• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:27dd33c709d943bedd46f3c11ef20a9a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img src=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/network_3.gif\" border=\"0\" height=\"210\" width=\"265\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #002060\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\nคำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้\n</p>\n<p style=\"background-color: #33cccc\">\n1.ให้นักเรียนอธิบายการสื่อสารโดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p>\nธรรมชาติมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน<br />\nร่วมกันทำงานสร้างสรรสังคมเพื่อให้<br />\nความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น จากการดำเนินชีวิตร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว <br />\nการทำงานตลอดจนสังคมและการเมือง<br />\nทำให้ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เมื่อมนุษย์มีความจำเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน    พัฒนาการ<br />\nทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ <br />\nแรกเริ่มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์แบบ รวมศูนย์   เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรือ<br />\nเมนเฟรม โดยให้ผู้ใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละคนเปรียบเสมือน<br />\nเป็นสถานีปลายทาง ที่เรียกใช้ทรัพยากร<br />\nการคำนวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้คอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อ การทำงานนั้น<br />\nต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทำให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล <br />\nจนมีการเรียกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า  <span style=\"color: #ff0000\">พีซี (Personal Competer:PC)  </span><span style=\"color: #000000\"> <br />\nการใช้งานคอมพิวเตอร์จึงแพร่หลายอย่างรวดเร็ว  เพราะการใช้งานง่ายราคา<br />\nไม่สูงมาก   สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก  เมื่อ มีการใช้งานกันมาก   <br />\nบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็ปรับปรุง<br />\nและพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ <br />\nจึงเป็นวิธีการหนึ่ง  และกำลังได้รับความนิยมสูงมาก <br />\nเพราะทำให้ตอบสนองตรงความต้องการที่จะติดต่อสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกัน<br />\nเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาเรื่อยมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้แก่<br />\nเมนเฟรม  มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ <br />\nที่มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับ<br />\nการพัฒนาให้มีขีดความสามารถและทำงานได้มากขึ้น <br />\nจนกระทั่งคอมพิวเตอร์สามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ <br />\nดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทำงานในรูปแบบ <b> </b></span><b><span style=\"color: #ff0000\">เครือข่ายคอมพิวเตอร์ </span></b><span style=\"font-size: medium; font-family: angsanaupc; color: #ff0000\"></span><span style=\"color: #000000\">คือนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการ หรือที่เรียกว่า </span><span style=\"color: #ff0000\">เครื่องให้บริการ (Server )</span><span style=\"color: #000000\"> และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็น</span><span style=\"color: #ff0000\">เครื่องใช้บริการ (Client) </span><span style=\"color: #000000\">โดยมีเครือข่าย(Network) เป็นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ  </span>\n</p>\n<div class=\"content\">\n<dd>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n</p></dd>\n<dd>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><img src=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/client.gif\" border=\"0\" height=\"193\" width=\"190\" /></span>\n</p>\n</dd>\n<dd>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n</p></dd>\n<dd>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ในที่สุดระบบเครือข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่เป็นแบบรวมศูนย์ได้ <span style=\"font-family: Times New Roman\">            </span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความสำคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น <br />\nเพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้ พอเหมาะกับงาน <br />\nในธุรกิจขนาดเล็กที่ไม่มีกำลังในการลงทุนซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงเช่น<br />\nมินิคอมพิวเตอร์<br />\nก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย <br />\nโดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง<br />\nเป็นสถานีบริการที่ทำให้ใช้งานข้อมูลร่วมกันได้  <br />\nเมื่อกิจการเจริญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครือข่ายการใช้<br />\nคอมพิวเตอร์โดยเพิ่มจำนวนเครื่องหรือขยายความจุข้อมูลให้พอเหมาะกับองค์กร<br />\nในปัจจุบันองค์การขนาดใหญ่ก็สามารถลดการลงทุนลงได้ <br />\nโดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ<br />\nกลุ่มรวมกันเป็นเครือข่ายขององค์การ <br />\nโดยสภาพการใช้ข้อมูลสามารถทำได้ดีเหมือน เช่นในอดีตที่ต้องลงทุนจำนวนมาก <br />\nเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้<br />\n1.  ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน<br />\n2.  ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น<br />\n3.  ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน<br />\nแบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน<br />\n4.  ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะ</span></span></span>\n</p>\n</dd>\n<dd>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n</p></dd>\n<dd>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/cli_ser.gif\" border=\"0\" height=\"200\" width=\"317\" /></span></span></span>\n</p>\n</dd>\n<dd>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n</p></dd>\n<dd>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #a52a2a\">ชนิดของเครือข่าย</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #000000\"> <br />\nเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #ff0000\"> <br />\n-  เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)<br />\n-  เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN</span></span></span></span>\n</p>\n</dd>\n<dd>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #ff0000\"></span><span style=\"font-size: x-small; color: #000000\"><br />\n</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #00008b\">  เครือข่ายแลน </span></span></span><br />\n</span>\n</p>\n</dd>\n<dd>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><img src=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/lan.gif\" border=\"0\" height=\"192\" width=\"250\" /></span>\n</p>\n</dd>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่<br />\nบริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน  เช่น ภายในอาคาร <br />\nหรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก <br />\nเครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ <br />\nการสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้ <br />\nโดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง  เครือข่ายแลน<br />\nมีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนเชื่อมโยงระหว่างห้อง<br />\nหรือองค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัย<br />\nมีการวางเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย<br />\nเครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็นเจ้าของ<br />\nลักษณะสำคัญของเครือข่ายแลน <br />\nคืออุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่ายสามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก <br />\nโดยทั่วไปมีความเร็วตั้งแต่ หลายสิบล้านบิตต่อวินาที<br />\nจนถึงร้อยล้านบิตต่อวินาที  <br />\nการสื่อสารในระยะใกล้จะมีความเร็วในการสื่อสารสูง<br />\nทำให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจำนวนมากในเวลาจำกัดได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">เครือข่ายแวน<span style=\"color: #000000\">        </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><img src=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/wan.gif\" border=\"0\" height=\"150\" width=\"250\" /></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล <br />\nเช่น  เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด  ระหว่างประเทศ  การสร้างเครือข่ายระยะไกล<br />\nจึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ  เช่น<br />\nสายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย  <br />\nใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม <br />\nใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ  <br />\nเครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่าย<br />\nที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน<br />\nเช่น  ธนาคารมีสาขาทั่วประเทศ มีบริการ รับฝากเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม <br />\nเครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารจึงไม่สูง<br />\nเนื่องจาก มีสัญญาณรบกวนในสาย<br />\nและการเชื่อมโยงระยะไกลจำเป็นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อผิดพลาดของ<br />\nการรับส่งข้อมูล      เครือข่ายแวน<br />\nเป็นเครือข่ายที่ทำให้เครือข่ายแลนหลายๆ<br />\nเครือข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทำการสาขาทุกแห่ง<br />\nของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครือข่ายแลนเพื่อใช้ทำงานภายในสาขานั้นๆ <br />\nและมีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลน<br />\nของทุกสาขาให้เป็นระบบเดียวด้วยเครือข่ายแวน        ในอนาคตอันใกล้นี้<br />\nบทบาทของเครือข่ายแวนจะทำให้ทุกบริษัท<br />\nทุกองค์การทุกหน่วยงานเชื่อมโยงเครือข่าย<br />\nคอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครือข่ายกลาง <br />\nเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน  และการทำงานร่วมกัน<br />\nในระบบที่ต้องติดต่อสื่อสารระหว่างกัน        <br />\nเทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย <br />\nมีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม  เส้นใยนำแสง <br />\nคลื่นไมโครเวฟ  คลื่นวิทยุ  สายเคเบิล ทั้งที่วางตามถนนและวางใต้น้ำ <br />\nเทคโนโลยีของการเชื่อมโยง<br />\nได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยังไม่พอเพียงกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #00008b\">เทคโนโลยีเครือข่ายแลน </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #00008b\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายแลนนั้น <br />\nมีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสาร<br />\nข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมดหากนำเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสอง<br />\nนั้นส่งข้อมูลถึงกันได้ครั้นจะนำเอาคอมพิวเตอร์เครื่องที่สามต่อรวมด้วย<br />\nเริ่มจะมีข้อยุ่งยากเพิ่มขึ้น<br />\nและยิ่งถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจำนวนมาก <br />\nก็ยิ่งมีข้อยุ่งยากที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดสื่อสารกันได้<br />\nด้วยเหตุนี้ผู้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหาวิธีการและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบต่างๆ<br />\nเพื่อลดข้อยุ่งยาก<br />\nในการเชื่อมโยงสายสัญญาณโดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนำไปใช้งานได้ <br />\nทั้งนี้เพราะข้อจำกัดของการใช้ สายสัญญาณเป็นเรื่องสำคัญมาก     <br />\nบริษัทผู้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้พยายามคิดหาวิธี <br />\nและใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแลน ออกมาหลายระบบ <br />\nระบบใดได้รับการยอมรับก็มีการตั้งมาตรฐานกลาง<br />\nเพื่อว่าจะได้มีผู้ผลิตที่สนใจการผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่าย  <br />\nเทคโนโลยีเครือข่ายแลนจึงมีหลากหลาย <b><span style=\"color: #ff0000\">เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น  อีเทอร์เน็ต (Ethernet)  โทเก็นริง (Token Ring)  และ สวิตชิง (Switching)</span></b> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">1  อีเทอร์เน็ต (Ethernet)<span style=\"color: #000000\"> <br />\nอีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า </span><span style=\"color: #da0b00\">บัส (Bus)   </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #da0b00\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><img src=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/lan-bus.jpg\" border=\"0\" height=\"224\" width=\"254\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ <span style=\"color: #da0b00\">สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)</span><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: #000000\">เป็นตัวเชื่อม <br />\nสำหรับระบบบัส เป็นระบบ<br />\nเทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน<br />\nคือ เมื่อมีผู้ต้องการส่งข้อมูล  ก็ส่งข้อมูลได้เลย <br />\nแต่เนื่องจากไม่มีวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรือเปล่า <br />\nจึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ใดหรือคอมพิวเตอร์<br />\nเครื่องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน <br />\nจะทำให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญหายของข้อมูล  ผู้ส่งต้องส่งข้อมูล<br />\nไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง  ทำให้เสียเวลามาก</span><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">จึงมีการพัฒนาระบบการรับส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า </span><span style=\"color: #da0b00\">ฮับ (Hub)   </span><span style=\"color: #000000\">และเรียกระบบใหม่นี้ว่า </span><span style=\"color: #da0b00\">เทนเบสที (10 base t)  </span><span style=\"color: #000000\">โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า  </span><span style=\"color: #da0b00\">สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded twisted    pair : UTP) </span><span style=\"color: #000000\">ทำให้การเชื่อมต่อนี้ มีลักษณะ</span></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #da0b00\"><b>แบบดาว</b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #da0b00\"></span></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><img src=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/lan-star.jpg\" border=\"0\" height=\"235\" width=\"236\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #000000\">วิธีการเชื่อมแบบนี้จะมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับ <br />\nใช้สายสัญญาณไปยังอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์อื่น ๆ   จุดเด่นของดาวตัวนี้<br />\nจะอยู่ที่ เมื่อมีการส่งข้อมูล  จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า<br />\nอุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้างและจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรือไม่ <br />\nแต่เมื่อมีฮับเป็นตัวแบกภาระทั้งหมด ก็มีจุดอ่อนได้คือ<br />\nถ้าฮับเกิดเป็นอะไรขึ้นมา  อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ <br />\nหรือคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก </span></span><span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\">                 <span style=\"font-family: MS Sans Serif\">ภายในฮับมีลักษณะเป็นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน <br />\nดังนั้นการใช้ฮับและบัสจะมีระบบการส่งข้อมูลแบบ เดียวกัน<br />\nและมีการพัฒนาเป็นมาตรฐาน  กำหนดชื่อมาตรฐานนี้ว่า 802.3 <br />\nความเร็วในการส่งกำหนดไว้ที่ 10 ล้านบิตต่อ วินาที <br />\nและกำลังมีมาตรฐานใหม่ให้สามารถรับส่งสัญญาณได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">โทเก็นริง<span style=\"color: #000000\">         โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น  รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น </span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #ff0000\"><b>วงแหวน</b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"> โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ <br />\nการเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ <br />\nโดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้   <br />\nการติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลำดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะได้ไม่สับสน<br />\nและมีรูปแบบ ที่ชัดเจน<br />\nโทเก็นริงที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้มีความเร็วในการรับส่งสัญญาณได้ 16<br />\nล้านบิตต่อวินาที  ข้อมูลแต่ละชุดจะมี<br />\nการกำหนดตำแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่งไปที่สถานีใด</span><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span></span><span style=\"font-size: small\"></span>\n</p>\n<dt>  <img src=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/lan-ring.jpg\" border=\"0\" height=\"254\" width=\"255\" /></dt>\n<p>\nสวิตชิง <br />\n<span style=\"color: #000000\">           สวิตชิง<br />\nเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น   <br />\nการคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง  <br />\nจะกระทำที่ชุมสายกลางที่เรียกว่า  สวิตชิง <br />\nรูปแบบของเครือข่ายแบบนี้จะมีลักษณะ<br />\nเป็นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้จะเหมือนกันกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮับเป็นศูนย์กลาง <br />\nแต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสาย สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย <br />\nแต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น <br />\nสวิตชิงจึงมีข้อดี<br />\nกว่าฮับเนื่องจากแต่ละสายสัญญาณจะมีความเป็นอิสระต่อกันมาก <br />\nทำให้รับส่งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่องการชนกัน ของข้อมูล <br />\nอุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิงมีหลายแบบ เช่น อีเทอร์เน็ตสวิตซ์<br />\nและเอทีเอ็มสวิตซ์<span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #000000\">            เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ  ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า </span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #ff0000\"><b> เซล</b></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> <br />\nมีขนาดจำกัด <br />\nการสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทำให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดำเนินไปอย่างรวดเร็ว <br />\nซึ่งกำลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความนิยมมากขึ้น <br />\nทั้งนี้เพราะการประยุกต์งานสมัยใหม่หลายอย่าง ต้องการความเร็วสูง <br />\nโดยเฉพาะการสื่อสารที่มีการผสมหลายสื่อรวมทั้งข้อความ รูปภาพ เสียง</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #ff99cc\">2. ให้นักเรียนบอกอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงเครือข่ายพร้อมรูปภาพประกอบ</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น<br />\nไม่ได้จำกัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์<br />\nแต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง<br />\nเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทำให้การทำงานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น<br />\nมีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ<br />\nมีการทำฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์<br />\nหน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง<br />\nและอุปกรณ์ประกอบสำหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทำงานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง<br />\nในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><span style=\"color: #000000\"> <span style=\"font-size: 20pt\"><img src=\"http://school.net.th/library/snet1/hardware/network.gif\" alt=\"http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.gif\" id=\"_x0000_i1038\" height=\"171\" width=\"292\" /></span><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke></span><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"> </o:lock></v:shapetype></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><br />\n</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน<br />\nซึ่งหมายถึงการให้อุปกรณ์ทุกชิ้นที่ต่ออยู่บนเครือข่ายทำงานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน<br />\nโดยผู้ใช้เห็นเสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน<br />\nจึงเป็นวิธีการในการนำเอาอุปกรณ์ต่างชนิดจำนวนมาก<br />\nมารวมกันเป็นเสมือนระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ<br />\nที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัท ก็ได้</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หากผู้ใช้มีความคิดที่จะนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาต่อเป็นระบบ<br />\nโดยใช้ขีดความสามารถเดิมที่มีอยู่ สามารถทำได้ด้วยวิธีการง่าย ๆ ดังนี้</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1) การต่อเชื่อมผ่านช่องทาง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">COM</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1 </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">COM</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2 และ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">LPT</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นวิธีที่นำคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ต่อผ่านช่องทาง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">COM</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1 หรือ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">COM</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2 เพื่อการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างนั้น ในกรณีนี้ใช้โปรแกรมอรรกประโยชน์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">utility program)</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> บางตัวก็สามารถสำเนาแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน หรือส่งออกไปยังเครื่องพิมพ์ร่วมกันได้ รูปแบบการต่อระบบโดยอาศัย </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">COM</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1 </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">COM</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2 และ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">LPT</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> แสดงดังรูป</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span> <span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\"> <img src=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/connect/connect1.gif\" height=\"174\" width=\"293\" /><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การต่อในลักษณะนี้ใช้ช่องทาง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">RS</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">232<br />\nและมีการส่งข้อมูลแบบอนุกรม<br />\nปัจจุบันสามารถทำการรับส่งข้อมูลถึงกันได้เร็วถึง 38.4 กิโลบิตต่อวินาที<br />\nการจัดการระบบง่าย ๆ นี้ไม่จำเป็นต้องลงทุนอะไรมาก<br />\nแต่ประโยชน์ที่ได้จะอยู่ในวงจำกัด<br />\nโดยเฉพาะในเรื่องการโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2) การต่อเชื่อมเข้ากับบัฟเฟอร์เครื่องพิมพ์</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การแบ่งกันใช้เครื่องพิมพ์เป็นวิธีการใช้ทรัพยากรเครื่องพิมพ์ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น<br />\nการใช้เครื่องพิมพ์ที่มีราคาแพง มีคุณภาพดี เช่น เครื่องพิมพ์ความเร็วสูง<br />\nเครื่องพิมพ์เลเซอร์ เครื่องพิมพ์ที่พิมพ์สีได้ เป็นต้น<br />\nการใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกันวิธีหนึ่งก็คือ<br />\nการต่อเข้ากับบัฟเฟอร์ของเครื่องพิมพ์<br />\nซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ส่งมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง<br />\nแล้วจัดการส่งงานทยอยพิมพ์เรียงกันไป<br />\nเครื่องพิมพ์ที่ต่อกับบัฟเฟอร์จะต่อผ่านช่องทางขนานเหมือนการต่อทั่วไป<br />\nอย่างไรก็ดี<br />\nบัฟเฟอร์ของเครื่องพิมพ์บางรุ่นสามารถต่อกับเครื่องพิมพ์ได้หลายเครื่อง</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><span style=\"color: #000000\"> <v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke></span><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/connect/connect2.gif\" height=\"201\" width=\"326\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3)</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\"> </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> การเชื่อมต่อโดยใช้ระบบสลับสายข้อมูล</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นวิธีการต่อขยายระบบโดยใช้ระบบง่าย<br />\nๆ ที่ใช้มือช่วย ระบบสลับสายข้อมูลทำหน้าที่เหมือนชุมสายโทรศัพท์ระบบเก่า<br />\nที่ต้องมีพนักงานรับโทรศัพท์คอยสลับสายให้ใช้งานตามความต้องการ เช่น<br />\nใช้สายยูทีพี โดยให้หัวต่อเป็นแบบ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">RJ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">45 การสลับสายจะเชื่อมตัวระหว่างหัวต่อ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">RJ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">45 ที่มารวมกันไว้อยู่บนแผงร่วมกัน ส่วนของแผงนี้จะเป็นเสมือนส่วนที่รวมสาย</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เพื่อการเชื่อมโยงจากต้นทางไปยังปลายทางตามข้อกำหนดที่ต้องการ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/connect/connect3.gif\" height=\"221\" width=\"330\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัจจุบันมีแผงสลับสายข้อมูลให้ผู้ใช้เลือกใช้ทั้งอีเธอร์เน็ตแบบเท็นเบสที หรือแบบอนุกรมผ่านช่องทาง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">RS</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">232<br />\nการใช้ระบบสลับสายข้อมูลเป็นการเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบง่าย ๆ<br />\nแต่สามารถปรับเปลี่ยนระบบได้อย่างรวดเร็วและสะดวกต่อการใช้งาน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4) การเชื่อมต่อผ่านระบบผู้ใช้หลายคนหลายช่องทาง</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ระบบผู้ใช้หลายคนขนาดเล็กที่อยู่บนไมโครคอมพิวเตอร์มีหลายระบบ<br />\nเช่น ระบบยูนิกซ์ ระบบเอสซีโอ<br />\nระบบดังกล่าวสามารถต่อเชื่อมขยายเข้ากับสถานีย่อยได้มาก<br />\nเป็นระบบที่ใช้งานร่วมกันได้ในราคาประหยัด มีซอฟต์แวร์สนับสนุนอยู่มากเช่น<br />\nระบบจัดการฐานข้อมูลที่มีระบบรักษาความปลอดภัย</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"> </span><span lang=\"TH\"><br />\n</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">              </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข้อเด่นของระบบผู้ใช้หลายคนในเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีที่เห็นได้ชัด<br />\nได้แก่ ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์<br />\nซึ่งเป็นระบบที่ให้ผู้ใช้งานพร้อมกันได้หลายคน หลายงาน<br />\nมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์และซอฟต์แวร์ระบบสื่อสารไว้มาก<br />\nมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี มีการต่อช่องทางเข้าออกไปได้หลายแบบ เช่น<br />\nแบบเป็นสถานีปลายทาง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">RS</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">232 ผ่านทางเส้นใยนำแสง อีกทั้งมีระบบเครือข่ายท้องถิ่นที่เชื่อมต่อตามมาตรฐานสากล ทำให้การทำงานของระบบประสบผลสำเร็จ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/connect/connect4.gif\" height=\"226\" width=\"343\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n</div>\n', created = 1728174357, expire = 1728260757, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:27dd33c709d943bedd46f3c11ef20a9a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ใบงานที่ 5.......เรื่อง การติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย

รูปภาพของ blm15853

 

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1.ให้นักเรียนอธิบายการสื่อสารโดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ธรรมชาติมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
ร่วมกันทำงานสร้างสรรสังคมเพื่อให้
ความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น จากการดำเนินชีวิตร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว 
การทำงานตลอดจนสังคมและการเมือง
ทำให้ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เมื่อมนุษย์มีความจำเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน    พัฒนาการ
ทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ 
แรกเริ่มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์แบบ รวมศูนย์   เช่น มินิคอมพิวเตอร์ หรือ
เมนเฟรม โดยให้ผู้ใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละคนเปรียบเสมือน
เป็นสถานีปลายทาง ที่เรียกใช้ทรัพยากร
การคำนวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้คอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อ การทำงานนั้น
ต่อมามีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทำให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคล 
จนมีการเรียกไมโครคอมพิวเตอร์ ว่า  พีซี (Personal Competer:PC)   
การใช้งานคอมพิวเตอร์จึงแพร่หลายอย่างรวดเร็ว  เพราะการใช้งานง่ายราคา
ไม่สูงมาก   สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก  เมื่อ มีการใช้งานกันมาก   
บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆ ก็ปรับปรุง
และพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 
จึงเป็นวิธีการหนึ่ง  และกำลังได้รับความนิยมสูงมาก 
เพราะทำให้ตอบสนองตรงความต้องการที่จะติดต่อสื่อสาร ข้อมูลระหว่างกัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาเรื่อยมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้แก่
เมนเฟรม  มินิคอมพิวเตอร์ มาเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ 
ที่มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับ
การพัฒนาให้มีขีดความสามารถและทำงานได้มากขึ้น 
จนกระทั่งคอมพิวเตอร์สามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ 
ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทำงานในรูปแบบ 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการ หรือที่เรียกว่า เครื่องให้บริการ (Server ) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตาม หน่วยงานต่างๆ เป็นเครื่องใช้บริการ (Client) โดยมีเครือข่าย(Network) เป็นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จาก จุดต่างๆ 

 

 

ในที่สุดระบบเครือข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมที่เป็นแบบรวมศูนย์ได้             เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความสำคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น 
เพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้ พอเหมาะกับงาน 
ในธุรกิจขนาดเล็กที่ไม่มีกำลังในการลงทุนซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงเช่น
มินิคอมพิวเตอร์
ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย 
โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง
เป็นสถานีบริการที่ทำให้ใช้งานข้อมูลร่วมกันได้  
เมื่อกิจการเจริญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครือข่ายการใช้
คอมพิวเตอร์โดยเพิ่มจำนวนเครื่องหรือขยายความจุข้อมูลให้พอเหมาะกับองค์กร
ในปัจจุบันองค์การขนาดใหญ่ก็สามารถลดการลงทุนลงได้ 
โดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ
กลุ่มรวมกันเป็นเครือข่ายขององค์การ 
โดยสภาพการใช้ข้อมูลสามารถทำได้ดีเหมือน เช่นในอดีตที่ต้องลงทุนจำนวนมาก 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่างๆ ดังนี้
1.  ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม และสามารถทำงานพร้อมกัน
2.  ให้สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น
3.  ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช้เครื่องประมวลผลร่วมกัน
แบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์ที่มีราคาแพงร่วมกัน
4.  ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะ

 

 

ชนิดของเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกตามสภาพการเชื่อมโยงได้ 2 ชนิด

-  เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
-  เครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAN


  เครือข่ายแลน

หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่
บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน  เช่น ภายในอาคาร 
หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนัก 
เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ 
การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้ 
โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง  เครือข่ายแลน
มีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนเชื่อมโยงระหว่างห้อง
หรือองค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัย
มีการวางเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย
เครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็นเจ้าของ
ลักษณะสำคัญของเครือข่ายแลน 
คืออุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่ายสามารถรับส่งสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก 
โดยทั่วไปมีความเร็วตั้งแต่ หลายสิบล้านบิตต่อวินาที
จนถึงร้อยล้านบิตต่อวินาที  
การสื่อสารในระยะใกล้จะมีความเร็วในการสื่อสารสูง
ทำให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจำนวนมากในเวลาจำกัดได้

เครือข่ายแวน        

เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกล 
เช่น  เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด  ระหว่างประเทศ  การสร้างเครือข่ายระยะไกล
จึงต้องอาศัยระบบบริการข่ายสายสาธารณะ  เช่น
สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย  
ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม 
ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ  
เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่าย
ที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน
เช่น  ธนาคารมีสาขาทั่วประเทศ มีบริการ รับฝากเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม 
เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารจึงไม่สูง
เนื่องจาก มีสัญญาณรบกวนในสาย
และการเชื่อมโยงระยะไกลจำเป็นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อผิดพลาดของ
การรับส่งข้อมูล      เครือข่ายแวน
เป็นเครือข่ายที่ทำให้เครือข่ายแลนหลายๆ
เครือข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทำการสาขาทุกแห่ง
ของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครือข่ายแลนเพื่อใช้ทำงานภายในสาขานั้นๆ 
และมีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลน
ของทุกสาขาให้เป็นระบบเดียวด้วยเครือข่ายแวน        ในอนาคตอันใกล้นี้
บทบาทของเครือข่ายแวนจะทำให้ทุกบริษัท
ทุกองค์การทุกหน่วยงานเชื่อมโยงเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครือข่ายกลาง 
เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน  และการทำงานร่วมกัน
ในระบบที่ต้องติดต่อสื่อสารระหว่างกัน        
เทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย 
มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม  เส้นใยนำแสง 
คลื่นไมโครเวฟ  คลื่นวิทยุ  สายเคเบิล ทั้งที่วางตามถนนและวางใต้น้ำ 
เทคโนโลยีของการเชื่อมโยง
ได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยังไม่พอเพียงกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว

เทคโนโลยีเครือข่ายแลน

การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายแลนนั้น 
มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสาร
ข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมดหากนำเครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสอง
นั้นส่งข้อมูลถึงกันได้ครั้นจะนำเอาคอมพิวเตอร์เครื่องที่สามต่อรวมด้วย
เริ่มจะมีข้อยุ่งยากเพิ่มขึ้น
และยิ่งถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจำนวนมาก 
ก็ยิ่งมีข้อยุ่งยากที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดสื่อสารกันได้
ด้วยเหตุนี้ผู้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหาวิธีการและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบต่างๆ
เพื่อลดข้อยุ่งยาก
ในการเชื่อมโยงสายสัญญาณโดยใช้สายสัญญาณน้อยและเหมาะสมกับการนำไปใช้งานได้ 
ทั้งนี้เพราะข้อจำกัดของการใช้ สายสัญญาณเป็นเรื่องสำคัญมาก     
บริษัทผู้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้พยายามคิดหาวิธี 
และใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแลน ออกมาหลายระบบ 
ระบบใดได้รับการยอมรับก็มีการตั้งมาตรฐานกลาง
เพื่อว่าจะได้มีผู้ผลิตที่สนใจการผลิตอุปกรณ์ เชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่าย  
เทคโนโลยีเครือข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น  อีเทอร์เน็ต (Ethernet)  โทเก็นริง (Token Ring)  และ สวิตชิง (Switching)

1  อีเทอร์เน็ต (Ethernet)
อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า
บัส (Bus)  

โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) เป็นตัวเชื่อม 
สำหรับระบบบัส เป็นระบบ
เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อมโยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน
คือ เมื่อมีผู้ต้องการส่งข้อมูล  ก็ส่งข้อมูลได้เลย 
แต่เนื่องจากไม่มีวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรือเปล่า 
จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ใดหรือคอมพิวเตอร์
เครื่องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน 
จะทำให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญหายของข้อมูล  ผู้ส่งต้องส่งข้อมูล
ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง  ทำให้เสียเวลามาก
จึงมีการพัฒนาระบบการรับส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า ฮับ (Hub)   และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที (10 base t)  โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า  สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded twisted    pair : UTP) ทำให้การเชื่อมต่อนี้ มีลักษณะแบบดาว

วิธีการเชื่อมแบบนี้จะมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ฮับ 
ใช้สายสัญญาณไปยังอุปกรณ์หรือคอมพิวเตอร์อื่น ๆ   จุดเด่นของดาวตัวนี้
จะอยู่ที่ เมื่อมีการส่งข้อมูล  จะมีการตรวจสอบความผิดพลาดว่า
อุปกรณ์ใดจะส่งข้อมูลมาบ้างและจะมีการสับสวิตซ์ให้ส่ง ได้หรือไม่ 
แต่เมื่อมีฮับเป็นตัวแบกภาระทั้งหมด ก็มีจุดอ่อนได้คือ
ถ้าฮับเกิดเป็นอะไรขึ้นมา  อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ 
หรือคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้อีก

                 ภายในฮับมีลักษณะเป็นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน 
ดังนั้นการใช้ฮับและบัสจะมีระบบการส่งข้อมูลแบบ เดียวกัน
และมีการพัฒนาเป็นมาตรฐาน  กำหนดชื่อมาตรฐานนี้ว่า 802.3 
ความเร็วในการส่งกำหนดไว้ที่ 10 ล้านบิตต่อ วินาที 
และกำลังมีมาตรฐานใหม่ให้สามารถรับส่งสัญญาณได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที

โทเก็นริง         โทเก็นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัท ไอบีเอ็ม พัฒนาขึ้น  รูปแบบการเชื่อมโยงจะเป็น วงแหวน โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณและอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ 
การเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ 
โดยผ่านเส้นทางวงแหวนนี้   
การติดต่อสื่อสารแบบนี้จะมีการจัดลำดับให้ผลัดกันส่งเพื่อว่าจะได้ไม่สับสน
และมีรูปแบบ ที่ชัดเจน
โทเก็นริงที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้มีความเร็วในการรับส่งสัญญาณได้ 16
ล้านบิตต่อวินาที  ข้อมูลแต่ละชุดจะมี
การกำหนดตำแหน่งแน่นอนว่ามาจากสถานีใด และจะส่งไปที่สถานีใด

 

สวิตชิง
           สวิตชิง
เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาเพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างสถานีทำได้เร็วยิ่งขึ้น   
การคัดเลือกชุดข้อมูล ที่ส่งมาและส่งต่อไปยังสถานีปลายทาง  
จะกระทำที่ชุมสายกลางที่เรียกว่า  สวิตชิง 
รูปแบบของเครือข่ายแบบนี้จะมีลักษณะ
เป็นแบบดาว ซึ่งโครงสร้างนี้จะเหมือนกันกับแบบอีเทอร์เน็ตที่มีฮับเป็นศูนย์กลาง 
แต่แตกต่างกันที่ฮับเป็นจุดร่วมของสาย สัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย 
แต่สวิตชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปยังตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น 
สวิตชิงจึงมีข้อดี
กว่าฮับเนื่องจากแต่ละสายสัญญาณจะมีความเป็นอิสระต่อกันมาก 
ทำให้รับส่งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่องการชนกัน ของข้อมูล 
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสวิตชิงมีหลายแบบ เช่น อีเทอร์เน็ตสวิตซ์
และเอทีเอ็มสวิตซ์

            เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ  ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า  เซล 
มีขนาดจำกัด 
การสวิตชิงแบบเอทีเอ็มทำให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่งดำเนินไปอย่างรวดเร็ว 
ซึ่งกำลังได้รับความสนใจและมีแนวโน้มจะได้รับความนิยมมากขึ้น 
ทั้งนี้เพราะการประยุกต์งานสมัยใหม่หลายอย่าง ต้องการความเร็วสูง 
โดยเฉพาะการสื่อสารที่มีการผสมหลายสื่อรวมทั้งข้อความ รูปภาพ เสียง

 

2. ให้นักเรียนบอกอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงเครือข่ายพร้อมรูปภาพประกอบ

 

การเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น
ไม่ได้จำกัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทำให้การทำงานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น
มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ
มีการทำฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์
หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง
และอุปกรณ์ประกอบสำหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทำงานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ

 http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.gif 
ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มอุปกรณ์รอบข้างเชื่อมโยงเป็นระบบ  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ก่อให้เกิดความสามารถในการปฎิบัติการร่วมกัน
ซึ่งหมายถึงการให้อุปกรณ์ทุกชิ้นที่ต่ออยู่บนเครือข่ายทำงานร่วมกันได้ทั้งหมดในลักษณะที่ประสานรวมกัน
โดยผู้ใช้เห็นเสมือนใช้งานในอุปกรณ์เดียวกัน
จึงเป็นวิธีการในการนำเอาอุปกรณ์ต่างชนิดจำนวนมาก
มารวมกันเป็นเสมือนระบบเดียวกัน ทั้ง ๆ
ที่อุปกรณ์เหล่านั้นอาจจะมาจากต่างยี่ห้อ ต่างบริษัท ก็ได้
 

หากผู้ใช้มีความคิดที่จะนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาต่อเป็นระบบ
โดยใช้ขีดความสามารถเดิมที่มีอยู่ สามารถทำได้ด้วยวิธีการง่าย ๆ ดังนี้
1) การต่อเชื่อมผ่านช่องทาง COM1 COM2 และ LPT เป็นวิธีที่นำคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ต่อผ่านช่องทาง COM1 หรือ COM2 เพื่อการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างนั้น ในกรณีนี้ใช้โปรแกรมอรรกประโยชน์ (utility program) บางตัวก็สามารถสำเนาแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน หรือส่งออกไปยังเครื่องพิมพ์ร่วมกันได้ รูปแบบการต่อระบบโดยอาศัย COM1 COM2 และ LPT แสดงดังรูป

 

 

      การต่อในลักษณะนี้ใช้ช่องทาง RS232
และมีการส่งข้อมูลแบบอนุกรม
ปัจจุบันสามารถทำการรับส่งข้อมูลถึงกันได้เร็วถึง 38.4 กิโลบิตต่อวินาที
การจัดการระบบง่าย ๆ นี้ไม่จำเป็นต้องลงทุนอะไรมาก
แต่ประโยชน์ที่ได้จะอยู่ในวงจำกัด
โดยเฉพาะในเรื่องการโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน
2) การต่อเชื่อมเข้ากับบัฟเฟอร์เครื่องพิมพ์ การแบ่งกันใช้เครื่องพิมพ์เป็นวิธีการใช้ทรัพยากรเครื่องพิมพ์ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น
การใช้เครื่องพิมพ์ที่มีราคาแพง มีคุณภาพดี เช่น เครื่องพิมพ์ความเร็วสูง
เครื่องพิมพ์เลเซอร์ เครื่องพิมพ์ที่พิมพ์สีได้ เป็นต้น
การใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกันวิธีหนึ่งก็คือ
การต่อเข้ากับบัฟเฟอร์ของเครื่องพิมพ์
ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ส่งมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง
แล้วจัดการส่งงานทยอยพิมพ์เรียงกันไป
เครื่องพิมพ์ที่ต่อกับบัฟเฟอร์จะต่อผ่านช่องทางขนานเหมือนการต่อทั่วไป
อย่างไรก็ดี
บัฟเฟอร์ของเครื่องพิมพ์บางรุ่นสามารถต่อกับเครื่องพิมพ์ได้หลายเครื่อง

 

 

 

 

3)  การเชื่อมต่อโดยใช้ระบบสลับสายข้อมูล เป็นวิธีการต่อขยายระบบโดยใช้ระบบง่าย
ๆ ที่ใช้มือช่วย ระบบสลับสายข้อมูลทำหน้าที่เหมือนชุมสายโทรศัพท์ระบบเก่า
ที่ต้องมีพนักงานรับโทรศัพท์คอยสลับสายให้ใช้งานตามความต้องการ เช่น
ใช้สายยูทีพี โดยให้หัวต่อเป็นแบบ
RJ45 การสลับสายจะเชื่อมตัวระหว่างหัวต่อ RJ45 ที่มารวมกันไว้อยู่บนแผงร่วมกัน ส่วนของแผงนี้จะเป็นเสมือนส่วนที่รวมสาย
เพื่อการเชื่อมโยงจากต้นทางไปยังปลายทางตามข้อกำหนดที่ต้องการ

 

 

ปัจจุบันมีแผงสลับสายข้อมูลให้ผู้ใช้เลือกใช้ทั้งอีเธอร์เน็ตแบบเท็นเบสที หรือแบบอนุกรมผ่านช่องทาง RS232
การใช้ระบบสลับสายข้อมูลเป็นการเชื่อมเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบง่าย ๆ
แต่สามารถปรับเปลี่ยนระบบได้อย่างรวดเร็วและสะดวกต่อการใช้งาน
4) การเชื่อมต่อผ่านระบบผู้ใช้หลายคนหลายช่องทาง ระบบผู้ใช้หลายคนขนาดเล็กที่อยู่บนไมโครคอมพิวเตอร์มีหลายระบบ
เช่น ระบบยูนิกซ์ ระบบเอสซีโอ
ระบบดังกล่าวสามารถต่อเชื่อมขยายเข้ากับสถานีย่อยได้มาก
เป็นระบบที่ใช้งานร่วมกันได้ในราคาประหยัด มีซอฟต์แวร์สนับสนุนอยู่มากเช่น
ระบบจัดการฐานข้อมูลที่มีระบบรักษาความปลอดภัย
 
              ข้อเด่นของระบบผู้ใช้หลายคนในเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีที่เห็นได้ชัด
ได้แก่ ระบบปฎิบัติการยูนิกซ์
ซึ่งเป็นระบบที่ให้ผู้ใช้งานพร้อมกันได้หลายคน หลายงาน
มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ประยุกต์และซอฟต์แวร์ระบบสื่อสารไว้มาก
มีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี มีการต่อช่องทางเข้าออกไปได้หลายแบบ เช่น
แบบเป็นสถานีปลายทาง
RS232 ผ่านทางเส้นใยนำแสง อีกทั้งมีระบบเครือข่ายท้องถิ่นที่เชื่อมต่อตามมาตรฐานสากล ทำให้การทำงานของระบบประสบผลสำเร็จ

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 414 คน กำลังออนไลน์