• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:13b03d649243215527a5ca6ead6aff43' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\">  \n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n <b> <span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #008080\">วงจรไฟฟ้าที่มีตัวต้านทาน (R) อย่างเดียว</span></span></b>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td rowSpan=\"4\">  \n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"2\" width=\"200\" src=\"/files/u18487/wave.jpg\" alt=\"http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic03.jpg\" height=\"210\" />\n </div>\n</td>\n<td> แรงดันไฟฟ้าคร่อม<span style=\"color: #800080\">ตัวต้านทานไฟฟ้า</span>จะมีค่าเปลี่ยนแปลงเหมือนกับ<span style=\"color: #ff0000\">กระแสไฟฟ้า <br />\n </span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"center\"> <span style=\"color: #ff0000\"> I</span> = V/<span style=\"color: #800080\">R</span> = <span style=\"color: #ff0000\">I</span><sub>max</sub> sin ωt </td>\n</tr>\n<tr>\n<td>  \n<ul>\n<li>การเปลี่ยนแปลงของ<span style=\"color: #339966\">แรงดันไฟฟ้า</span>มีเครื่องหมายเหมือนกับการเปลี่ยนแปลงของ<span style=\"color: #ff0000\">กระแส</span><span style=\"color: #ff0000\">ไฟฟ้า</span></li>\n</ul>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td> <span style=\"color: #339966\">แรงดันไฟฟ้า</span>และ<span style=\"color: #ff0000\">กระแสไฟฟ้า</span>มีเฟสตรงกัน (in phase) และแอมพลิจูดอยู่ที่เวลาเดียวกัน</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> พิจารณาวงจรไฟฟ้าที่มีเพียงแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับและ<span style=\"color: #800080\">ตัวต้านทาน</span>ตัวเดียวจะพบว่า กระแสที่ไหลผ่านวงจรเป็นตามสมการ \n </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> ให้  i    =  กระแสไฟฟ้าขณะใด ๆ ในวงจร </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> R    =  ค่าความต้านทาน </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> V<sub>R</sub>  =  ความต่างศักย์ที่ตกคร่อมความต้านทานขณะใด ๆ  =  iR </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> V<sub>m</sub>  =  แรงเคลื่อนไฟฟ้าสูงสุดของเครื่องกำำเนิดไฟฟ้า </td>\n</tr>\n<tr>\n<td rowSpan=\"2\">  \n<p align=\"center\">\n <img align=\"left\" width=\"300\" src=\"/files/u18487/R_in_circuit.jpg\" alt=\"http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic06.jpg\" height=\"190\" />\n </p>\n</td>\n<td>  \n<p align=\"center\">\n <img width=\"273\" src=\"/files/u18487/eq_i.jpg\" alt=\"http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic04.jpg\" height=\"59\" />\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>  \n<p align=\"center\">\n <img width=\"93\" src=\"/files/u18487/im.jpg\" alt=\"http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic05.jpg\" height=\"59\" />\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ มีเแรงเคลื่อนไฟฟ้าขณะใด ๆ เป็น </td>\n</tr>\n<tr align=\"center\">\n<td colSpan=\"2\"> V  =  V<sub>m</sub>sinωt </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> ความต่างศักย์ตกคร่อมตัวต้านทานขณะใด ๆ มีค่าเท่ากับแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเสมอ ดังนั้น </td>\n</tr>\n<tr align=\"center\">\n<td colSpan=\"2\"> V<sub>R</sub>  =  V  =  V<sub>m</sub>sinωt </td>\n</tr>\n<tr align=\"center\">\n<td colSpan=\"2\"> iR   =  V<sub>m</sub>sinωt </td>\n</tr>\n<tr align=\"center\">\n<td colSpan=\"2\"> i  =  V<sub>m</sub>sinωt / R </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> แต่ sinωt มีค่ามากที่สุดเท่ากับ 1 ดังนั้น กระแสไฟฟ้าืั้ที่มากที่สุดในวงจร (Im)จะมีค่าเท่ากับ Vm/R </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> จึงสามารถเขียนสมการของกระแสไฟฟ้าที่เวลาใด ๆ ได้เป็น </td>\n</tr>\n<tr align=\"center\">\n<td colSpan=\"2\"> i = I<sub>m</sub>sinωt </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> ซึ่งถ้าเขียนกราฟความต่างศักย์ที่คร่อมตัวต้านทานและกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานเทียบกับเวลาจะได้ดังนี้ </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\">  \n<div style=\"text-align: center\">\n <img width=\"290\" src=\"/files/u18487/pic07.png\" alt=\"http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic07.png\" height=\"216\" />\n </div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> จากรูปสรุปได้ว่า&quot;<span style=\"color: #ff6600\">กระแสที่ผ่านตัวต้านทานมีเฟสตรงกันกับความต่างศักย์ที่คร่อมตัวต้านทาน</span>&quot; </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\"> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td colSpan=\"2\">  \n<div style=\"text-align: center\">\n <a href=\"/node/55982\" class=\"menu\"><img width=\"370\" src=\"/files/u18487/back.gif\" height=\"57\" /></a>\n </div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1727591010, expire = 1727677410, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:13b03d649243215527a5ca6ead6aff43' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วงจรไฟฟ้าที่มีตัวต้านทาน (R) อย่างเดียว

 

 

 วงจรไฟฟ้าที่มีตัวต้านทาน (R) อย่างเดียว

 

 
http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic03.jpg
 แรงดันไฟฟ้าคร่อมตัวต้านทานไฟฟ้าจะมีค่าเปลี่ยนแปลงเหมือนกับกระแสไฟฟ้า
  I = V/R = Imax sin ωt
 
  • การเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้ามีเครื่องหมายเหมือนกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้า
 แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้ามีเฟสตรงกัน (in phase) และแอมพลิจูดอยู่ที่เวลาเดียวกัน
 พิจารณาวงจรไฟฟ้าที่มีเพียงแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับและตัวต้านทานตัวเดียวจะพบว่า กระแสที่ไหลผ่านวงจรเป็นตามสมการ
 ให้  i    =  กระแสไฟฟ้าขณะใด ๆ ในวงจร
 R    =  ค่าความต้านทาน
 VR  =  ความต่างศักย์ที่ตกคร่อมความต้านทานขณะใด ๆ  =  iR
 Vm  =  แรงเคลื่อนไฟฟ้าสูงสุดของเครื่องกำำเนิดไฟฟ้า
 

http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic06.jpg

 

http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic04.jpg

 

http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic05.jpg

 
 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ มีเแรงเคลื่อนไฟฟ้าขณะใด ๆ เป็น
 V  =  Vmsinωt
 ความต่างศักย์ตกคร่อมตัวต้านทานขณะใด ๆ มีค่าเท่ากับแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเสมอ ดังนั้น
 VR  =  V  =  Vmsinωt
 iR   =  Vmsinωt
 i  =  Vmsinωt / R
 แต่ sinωt มีค่ามากที่สุดเท่ากับ 1 ดังนั้น กระแสไฟฟ้าืั้ที่มากที่สุดในวงจร (Im)จะมีค่าเท่ากับ Vm/R
 จึงสามารถเขียนสมการของกระแสไฟฟ้าที่เวลาใด ๆ ได้เป็น
 i = Imsinωt
 ซึ่งถ้าเขียนกราฟความต่างศักย์ที่คร่อมตัวต้านทานและกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานเทียบกับเวลาจะได้ดังนี้
 
http://physics.flas.kps.ku.ac.th/course/alter/pic07.png
 จากรูปสรุปได้ว่า"กระแสที่ผ่านตัวต้านทานมีเฟสตรงกันกับความต่างศักย์ที่คร่อมตัวต้านทาน"
 
 
สร้างโดย: 
ฟิสิกส์เจ้าเก่า

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 366 คน กำลังออนไลน์