• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บล็อกของ trmwimol', 'blog/27103', '', '18.190.25.193', 0, '6c61248c393d57a4baddb12361140d82', 520, 1716243104) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0b11f4329c0e2e3f0fe2f1d9d206a9ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table border=\"0\" width=\"788\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"465\" vAlign=\"top\"><span class=\"blue\"><strong>สภาพทั่วไป <br />\n </strong>         ตั้งอยู่ภาคเหนือของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 735 กม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นป่าเขา ที่ราบสูง มีระดับความสูงตั้งแต่ 300 – 1,550 เมตรจากระดับน้ำทะเล นอกนั้นพื้นที่ส่วนใหญ่่เป็นที่ราบ<br />\n ลักษณะภูมิอากาศเนื่องจากมีป่าไม้และภูเขาล้อมรอบจึงทำให้อากาศหนาวมากในฤดูหนาวและอากาศไม่ร้อน<br />\n จัดในฤดูร้อน มีเทือกเขาสำคัญ คือ เทือกเขาผีปันน้ำ มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน 3 สาย คือ แม่น้ำอิง แม่น้ำยม และแม่น้ำลาว </span>\n<p align=\"justify\" class=\"blue\">\n <strong>ที่ตั้งและอาณาเขต <br />\n </strong>         จังหวัดพะเยา เป็นจังหวัดชายแดน ตั้งอยู่ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีเขตระหว่าง<br />\n เส้นรุ้งที่ 18 องศา 44 ลิปดาเหนือ ถึง 19 องศา 44 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 99 องศา 40 ลิปดาตะวันออก ถึง 100 องศา 40 ลิปดาตะวันออก โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"194\" colSpan=\"2\" vAlign=\"top\" class=\"blue\"><strong>       </strong>ทิศเหนือ ติดเขต อ. พาน อ. ป่าแดด อ. เทิง จังหวัดเชียงราย <br />\n <strong>       </strong>ทิศใต้ ติดเขต อ. งาว จ. ลำปาง และ อ. สอง จ. แพร่ <br />\n <strong>       </strong>ทิศตะวันออก ติดเขต แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ อ. ท่าวังผา อ. บ้านหลวง อ. สองแคว จ. น่าน <br />\n <strong>       </strong>ทิศตะวันตก ติดเขต อ. งาว อ. วังเหนือ จ. ลำปาง <br />\n <strong><br />\n ลักษณะภูมิประเทศ<br />\n </strong>             สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดพะเยา เป็นที่นสบสูงและภูเขา มีระดับความสูงตั้งแต่ 300-1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล มีเทือกเขาอยู่ทางทิศตะวันตก ตะวันออก<br />\n เฉียงเหนือ ตะวันออกเฉียงใต้และตอนกลางของพื้นที่จังหวัด มีเนื้อที่ประมาณ 6,335.06 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,959,412 ไร่ มีพื้นที่ขนาดใหญ่ เป็นลำดับที่ 15 ของภาคเหนือ<br />\n และมีพื้นที่ป่าไม้ (จากภาพถ่ายดาวเทียม ปี 2542) ประมาณ 1,503,174 ไร่ หรือร้อยละ 37.96 ของพื้นที่จังหวัด สภาพเป็นป่าดงดิบและป่าไม้เบญจพรรณ ไม้ที่สำคัญ ได้แก่<br />\n ไม้สัก ไม้ประดู่ ไม้มะค่า ไม้ชิงชัน ไม้ยาง ไม้เต็ง ไม้รัง ฯลฯ จังหวัดพะเยามีพื้นอยู่ทั้งในที่ลุ่มน้ำโขงและลุ่มน้ำเจ้าพระยา ส่วนที่อยู่ในลุ่มน้ำโขง คือพื้นที่อำเภอเมือง อ.ดอกคำใต้ อ.จุน อ.ปง(บางส่วน) อ.เชียงคำ และ อ.แม่ใจ ส่วนที่อยู่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา คือ อ.ปง และ อ.เชียงม่วน ซึ่งเป็นต้นกำหนิดของแม่น้ำยม<br />\n             เทือกเขาที่สำคัญ ได้แก่ ดอยภูลังกา ดอยสันปันน้ำ ดอยแม่สุก ดอยขุนแม่แฝก ดอยขุนแม่ต๋ำ ดอยขุนแม่ต๋อม\n </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\" vAlign=\"top\">\n<div align=\"right\">\n<table border=\"0\" width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"476\" vAlign=\"top\"><span class=\"blue\"><br />\n <strong>ลักษณะภูมิอากาศ <br />\n </strong></span><span class=\"blue\">แบ่งออกได้เป็น 3 ฤดู คือ<br />\n 1. ฤดูร้อน อยู่ระหว่างเดือน มีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนจัดในเดือน พฤษภาคม อุณหภูมิวัดได้ 39.5 องศา ซ.<br />\n 2. ฤดูฝน อยู่ระหว่างเดือน พฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม ฝนตกหนาแน่นในเดือนพฤษภาคม ฝนตกตลอดปีประมาณ 1,043.9 มม. มีวันฝนตก 101 วัน<br />\n 3. ฤดูหนาว อยู่ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศหนาวจัดในเดือนพฤศจิกายน และ มกราคม อุณหภูมิต่ำสุดวัดได้ 10.8 องศา ซ.ในเดือนธันวาคม<br />\n </span></td>\n<td width=\"300\"></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\" vAlign=\"top\" class=\"blue\">\n<p>\n <strong>การปกครอง <br />\n </strong>            ประกอบด้วย 9 อำเภอ คือ อ.เมืองพะเยา, อ.เชียงคำ, อ.เชียงม่วน, อ.ปง, อ.ดอกคำใต,้ อ.จุน, อ.แม่ใจ, อ.ภูซาง และ อ..ภูกามยาว แบ่งเป็น 68 ตำบล <br />\n             805  หมู่บ้าน <br />\n <strong><br />\n การปกครองท้องถิ่น</strong><br />\n             - องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง<br />\n             - เทศบาลเมือง 1 แห่ง<br />\n             - เทศบาลตำบล 11 แห่ง<br />\n             - องค์การบริหารส่วนตำบล 59 แห่ง<br />\n            \n </p>\n<p>\n <strong>ประชากร<br />\n </strong>            จำนวนประชากร เดือนมิถุนายน ปี 2549 มีทั้งสิ้น 486,348 คน เป็นชาย 239,731 คน เป็นหญิง 246,617 คน จำนวนครัวเรือน  163,761 ครัวเรือน <br />\n             มีบนพื้นที่สูงอาศัยอยู่กระจัดกระจายตามบริเวณเทือกเขาสูง ได้แก่ เผ่าลื้อ เผ่าเย้า เผ่าแม้ว เผ่าลีซอ และเผ่าถิ่น จำนวน 45 หมู่บ้าน 2,658 ครัวเรือน <br />\n             โดยกระจายอยู่ตามอำเภอต่าง ๆ เช่น อ.เมืองพะเยา อ.ปง  อ.เชียงคำ  อ.เชียงม่วน  อ.แม่ใจ  อ.ภูซาง และอ.ดอกคำใต้\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"261\" colSpan=\"2\" vAlign=\"top\">\n<table border=\"0\" width=\"783\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"307\">\n<div align=\"center\">\n </div>\n</td>\n<td width=\"404\"><span class=\"blue\"><strong>การเกษตร</strong></span> \n<p class=\"blue\">\n ในปี 2548 จังหวัดพะเยามีพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั้งสิ้น ประมาณ 410,825 ไร่ ีผลผลิตประมาณ 431,643 ตัน <br />\n ีพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่ ประมาณ 358,069 ไร่ มีผลผลิตประมาณ 277,905 ตัน<br />\n พื้นที่ปลูกยางพารา ประมาณ 55,809 ไร่ มีผลผลิตประมาณ 37,808 ตัน<br />\n มีเนื้อที่ปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น ประมาณ 116,167 ไร่ มีผลผลิตประมาณ 229.76 ตัน\n </p>\n<p>\n <span class=\"blue\">อาชีพหลักของประชากร คือ การทำนา <br />\n พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลำไย และยางพารา <br />\n </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n<tr vAlign=\"top\">\n<td height=\"255\" colSpan=\"2\">\n<table border=\"0\" width=\"781\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"471\"><span class=\"blue\"><strong>ผลิตภัณฑ์จังหวัด</strong><br />\n             มูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดพะเยา ตามราคาตลาด พ.ศ. 2548 จากข้อมูลของ<br />\n สำนักงานคลังหวัดพะเยามูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัด เป็นเงิน 18,884 ล้านบาท และมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว 37,315 บาทต่อปี นับเป็นรายได้เฉลี่ยต่อหัว ลำดับที่ 15 ของภาค ลำดับที่ 57 ของประเทศ <br />\n             สาขาที่มูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดมากที่สุดคือ สาขาการเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ 5,139 ล้านบาท<br />\n             สาขาที่มูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดรองลงมาคือ สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมแซม<br />\n ยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ 3,656 ล้านบาท<br />\n             </span>\n </td>\n<td width=\"300\">\n<div align=\"right\">\n </div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<div align=\"left\">\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\" vAlign=\"top\">\n<p>\n <span class=\"blue\"><strong>การศึกษา</strong><br />\n             ในปีการศึกษา 2549 จังหวัดพะเยา <br />\n                         มีสถานศึกษา จำนวน 347 แห่ง<br />\n                         มีนักเรียน/นักศึกษา รวมจำนวน 124,474 คน แยกเป็น<br />\n                        ในระบบโรงเรียน 95,534 คน   <br />\n                        นอกระบบโรงเรียน 28,940 คน<br />\n                        </span>\n </p>\n<p class=\"blue\">\n <strong>การสาธารณสุข</strong><br />\n             ในปี 2549 จังหวัดพะเยา<br />\n                         มีโรงพยาบาลของรัฐ จำนวน 8 แห่ง<br />\n                         มีโรงพยาบาลเอกชน จำนวน 1 แห่ง<br />\n                         มีเตียงคนไข้ จำนวน 808 เตียง (เฉลี่ยเตียงคนไข้ 1 เตียงต่อประชากร 584 คน)<br />\n                         มีแพทย์ จำนวน 92 คน (เฉลี่ยแพทย์ 1 คนต่อประชากร 5,451 คน)<br />\n                         มีทันตแพทย์ จำนวน 21 คน (เฉลี่ยทันตแพทย์ 1 คนต่อประชากร 23,881 คน)<br />\n                         มีพยาบาล จำนวน 1,001 คน (เฉลี่ยพยาบาล 1 คนต่อประชากร 501 คน) <br />\n                         มีสถานีอนามัย จำนวน 94 แห่ง<br />\n                         มีคลินิคทุกประเภท จำนวน 60 แห่ง\n </p>\n<p class=\"blue\">\n <strong>การสารณูปโภค</strong><br />\n                         ไฟฟ้า ในปี 2549 จังหวัดพะเยา มีจำนวนผู้ใช้ไฟฟ้า 130,610 ราย<br />\n                         ประปา ในปี 2549 จังหวัดพะเยา<br />\n                         มีการประปาพะเยา-ดอกคำใต้ มีโรงกรองน้ำ จำนวน 2 แห่ง โดยใช้น้ำจากกว๊านพะเยา <br />\n                         ปัจจุบันให้บริการ น้ำสะอาดแก่ชุมชนเมืองพะเยา และ อ.ดอกคำใต้ <br />\n                         มีการประปาจุน จำหน่ายน้ำ 3 เขต คือ อ.จุน อ.ปง อ.เชียงคำ<br />\n                         มีกำลังการผลิตน้ำประปาทั้งสองแห่งประมาณ 7,708,800 ลูกบาศก์เมตร<br />\n                         มีจำนวนผู้ใช้น้ำประปา ประมาณ 17,098 ราย\n </p>\n<p class=\"blue\">\n <strong>โทรศัพท์</strong> <br />\n                        ในปี 2549 จังหวัดพะเยา มีหายเลขโทรศัพท์ 37,215 หมายเลข<br />\n                         เป็นของบริษัท ทศท.คอร์เปอเรชั่น จำกัด(มหาชน) จำนวน 22,079 หมายเลข (มีผู้เช่า จำนวน 29,882 หมายเลข)<br />\n                         เป็นของบริษัทสัมปทาน จำนวน 15,136 หมายเลข (มีผู้เช่า จำนวน 13,841 หมายเลข)\n </p>\n<p class=\"blue\">\n &nbsp;\n </p>\n<p class=\"blue\">\n <strong>การคมนาคมขนส่ง</strong><br />\n                        จังหวัดพะเยา ใช้เส้นทางคมานาคมทางบกเป็นหลัก โดยมีเส้นทางคมนาคมติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง กรุงเทพ ฯ และระหว่างอำเภอต่าง ๆ ดังนี้\n </p>\n<p class=\"blue\">\n                        1. ระยะทางจากอำเภอเมืองพะเยา ถึง 2. ระยะทางจากจังหวัดพะเยา ถึง<br />\n                                               - อ.ดอกคำใต้ 15 กม. - จังหวัดเชียงราย 94 กม.<br />\n                                               - อ.จุน 48 กม. - จังหวัดเชียงใหม่ 134 กม.<br />\n                                               - อ.เชียงคำ 76 กม. - จังหวัดลำปาง 137 กม.<br />\n                                               - อ.เชียงม่วน 117 กม. - จังหวัดแพร่ 138 กม.<br />\n                                               - อ.ปง 79 กม.<br />\n                                               - อ.แม่ใจ 24 กม.<br />\n                                               - อ.ภูซาง 91 กม.<br />\n                                               - อ.ภูกามยาว 18 กม.\n </p>\n<p>\n <span class=\"blue\">                        2.ทางด้านไปรษณีย์ จังหวัดพะเยา มีที่ทำการไปรษณีย์รวม 8 แห่ง (ที่อำเภอเมืองพะเยามี 2 แห่งคือ ที่ทำการไปรษณีย์พะเยา และที่ทำการไปรษณีย์หนองระบู</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\" vAlign=\"top\">\n<table border=\"0\" width=\"783\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"330\">\n<div align=\"center\">\n </div>\n</td>\n<td width=\"443\" vAlign=\"top\"><span class=\"blue\"><strong>แหล่งท่องเที่ยว</strong><br />\n               แหล่งท่องทางธรรมชาติ ได้แก่ กว๊านพะเยา หนองเล็งทราย น้ำตกจำปาทอง น้ำตกภูซาง น้ำตกผาแดง น้ำตกภูลังกา น้ำตกธารสวรรค์ วนอุทยานบ้านถ้ำ อ่างเก็บน้ำแม่ปืม ถ้ำผากุด ฝั่งต้า วนอุทยานแห่งดอยหลวง วนอุทยานแห่งชาติดอยภูนาง วนอุทยานแห่งชาติภูซาง </span>\n<p>\n <span class=\"blue\"><strong>แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม</strong> <br />\n               ได้แก่ วัดศรีโคมคำ (วัดพระเจ้าตนหลวง) หอวัฒนธรรมนิทัศน์ วัดอนาลโยทิพยาราม วัดป่าแดงบุญนาค วัดราชคฤห์ เวียงลอ วัดศรีจอมเรือง วัดนันตาราม วัดท่าฟ้าใต้ วัดพระเจ้านั่งดิน วัดศรีสุพรรณ วัดพระธาตุดอยหยวก วัดศรีปิงเมือง หมู่บ้านไทลื้อ หมู่บ้านชาวเขาเผ่าเย้าปางปูเลาะ</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>อ้างอิง <a href=\"http://www.phayao.go.th/detail.html\">http://www.phayao.go.th/detail.html</a></p>\n', created = 1716243114, expire = 1716329514, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0b11f4329c0e2e3f0fe2f1d9d206a9ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติจังหวัดพะเยา

รูปภาพของ abp3592
สภาพทั่วไป
         ตั้งอยู่ภาคเหนือของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 735 กม. ลักษณะภูมิประเทศเป็นป่าเขา ที่ราบสูง มีระดับความสูงตั้งแต่ 300 – 1,550 เมตรจากระดับน้ำทะเล นอกนั้นพื้นที่ส่วนใหญ่่เป็นที่ราบ
ลักษณะภูมิอากาศเนื่องจากมีป่าไม้และภูเขาล้อมรอบจึงทำให้อากาศหนาวมากในฤดูหนาวและอากาศไม่ร้อน
จัดในฤดูร้อน มีเทือกเขาสำคัญ คือ เทือกเขาผีปันน้ำ มีแม่น้ำสำคัญไหลผ่าน 3 สาย คือ แม่น้ำอิง แม่น้ำยม และแม่น้ำลาว

ที่ตั้งและอาณาเขต
         จังหวัดพะเยา เป็นจังหวัดชายแดน ตั้งอยู่ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีเขตระหว่าง
เส้นรุ้งที่ 18 องศา 44 ลิปดาเหนือ ถึง 19 องศา 44 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 99 องศา 40 ลิปดาตะวันออก ถึง 100 องศา 40 ลิปดาตะวันออก โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้

 

       ทิศเหนือ ติดเขต อ. พาน อ. ป่าแดด อ. เทิง จังหวัดเชียงราย
       ทิศใต้ ติดเขต อ. งาว จ. ลำปาง และ อ. สอง จ. แพร่
       ทิศตะวันออก ติดเขต แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ อ. ท่าวังผา อ. บ้านหลวง อ. สองแคว จ. น่าน
       ทิศตะวันตก ติดเขต อ. งาว อ. วังเหนือ จ. ลำปาง

ลักษณะภูมิประเทศ
             สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดพะเยา เป็นที่นสบสูงและภูเขา มีระดับความสูงตั้งแต่ 300-1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล มีเทือกเขาอยู่ทางทิศตะวันตก ตะวันออก
เฉียงเหนือ ตะวันออกเฉียงใต้และตอนกลางของพื้นที่จังหวัด มีเนื้อที่ประมาณ 6,335.06 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,959,412 ไร่ มีพื้นที่ขนาดใหญ่ เป็นลำดับที่ 15 ของภาคเหนือ
และมีพื้นที่ป่าไม้ (จากภาพถ่ายดาวเทียม ปี 2542) ประมาณ 1,503,174 ไร่ หรือร้อยละ 37.96 ของพื้นที่จังหวัด สภาพเป็นป่าดงดิบและป่าไม้เบญจพรรณ ไม้ที่สำคัญ ได้แก่
ไม้สัก ไม้ประดู่ ไม้มะค่า ไม้ชิงชัน ไม้ยาง ไม้เต็ง ไม้รัง ฯลฯ จังหวัดพะเยามีพื้นอยู่ทั้งในที่ลุ่มน้ำโขงและลุ่มน้ำเจ้าพระยา ส่วนที่อยู่ในลุ่มน้ำโขง คือพื้นที่อำเภอเมือง อ.ดอกคำใต้ อ.จุน อ.ปง(บางส่วน) อ.เชียงคำ และ อ.แม่ใจ ส่วนที่อยู่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา คือ อ.ปง และ อ.เชียงม่วน ซึ่งเป็นต้นกำหนิดของแม่น้ำยม
            เทือกเขาที่สำคัญ ได้แก่ ดอยภูลังกา ดอยสันปันน้ำ ดอยแม่สุก ดอยขุนแม่แฝก ดอยขุนแม่ต๋ำ ดอยขุนแม่ต๋อม

ลักษณะภูมิอากาศ
แบ่งออกได้เป็น 3 ฤดู คือ
1. ฤดูร้อน อยู่ระหว่างเดือน มีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนจัดในเดือน พฤษภาคม อุณหภูมิวัดได้ 39.5 องศา ซ.
2. ฤดูฝน อยู่ระหว่างเดือน พฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม ฝนตกหนาแน่นในเดือนพฤษภาคม ฝนตกตลอดปีประมาณ 1,043.9 มม. มีวันฝนตก 101 วัน
3. ฤดูหนาว อยู่ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศหนาวจัดในเดือนพฤศจิกายน และ มกราคม อุณหภูมิต่ำสุดวัดได้ 10.8 องศา ซ.ในเดือนธันวาคม

การปกครอง
            ประกอบด้วย 9 อำเภอ คือ อ.เมืองพะเยา, อ.เชียงคำ, อ.เชียงม่วน, อ.ปง, อ.ดอกคำใต,้ อ.จุน, อ.แม่ใจ, อ.ภูซาง และ อ..ภูกามยาว แบ่งเป็น 68 ตำบล
            805  หมู่บ้าน

การปกครองท้องถิ่น

            - องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง
            - เทศบาลเมือง 1 แห่ง
            - เทศบาลตำบล 11 แห่ง
            - องค์การบริหารส่วนตำบล 59 แห่ง
           

ประชากร
            จำนวนประชากร เดือนมิถุนายน ปี 2549 มีทั้งสิ้น 486,348 คน เป็นชาย 239,731 คน เป็นหญิง 246,617 คน จำนวนครัวเรือน  163,761 ครัวเรือน
            มีบนพื้นที่สูงอาศัยอยู่กระจัดกระจายตามบริเวณเทือกเขาสูง ได้แก่ เผ่าลื้อ เผ่าเย้า เผ่าแม้ว เผ่าลีซอ และเผ่าถิ่น จำนวน 45 หมู่บ้าน 2,658 ครัวเรือน
            โดยกระจายอยู่ตามอำเภอต่าง ๆ เช่น อ.เมืองพะเยา อ.ปง  อ.เชียงคำ  อ.เชียงม่วน  อ.แม่ใจ  อ.ภูซาง และอ.ดอกคำใต้

การเกษตร

ในปี 2548 จังหวัดพะเยามีพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั้งสิ้น ประมาณ 410,825 ไร่ ีผลผลิตประมาณ 431,643 ตัน
ีพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่ ประมาณ 358,069 ไร่ มีผลผลิตประมาณ 277,905 ตัน
พื้นที่ปลูกยางพารา ประมาณ 55,809 ไร่ มีผลผลิตประมาณ 37,808 ตัน
มีเนื้อที่ปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้น ประมาณ 116,167 ไร่ มีผลผลิตประมาณ 229.76 ตัน

อาชีพหลักของประชากร คือ การทำนา
พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลำไย และยางพารา

ผลิตภัณฑ์จังหวัด
            มูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดพะเยา ตามราคาตลาด พ.ศ. 2548 จากข้อมูลของ
สำนักงานคลังหวัดพะเยามูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัด เป็นเงิน 18,884 ล้านบาท และมีรายได้เฉลี่ยต่อหัว 37,315 บาทต่อปี นับเป็นรายได้เฉลี่ยต่อหัว ลำดับที่ 15 ของภาค ลำดับที่ 57 ของประเทศ
            สาขาที่มูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดมากที่สุดคือ สาขาการเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ 5,139 ล้านบาท
            สาขาที่มูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดรองลงมาคือ สาขาการขายส่งและการขายปลีก การซ่อมแซม
ยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ 3,656 ล้านบาท
           

การศึกษา
            ในปีการศึกษา 2549 จังหวัดพะเยา
                        มีสถานศึกษา จำนวน 347 แห่ง
                        มีนักเรียน/นักศึกษา รวมจำนวน 124,474 คน แยกเป็น
                       ในระบบโรงเรียน 95,534 คน   
                       นอกระบบโรงเรียน 28,940 คน
                      

การสาธารณสุข
            ในปี 2549 จังหวัดพะเยา
                        มีโรงพยาบาลของรัฐ จำนวน 8 แห่ง
                        มีโรงพยาบาลเอกชน จำนวน 1 แห่ง
                        มีเตียงคนไข้ จำนวน 808 เตียง (เฉลี่ยเตียงคนไข้ 1 เตียงต่อประชากร 584 คน)
                        มีแพทย์ จำนวน 92 คน (เฉลี่ยแพทย์ 1 คนต่อประชากร 5,451 คน)
                        มีทันตแพทย์ จำนวน 21 คน (เฉลี่ยทันตแพทย์ 1 คนต่อประชากร 23,881 คน)
                        มีพยาบาล จำนวน 1,001 คน (เฉลี่ยพยาบาล 1 คนต่อประชากร 501 คน)
                        มีสถานีอนามัย จำนวน 94 แห่ง
                        มีคลินิคทุกประเภท จำนวน 60 แห่ง

การสารณูปโภค
                        ไฟฟ้า ในปี 2549 จังหวัดพะเยา มีจำนวนผู้ใช้ไฟฟ้า 130,610 ราย
                        ประปา ในปี 2549 จังหวัดพะเยา
                        มีการประปาพะเยา-ดอกคำใต้ มีโรงกรองน้ำ จำนวน 2 แห่ง โดยใช้น้ำจากกว๊านพะเยา
                        ปัจจุบันให้บริการ น้ำสะอาดแก่ชุมชนเมืองพะเยา และ อ.ดอกคำใต้
                        มีการประปาจุน จำหน่ายน้ำ 3 เขต คือ อ.จุน อ.ปง อ.เชียงคำ
                        มีกำลังการผลิตน้ำประปาทั้งสองแห่งประมาณ 7,708,800 ลูกบาศก์เมตร
                        มีจำนวนผู้ใช้น้ำประปา ประมาณ 17,098 ราย

โทรศัพท์
                       ในปี 2549 จังหวัดพะเยา มีหายเลขโทรศัพท์ 37,215 หมายเลข
                        เป็นของบริษัท ทศท.คอร์เปอเรชั่น จำกัด(มหาชน) จำนวน 22,079 หมายเลข (มีผู้เช่า จำนวน 29,882 หมายเลข)
                        เป็นของบริษัทสัมปทาน จำนวน 15,136 หมายเลข (มีผู้เช่า จำนวน 13,841 หมายเลข)

 

การคมนาคมขนส่ง
                       จังหวัดพะเยา ใช้เส้นทางคมานาคมทางบกเป็นหลัก โดยมีเส้นทางคมนาคมติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง กรุงเทพ ฯ และระหว่างอำเภอต่าง ๆ ดังนี้

                       1. ระยะทางจากอำเภอเมืองพะเยา ถึง 2. ระยะทางจากจังหวัดพะเยา ถึง
                                              - อ.ดอกคำใต้ 15 กม. - จังหวัดเชียงราย 94 กม.
                                              - อ.จุน 48 กม. - จังหวัดเชียงใหม่ 134 กม.
                                              - อ.เชียงคำ 76 กม. - จังหวัดลำปาง 137 กม.
                                              - อ.เชียงม่วน 117 กม. - จังหวัดแพร่ 138 กม.
                                              - อ.ปง 79 กม.
                                              - อ.แม่ใจ 24 กม.
                                              - อ.ภูซาง 91 กม.
                                              - อ.ภูกามยาว 18 กม.

                        2.ทางด้านไปรษณีย์ จังหวัดพะเยา มีที่ทำการไปรษณีย์รวม 8 แห่ง (ที่อำเภอเมืองพะเยามี 2 แห่งคือ ที่ทำการไปรษณีย์พะเยา และที่ทำการไปรษณีย์หนองระบู

แหล่งท่องเที่ยว
              แหล่งท่องทางธรรมชาติ ได้แก่ กว๊านพะเยา หนองเล็งทราย น้ำตกจำปาทอง น้ำตกภูซาง น้ำตกผาแดง น้ำตกภูลังกา น้ำตกธารสวรรค์ วนอุทยานบ้านถ้ำ อ่างเก็บน้ำแม่ปืม ถ้ำผากุด ฝั่งต้า วนอุทยานแห่งดอยหลวง วนอุทยานแห่งชาติดอยภูนาง วนอุทยานแห่งชาติภูซาง

แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
              ได้แก่ วัดศรีโคมคำ (วัดพระเจ้าตนหลวง) หอวัฒนธรรมนิทัศน์ วัดอนาลโยทิพยาราม วัดป่าแดงบุญนาค วัดราชคฤห์ เวียงลอ วัดศรีจอมเรือง วัดนันตาราม วัดท่าฟ้าใต้ วัดพระเจ้านั่งดิน วัดศรีสุพรรณ วัดพระธาตุดอยหยวก วัดศรีปิงเมือง หมู่บ้านไทลื้อ หมู่บ้านชาวเขาเผ่าเย้าปางปูเลาะ

อ้างอิง http://www.phayao.go.th/detail.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 319 คน กำลังออนไลน์