• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ebd9ad04c00b63bc742c71ba21ffebe0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">การปลูกพืชไร้ดิน </span></b><b><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">(Soilless Culture) <span lang=\"TH\">ด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์ </span>(Hydroponics)<o:p></o:p></span></b><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span><span lang=\"TH\">จากในอดีตที่ผ่านมาการปลูกพืชไร้ดิน ถือว่าเป็นการปลูกพืชโดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนค่อนข้างสูงเกินไปสำหรับเกษตรกรบ้านเรา<span>  </span>แต่เนื่องจากการปลูกพืชในดินติดต่อกันมาเป็นเวลานานมากทำให้เกิดปัญหาต่างๆ มากมาย ทั้งดินเค็ม</span>, <span lang=\"TH\">เดินเปรี้ยว</span>, <span lang=\"TH\">แมลงศัตรูพืช<span>  </span>ทำให้ต้องใช้สารเคมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นจึงได้มีการคิดค้นดัดแปลงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการปลูกพืชไร้ดิน<span>  </span>โดยใช้อุปกรณ์เก่าจากโรงเรือนฟาร์มไก่ไข่ มาทำเป็นแปลงปลูก และใช้ระบบน้ำวนไหลผ่านรากพืช โดยใส่ธาตุอาหารที่พืชต้องการลงในถังน้ำ ซึ่งทำให้ลดต้นทุนการปลูกพืชไร้ดินลงได้มาก จากการลองผิดลองถูกมาเป็นเวลา </span>1 <span lang=\"TH\">ปีเต็ม ก็ได้ผลผลิตตามที่ตลาดต้องการ และที่สำคัญคือไม่ต้องใช้สารเคมีในการกำจัดแมลงศัตรูพืช ทำให้ผลผลิตที่ได้ปลอดภัยต่อผู้บริโภคจริงๆ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p> </o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">ข้อดีของการปลูกพืชไร้ดิน</span></b><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>1. <span lang=\"TH\">สามารถปลูกพืชได้ทั้งปีเป็นการเพิ่มมูลค่าของผลผลิตให้สูงขึ้นกว่าแบบเก่า </span>50-100% <span lang=\"TH\">และยังสามารถออกแบบให้ประหยัดพื้นที่การปลูกได้ด้วย</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>2. <span lang=\"TH\">ดูแลได้ทั่วถึงเนื่องจากเป็นระบบที่ง่ายต่อการควบคุมและป้องกันโรคและแมลง ไม่ใช้สารเคมีกำจัดแมลง </span>100% <span lang=\"TH\">และไม่มีปัญหาในการกำจัดวัชพืชในพื้นที่ปลูก</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>3. <span lang=\"TH\">ประหยัดน้ำและปุ๋ยเพราะสามารถควบคุมได้ตามที่พืชต้องการ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>4. <span lang=\"TH\">ไม้ต้องไถพรวน สามารถลดการทำลายหรือชะล้างหน้าดิน</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>5. <span lang=\"TH\">มีผลผลิตสม่ำเสมอ และอายุเก็บเกี่ยวเร็วขึ้น เนื่องจากพืชสามารถนำธาตุอาหารไปใช้ได้อย่างสม่ำเสมอ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>6. <span lang=\"TH\">ผลผลิตที่ได้มีความสะอาด สด คุณภาพดี และที่สำคัญคือ ปลอดสารพิษ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>7. <span lang=\"TH\">สามารถพัฒนาการปลูกไปในเชิงพาณิชย์ได้</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p> </o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">ข้อเสียของการปลูกพืชไร้ดิน</span></b><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">เนื่องจากมีการดัดแปลงแก้ไขและปรับปรุงในระบบเรื่อยมา ทำให้ลดข้อเสีย</span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">ต่างๆที่เคยพบในอดีตลงไปได้มาก เช่น</span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">1.<span lang=\"TH\">ข้อเสียในเรื่องของเทคโนโลยีต่างประเทศที่ราคาค่อนข้างสูง<span>  </span>ตอนนี้สามารถใช้ภูมิ</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">ปัญญาชาวบ้านดัดแปลงได้ ซึ่งผลผลิตที่ได้ก็ไม่ได้แตกต่างกัน</span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>2. <span lang=\"TH\">ความหลากหลายของพืชที่ปลูกไร้ดิน<span>  </span>ในระยะแรกจะปลูกเฉพาะผักต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันนี้สามารถปลูกได้ทั้งผักไทย ผักจีน และผักต่างประเทศ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>3. <span lang=\"TH\">ผู้ปลูกต้องมีความรู้อย่างแท้จริงต่อการปลูกพืชไร้ดิน ซึ่งในปัจจุบันได้มีเอกสารแนะนำ และสามารถขอข้อมูลได้จากสำนักงานเกษตรในทุกพื้นที่</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span>4. <span lang=\"TH\">เรื่องของตลาดนั้นในปัจจุบันไม่ถือเป็นปัญหาอีกต่อไป เพราะผู้บริโภคหันมาใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้น<span>  </span>ซึ่งถือว่าเป็นแนวโน้มที่ดีต่อเกษตรกรที่สนใจทำธุรกิจการปลูกพืชไร้ดินมากขึ้น</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p> </o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">ความปลอดภัยต่อผู้บริโภคพืชไร้ดิน</span></b><b><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span>                </span><span lang=\"TH\">การปลูกพืชไร้ดินเป็นการนำสารละบายธาตุอาหารมาละลายโดยใช้ธาตุอาหารที่เหมาะสมต่อความต้องการของพืชเช่นเดียวกับการปลูกพืชในดิน แต่ต่างกันตรงพืชที่ปลูกในดินจะต้องอาศัยจุลินทรีย์มาเปลี่ยนเป็นรูปของธาตุอาหารซึ่งบางครั้งหากในดินมีธาตุโลหะหนัก เช่นดีบุก ตะกั่ว แคดเมียม ซึ่งเป็นพิษต่อผู้บริโภค จุลินทรีย์ก็เปลี่ยนให้พืชสามารถดูดธาตุที่เป็นพิษเข้าไปได้ แต่ในขณะที่การปลูกพืชไร้ดินเราสามารถควบคุมธาตุที่มีความจำเป็นเฉพาะการเจริญเติบโตของพืชและความปลอดภัยต่อผู้บริโภคเท่านั้น</span><b><o:p></o:p></b></span> </p>\n', created = 1726997397, expire = 1727083797, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ebd9ad04c00b63bc742c71ba21ffebe0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การปลูกพืชไร้ดิน

การปลูกพืชไร้ดิน (Soilless Culture) ด้วยระบบไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)                จากในอดีตที่ผ่านมาการปลูกพืชไร้ดิน ถือว่าเป็นการปลูกพืชโดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนค่อนข้างสูงเกินไปสำหรับเกษตรกรบ้านเรา  แต่เนื่องจากการปลูกพืชในดินติดต่อกันมาเป็นเวลานานมากทำให้เกิดปัญหาต่างๆ มากมาย ทั้งดินเค็ม, เดินเปรี้ยว, แมลงศัตรูพืช  ทำให้ต้องใช้สารเคมีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นจึงได้มีการคิดค้นดัดแปลงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการปลูกพืชไร้ดิน  โดยใช้อุปกรณ์เก่าจากโรงเรือนฟาร์มไก่ไข่ มาทำเป็นแปลงปลูก และใช้ระบบน้ำวนไหลผ่านรากพืช โดยใส่ธาตุอาหารที่พืชต้องการลงในถังน้ำ ซึ่งทำให้ลดต้นทุนการปลูกพืชไร้ดินลงได้มาก จากการลองผิดลองถูกมาเป็นเวลา 1 ปีเต็ม ก็ได้ผลผลิตตามที่ตลาดต้องการ และที่สำคัญคือไม่ต้องใช้สารเคมีในการกำจัดแมลงศัตรูพืช ทำให้ผลผลิตที่ได้ปลอดภัยต่อผู้บริโภคจริงๆ ข้อดีของการปลูกพืชไร้ดิน                1. สามารถปลูกพืชได้ทั้งปีเป็นการเพิ่มมูลค่าของผลผลิตให้สูงขึ้นกว่าแบบเก่า 50-100% และยังสามารถออกแบบให้ประหยัดพื้นที่การปลูกได้ด้วย                2. ดูแลได้ทั่วถึงเนื่องจากเป็นระบบที่ง่ายต่อการควบคุมและป้องกันโรคและแมลง ไม่ใช้สารเคมีกำจัดแมลง 100% และไม่มีปัญหาในการกำจัดวัชพืชในพื้นที่ปลูก                3. ประหยัดน้ำและปุ๋ยเพราะสามารถควบคุมได้ตามที่พืชต้องการ                4. ไม้ต้องไถพรวน สามารถลดการทำลายหรือชะล้างหน้าดิน                5. มีผลผลิตสม่ำเสมอ และอายุเก็บเกี่ยวเร็วขึ้น เนื่องจากพืชสามารถนำธาตุอาหารไปใช้ได้อย่างสม่ำเสมอ                6. ผลผลิตที่ได้มีความสะอาด สด คุณภาพดี และที่สำคัญคือ ปลอดสารพิษ                7. สามารถพัฒนาการปลูกไปในเชิงพาณิชย์ได้ ข้อเสียของการปลูกพืชไร้ดินเนื่องจากมีการดัดแปลงแก้ไขและปรับปรุงในระบบเรื่อยมา ทำให้ลดข้อเสียต่างๆที่เคยพบในอดีตลงไปได้มาก เช่น1.ข้อเสียในเรื่องของเทคโนโลยีต่างประเทศที่ราคาค่อนข้างสูง  ตอนนี้สามารถใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านดัดแปลงได้ ซึ่งผลผลิตที่ได้ก็ไม่ได้แตกต่างกัน                2. ความหลากหลายของพืชที่ปลูกไร้ดิน  ในระยะแรกจะปลูกเฉพาะผักต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันนี้สามารถปลูกได้ทั้งผักไทย ผักจีน และผักต่างประเทศ                3. ผู้ปลูกต้องมีความรู้อย่างแท้จริงต่อการปลูกพืชไร้ดิน ซึ่งในปัจจุบันได้มีเอกสารแนะนำ และสามารถขอข้อมูลได้จากสำนักงานเกษตรในทุกพื้นที่                4. เรื่องของตลาดนั้นในปัจจุบันไม่ถือเป็นปัญหาอีกต่อไป เพราะผู้บริโภคหันมาใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้น  ซึ่งถือว่าเป็นแนวโน้มที่ดีต่อเกษตรกรที่สนใจทำธุรกิจการปลูกพืชไร้ดินมากขึ้น ความปลอดภัยต่อผู้บริโภคพืชไร้ดิน                การปลูกพืชไร้ดินเป็นการนำสารละบายธาตุอาหารมาละลายโดยใช้ธาตุอาหารที่เหมาะสมต่อความต้องการของพืชเช่นเดียวกับการปลูกพืชในดิน แต่ต่างกันตรงพืชที่ปลูกในดินจะต้องอาศัยจุลินทรีย์มาเปลี่ยนเป็นรูปของธาตุอาหารซึ่งบางครั้งหากในดินมีธาตุโลหะหนัก เช่นดีบุก ตะกั่ว แคดเมียม ซึ่งเป็นพิษต่อผู้บริโภค จุลินทรีย์ก็เปลี่ยนให้พืชสามารถดูดธาตุที่เป็นพิษเข้าไปได้ แต่ในขณะที่การปลูกพืชไร้ดินเราสามารถควบคุมธาตุที่มีความจำเป็นเฉพาะการเจริญเติบโตของพืชและความปลอดภัยต่อผู้บริโภคเท่านั้น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 249 คน กำลังออนไลน์