล้กว่านั้นและโน่นไกลที่สุด


อนิยมสรรพนามใช้บอกความไม่เจาะจง หรือแสดงความสงสัย เช่น
- ฉันไม่เห็นอะไรอยู่ในตู้


ประพันธสรรพนามใช้เชื่อมประโยค เช่น
- ฉันรักคนไทยที่รักชาติไทย

 

 

รูปภาพของ pnp33671

แนนให้ 10 จ้า

ดีมาก มีสาระ

อิอิอิ

รูปภาพของ pnp33671

แนนให้ 10 จ้า

ดีมาก มีสาระ

อิอิอิ

รูปภาพของ pnp31471

เนื้หาดี มีประโยชน์ทำให้เข้าใจภาษาไทยมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม

ทำงานเรียนร้อยดี

ให้10คะเเนนเต็มเลยจร้า

สวยงามคับน้องนก

 

10คับ                

รูปภาพของ pnp33667

น่าสนใจดี

สวยงาม 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp32300

แน่ นอน ๆ

 

สวยงาม 10 เลย

รูปภาพของ pnp31446

ทำงานถูกต้อง

 

ส่งตามเวลา

 

เนื้อหาน่าสนใจ  10 สิค่ะ

รูปภาพของ pnp31503

เนื้อหาดีมาก

มีประโยชน์

ให้ 10 คะแนนเต็ม 

รูปภาพของ pnp31144

น่าสนใจดี

 

เอาไปสิบ

รูปภาพของ pnp31501

อือก็ดีนะนำความรู้มาใช้ได้

รูปภาพของ pnp31427

เนื้อหาดีมีสาระ

เอาไป10

รูปภาพของ pnp31511

เนื้อหาดี

+ทำให้เข้าใจมากขึ้น

10 คะแนน ;)

รูปภาพของ pnp33607

10 คะแนนครับ

 

น่าสนใจ.

 

S i R i U s Z . b a D z . V i r G i n .

 

______________________________ . L o v e ~ ♡

รูปภาพของ pnp33655

เอาไป10พอ

รูปภาพของ pnp31507

ให้

 

10

 

คะแนน

 

นะค่ะ

รูปภาพของ pnp33670

ดีดี

เอาเอา

10 10

รูปภาพของ pnp33660

รักในหลวง ให้10ครับ

รูปภาพของ pnp31269

เนื้อหาน่าสนใจจ้า

 

 

น้ำหวานให้10จ้า

รูปภาพของ pnp31530

สวย ดี มีสาระ

10 คะแนน

 

 

รูปภาพของ pnp31264

เนื้อหาดี

มีประโยชน์จ้า

 

10ๆ

รูปภาพของ pnp31315

มีสาระจ้า

เหมาะสมๆ 

 

10ๆ

รูปภาพของ pnp31311

มีประโยชน์ค่ะ

เนื้อหาดี

 

ให้ 10

รูปภาพของ pnp33669

เนื้อหาดี  มีสาระ ให้ 10

รูปภาพของ pnp33672

เนื้หาดี มีประโยชน์ทำให้เข้าใจภาษาไทยมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม

ทำงานเรียนร้อยดี รูปภาพสวย ให้ 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31585

เนื้อหาดี

เข้าใจง่าย

เอาไปเลย 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp33659

เนื้อหาดีเข้าใจง่ายและมีประโยชน์ ให้ 10 คะแนน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 517 คน กำลังออนไลน์