• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ebf905a18ff9fd2bae9c6ec2855468cd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u17830/AA1.jpg\" style=\"width: 497px; height: 124px\" height=\"149\" width=\"429\" />\n</p>\n<p><b></b></p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"><b></b></span>\n</p>\n<h1><span style=\"color: #000080\"></span></h1>\n<h1><span style=\"color: #000080\">สังคโลกเป็นคำเรียกเครื่องเคลือบเนื้อแกร่งโดยทั่วไปของไทย ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 17 ถึง ต้นพุทธศตวรรษที่ 22 ที่ผลิตที่อาณาจักรสุโขทัย สันนิษฐานสังคโลก น่าจะมีที่มาดังนี้ </span></h1>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h2><span style=\"color: #000080\">1.สังคโลก หรือ สังกโลก อาจมาจากชื่อ สวรรคโลก ที่เป็นชื่อของ เมืองศรีสัชนาลัยในสมัยอยุธยาตั้งแต่ สมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991-2031) ซึ่งระยะนี้ เป็นระยะที่เครื่องปั้น ของเตาที่ศรีสัชนาลัยกำลังเจริญ(เปลี่ยนจากอุตสาหกรรมระดับเล็กมาสู่ระดับเมือง)มีการส่งเป็นสินค้าออกอย่างกว้างขวางและแพร่หลายเป็นที่รู้จักของพ่อค้าต่างชาติเป็นอย่างดี จนเรียกชื่อว่า เครื่องถ้วยของสวรรคโลก และต่อมากร่อนลงเหลือเพียงสวรรคโลกและเพี้ยนเป็นสังกโลกในที่สุด มีนักวิชาการกล่าวว่ามีภาษาญี่ปุ่น ออกเสียงคล้ายกับคำว่า สังกโลก คือ &quot;ซันโกโลกุ&quot; ใน ภาษาจีนแมนดาริน เรียกซุ่งเจียโล จีนซัวเถา เรียก ซุงกาโลก </span></h2>\n<p>\n<span style=\"color: #000080\"></span>\n</p>\n<h2><span style=\"color: #000080\">2.มาจาก คำว่า ซ้องโกลก (แปลว่าเครื่องถ้วยซ้อง คำว่า ซ้อง หมายถึง ราชวงศ์ซ้อง โกลก หมายถึง เตา รวมแปลว่า เตาแผ่นดินซ้อง ซึ่งหมายถึงช่างทำเครื่องถ้วยซ้องเป็นคนมาตั้งเตาทำขึ้น และรูปแบบของสังคโลกยุคแรกก็มีอิทธิพลของเครื่องถ้วยซ้อง </span>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ในปัจจุบัน ข้อสันนิฐานตามข้อ 1 มีการยอมรับว่าเป็นไปได้มากกว่า                                                                        </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><big>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u17830/1197822340.gif\" style=\"width: 277px; height: 30px\" height=\"41\" width=\"432\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p></big></span></span>                                                                              \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><big></big></span></span>\n</div>\n<div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><big>วิวัฒนาการของเตาเผาสังคโลกระยะต่างๆ</big></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><big>วิวัฒนาการของเตาเผาในอณาจักรสุโขทัยแบ่งตามลำดับได้ ดังนี้</big></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"> </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></span></span></h2>\n<div>\n</div>\n<h2><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\">1.เตาขุดหรือเตาใต้ดิน <br />\n2.เตาบนดิน(ผนังยาดินเหนียว) <br />\n3.เตาอิฐบนดินระยะแรก <br />\n4.เตาอิฐบนดินระยะสุดท้าย</span></span></span></span></span></span></h2>\n<h2><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"><br />\n</span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></span></span></span></span></span></h2>\n<h2 align=\"center\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008000\"><strong>รายละเอียดเกี่ยวกับเตาเผาระยะต่างๆ</strong></span></span></span></span></span></span></span></span></h2>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h2><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><i><span style=\"color: #008000\">1.</span></i><span style=\"color: #008000\"><i>เตาขุดหรือเตาใต้ดิน</i> การสร้าง ขุดเป็นโพรงลงไปในเนินดินธรรมชาติ หรือตามผนังริมคลองหรือ ริมฝั่งแม่น้ำยม <br />\n- เป็นเตาชนิดระบายความร้อนไหลผ่านแนวนอนหรือเฉียงขึ้นเล็กน้อย <br />\n- ตัวเตามีรูปด้านตัด เกือบกลม คล้ายโพรงสัตว์ <br />\n- ผนังเตาเป็นดินธรรมฃาติ <br />\n- พื้นเตาของห้องภาชนะกับห้องไฟ ไม่แยกออกจากกัน ไม้มีคันกันไฟ เพียงแต่ห้องไฟอยู่ต่ำกว่าพื้น เตา เล็กน้อย <br />\n- เตาชนิดนี้เมื่อมีการเผาช้ำๆกันหลายๆครั้ง บริเวณที่เป็นรอยต่อ ระหว่างระยะปลายเปลวไฟของห้อง ไฟ กับห้องภาชนะบนพื้นเตา เกิดมีการจับตัวของเศษภาชนะที่แตกหักเ ศษไม้ ถ่าน ดิน ก่อเป็นแนว คันกั้นไฟเตี้ยๆพาดขวางตัวเตา ทำให้เกิดเป็นคันกั้นไฟโดยบังเอิญ ตัวอย่างของเตาชนิด ได้แก่ เตาที่อยู่ในชั้นทับถมลึกสุดของเนินเตาเผา มีอายุใช้งานราว พุทธศตวรรษที่ 17</span><span style=\"color: #008000\"> </span></span></span></span></span></span></h2>\n<h2>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"><i>2.เตาบนดิน(ผนังยาดินเหนียว)</i> เป็นพัฒนาการจากเตาขุดใต้ดินที่เริ่มดีขึ้นมีการแยกห้องไฟกับห้องภาชนะโดยการขุดเป็นตระพัก ต่ำลงไป อย่างชัดเจน <br />\n- ผนังเตามีการโบกพอกด้วยดินเหนียวเป็นชั้นหนาเพื่อเป็นฉนวนกันความร้อนที่จะสูญเสียไปจาก เตาเผา <br />\n- ด้านตัดของตัวเตา เป็นรูปครึ่งวงกลมหลังคาเป็นวงโค้ง <br />\n- พื้นเตาเป็นเส้นตรง บางเตาที่ช่วงต่อระหว่างโค้งหลังคากับพื้นเตาเกือบเป็นมุมฉาก <br />\n- ขนาดของเตามีความยาว3-6เมตร <br />\n- ผลิตภัณฑ์ของเตากลุ่มนี้ คือ เครื่องถ้วยเชลียงหรือเครื่องถ้วยมอญ และเครื่องปั้นดินเผาเนื้อแกร่งไม่เคลือบประเภท ไห </span></span></span></span></span></span>จาน <span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\">ชาม</span></span></span></span></span></span></h2>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"><i>3.เตาอิฐบนดินระยะแรก</i> <br />\n- เป็นเทคโนโลยีเตาเผาในระยะที่2 เป็นเตาเผาชนิด ระบายความร้อนไหลผ่านแนวนอน เตาอิฐบนดินมีขนาดใหญ่กว่าเตาขุดใต้ดินสร้างอยู่บนดินถมเดิม ซึ่งส่วนมากอยู่ในที่น้ำท่วมไม่ถึง และมีจำนวนมากที่สร้างทับลงบนซากเตาใต้ดินระยะแรก <br />\n- โครงสร้างเตา ก่อผนังด้านข้างหลังคาเตาและปล่องไฟ ด้วยก้อนดินดิบก้อนเล็กๆ <br />\n- ขนาดเตากว้างประมาณ2.5เมตร <br />\n- เตาแบบนี้เป็นเตา ที่พัฒนามาจากแบบแรกๆทำให้มีความแข็งแรงและประหยัด สามารถควบคุม </span><span style=\"color: #008000\">อุณหภูมิได้ดีกว่า และมีอายุการใช้</span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\">งานยาวนานกว่าเตาในระยะแรก <br />\n- ผลิตภัณฑ์ของเตาประเภทนี้คือ เครื่องเคลือบประเภทจาน ชาม เขียนลายสีดำใต้เคลือบสีเขียวใส ซึ่งเป็นต้นแบบของในกลุ่มชาม</span><span style=\"color: #008000\">ลายปลา ที่เป็นสินค้าส่งออก และเครื่องเคลือบสีขาวน้ำนม และ น้ำตาลรูปทรงต่างๆมีอายุการใช้งานราวพุทธศตวรรษที่ 19 - 20</span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"><i>4. เตาอิฐบนดินระยะสุดท้าย</i> <br />\n- เป็นเตาอิฐขนาดใหญ่ที่มีพัฒนาการต่อเนื่องมาจากเตาอิฐระยะที่2 แต่เป็นเตาขนาดใหญ่โต เผา เครื่องถ้วยได้คราวละมากๆ <br />\n-โครงสร้างก่อด้วยอิฐแผ่นใหญ่ เตาส่วนมากสร้างทับลงไปบนเตาอิฐระยะที่2 การก่อสร้างมีการเรียงอิฐเชื่อมต่อกัน ในระบบวงโค้งอาร์ค อย่างชำนาญ อันเป็นผลมาจากประสบการณ์ ในการ สร้างเตารุ่นก่อนๆมาแล้วเกือบ200ปีนั่นเอง <br />\n- เตาแบบนี้มีความยาวเฉลี่ย8-9เมตร กว้าง3-3.8เมตร ส่วนมากมีการซ่อมแซ่มเปลี่ยนแปลงวัสดุ โครงสร้าง หลายต่อหลายครั้งในช่วงเวลาที่มีการผลิตเครื่องสังคโลกคราวละมากๆ เมื่อเตาชำรุด และต้องซ่อมแซมช่างไม่มีเวลาผลิตวัสดุประเภทอิฐ ชนิดที่ใช้สร้างเตาโดยตรง เราจึงมักพบว่ามี การใช้อิฐจากเตาเผาเก่าบ้าง กี๋ท่อที่ชำรุดบ้าง ในการซ่อมแซมเตาเผาบริเวณที่พบมากคือ ผนังด้านข้างห้องภาชนะและผนังห้องไฟ ซึ่งห้องไฟของเตาอิฐบนดินระยะสุดท้ายนี้มี ขนาด ราว1/4 ของพื้นที่เตา เตาแบบนี้มีอายุการใช้งานมากกว่า10ปีขึ้นไป - ผลิตภัณฑ์ของเตาเผาแบบนี้ มีมากมายหลายประเภท และเป็นสังคโลกในกลุ่มสินค้าส่งออกเกือบทั้งหมด <br />\n- เตาแบบนี้เป็น เตาอิฐขนาดใหญ่ที่ใช้ในการผลิต ในระดับอุตสาหกรรมอย่างแท้จริง มีอายุการใช้ งานราวพุทธศตวรรษที่20-21</span></span></span></span></span>\n</p>\n<h2><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"></span></span></span></span></span></h2>\n<h2><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\">  \n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u17830/1239898859.gif\" style=\"width: 361px; height: 44px\" height=\"79\" width=\"476\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #008000\"><a href=\"/node/39744\"><img border=\"0\" src=\"/files/u17830/hom.jpg\" height=\"91\" width=\"77\" /></a> </span></span></span></span></span>\n</div>\n<p></p></span></span></span></span></span></h2>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p></div>\n</h2>\n', created = 1715507871, expire = 1715594271, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ebf905a18ff9fd2bae9c6ec2855468cd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สังคโลก.......ความหมายและวิวัฒนาการ

สังคโลกเป็นคำเรียกเครื่องเคลือบเนื้อแกร่งโดยทั่วไปของไทย ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 17 ถึง ต้นพุทธศตวรรษที่ 22 ที่ผลิตที่อาณาจักรสุโขทัย สันนิษฐานสังคโลก น่าจะมีที่มาดังนี้

 

1.สังคโลก หรือ สังกโลก อาจมาจากชื่อ สวรรคโลก ที่เป็นชื่อของ เมืองศรีสัชนาลัยในสมัยอยุธยาตั้งแต่ สมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991-2031) ซึ่งระยะนี้ เป็นระยะที่เครื่องปั้น ของเตาที่ศรีสัชนาลัยกำลังเจริญ(เปลี่ยนจากอุตสาหกรรมระดับเล็กมาสู่ระดับเมือง)มีการส่งเป็นสินค้าออกอย่างกว้างขวางและแพร่หลายเป็นที่รู้จักของพ่อค้าต่างชาติเป็นอย่างดี จนเรียกชื่อว่า เครื่องถ้วยของสวรรคโลก และต่อมากร่อนลงเหลือเพียงสวรรคโลกและเพี้ยนเป็นสังกโลกในที่สุด มีนักวิชาการกล่าวว่ามีภาษาญี่ปุ่น ออกเสียงคล้ายกับคำว่า สังกโลก คือ "ซันโกโลกุ" ใน ภาษาจีนแมนดาริน เรียกซุ่งเจียโล จีนซัวเถา เรียก ซุงกาโลก

2.มาจาก คำว่า ซ้องโกลก (แปลว่าเครื่องถ้วยซ้อง คำว่า ซ้อง หมายถึง ราชวงศ์ซ้อง โกลก หมายถึง เตา รวมแปลว่า เตาแผ่นดินซ้อง ซึ่งหมายถึงช่างทำเครื่องถ้วยซ้องเป็นคนมาตั้งเตาทำขึ้น และรูปแบบของสังคโลกยุคแรกก็มีอิทธิพลของเครื่องถ้วยซ้อง

ในปัจจุบัน ข้อสันนิฐานตามข้อ 1 มีการยอมรับว่าเป็นไปได้มากกว่า                                                                       

 

                                                                              

วิวัฒนาการของเตาเผาสังคโลกระยะต่างๆ

วิวัฒนาการของเตาเผาในอณาจักรสุโขทัยแบ่งตามลำดับได้ ดังนี้

 

1.เตาขุดหรือเตาใต้ดิน
2.เตาบนดิน(ผนังยาดินเหนียว)
3.เตาอิฐบนดินระยะแรก
4.เตาอิฐบนดินระยะสุดท้าย


รายละเอียดเกี่ยวกับเตาเผาระยะต่างๆ

 

1.เตาขุดหรือเตาใต้ดิน การสร้าง ขุดเป็นโพรงลงไปในเนินดินธรรมชาติ หรือตามผนังริมคลองหรือ ริมฝั่งแม่น้ำยม
- เป็นเตาชนิดระบายความร้อนไหลผ่านแนวนอนหรือเฉียงขึ้นเล็กน้อย
- ตัวเตามีรูปด้านตัด เกือบกลม คล้ายโพรงสัตว์
- ผนังเตาเป็นดินธรรมฃาติ
- พื้นเตาของห้องภาชนะกับห้องไฟ ไม่แยกออกจากกัน ไม้มีคันกันไฟ เพียงแต่ห้องไฟอยู่ต่ำกว่าพื้น เตา เล็กน้อย
- เตาชนิดนี้เมื่อมีการเผาช้ำๆกันหลายๆครั้ง บริเวณที่เป็นรอยต่อ ระหว่างระยะปลายเปลวไฟของห้อง ไฟ กับห้องภาชนะบนพื้นเตา เกิดมีการจับตัวของเศษภาชนะที่แตกหักเ ศษไม้ ถ่าน ดิน ก่อเป็นแนว คันกั้นไฟเตี้ยๆพาดขวางตัวเตา ทำให้เกิดเป็นคันกั้นไฟโดยบังเอิญ ตัวอย่างของเตาชนิด ได้แก่ เตาที่อยู่ในชั้นทับถมลึกสุดของเนินเตาเผา มีอายุใช้งานราว พุทธศตวรรษที่ 17

2.เตาบนดิน(ผนังยาดินเหนียว) เป็นพัฒนาการจากเตาขุดใต้ดินที่เริ่มดีขึ้นมีการแยกห้องไฟกับห้องภาชนะโดยการขุดเป็นตระพัก ต่ำลงไป อย่างชัดเจน
- ผนังเตามีการโบกพอกด้วยดินเหนียวเป็นชั้นหนาเพื่อเป็นฉนวนกันความร้อนที่จะสูญเสียไปจาก เตาเผา
- ด้านตัดของตัวเตา เป็นรูปครึ่งวงกลมหลังคาเป็นวงโค้ง
- พื้นเตาเป็นเส้นตรง บางเตาที่ช่วงต่อระหว่างโค้งหลังคากับพื้นเตาเกือบเป็นมุมฉาก
- ขนาดของเตามีความยาว3-6เมตร
- ผลิตภัณฑ์ของเตากลุ่มนี้ คือ เครื่องถ้วยเชลียงหรือเครื่องถ้วยมอญ และเครื่องปั้นดินเผาเนื้อแกร่งไม่เคลือบประเภท ไห
จาน ชาม

3.เตาอิฐบนดินระยะแรก
- เป็นเทคโนโลยีเตาเผาในระยะที่2 เป็นเตาเผาชนิด ระบายความร้อนไหลผ่านแนวนอน เตาอิฐบนดินมีขนาดใหญ่กว่าเตาขุดใต้ดินสร้างอยู่บนดินถมเดิม ซึ่งส่วนมากอยู่ในที่น้ำท่วมไม่ถึง และมีจำนวนมากที่สร้างทับลงบนซากเตาใต้ดินระยะแรก
- โครงสร้างเตา ก่อผนังด้านข้างหลังคาเตาและปล่องไฟ ด้วยก้อนดินดิบก้อนเล็กๆ
- ขนาดเตากว้างประมาณ2.5เมตร
- เตาแบบนี้เป็นเตา ที่พัฒนามาจากแบบแรกๆทำให้มีความแข็งแรงและประหยัด สามารถควบคุม
อุณหภูมิได้ดีกว่า และมีอายุการใช้
งานยาวนานกว่าเตาในระยะแรก
- ผลิตภัณฑ์ของเตาประเภทนี้คือ เครื่องเคลือบประเภทจาน ชาม เขียนลายสีดำใต้เคลือบสีเขียวใส ซึ่งเป็นต้นแบบของในกลุ่มชาม
ลายปลา ที่เป็นสินค้าส่งออก และเครื่องเคลือบสีขาวน้ำนม และ น้ำตาลรูปทรงต่างๆมีอายุการใช้งานราวพุทธศตวรรษที่ 19 - 20

4. เตาอิฐบนดินระยะสุดท้าย
- เป็นเตาอิฐขนาดใหญ่ที่มีพัฒนาการต่อเนื่องมาจากเตาอิฐระยะที่2 แต่เป็นเตาขนาดใหญ่โต เผา เครื่องถ้วยได้คราวละมากๆ
-โครงสร้างก่อด้วยอิฐแผ่นใหญ่ เตาส่วนมากสร้างทับลงไปบนเตาอิฐระยะที่2 การก่อสร้างมีการเรียงอิฐเชื่อมต่อกัน ในระบบวงโค้งอาร์ค อย่างชำนาญ อันเป็นผลมาจากประสบการณ์ ในการ สร้างเตารุ่นก่อนๆมาแล้วเกือบ200ปีนั่นเอง
- เตาแบบนี้มีความยาวเฉลี่ย8-9เมตร กว้าง3-3.8เมตร ส่วนมากมีการซ่อมแซ่มเปลี่ยนแปลงวัสดุ โครงสร้าง หลายต่อหลายครั้งในช่วงเวลาที่มีการผลิตเครื่องสังคโลกคราวละมากๆ เมื่อเตาชำรุด และต้องซ่อมแซมช่างไม่มีเวลาผลิตวัสดุประเภทอิฐ ชนิดที่ใช้สร้างเตาโดยตรง เราจึงมักพบว่ามี การใช้อิฐจากเตาเผาเก่าบ้าง กี๋ท่อที่ชำรุดบ้าง ในการซ่อมแซมเตาเผาบริเวณที่พบมากคือ ผนังด้านข้างห้องภาชนะและผนังห้องไฟ ซึ่งห้องไฟของเตาอิฐบนดินระยะสุดท้ายนี้มี ขนาด ราว1/4 ของพื้นที่เตา เตาแบบนี้มีอายุการใช้งานมากกว่า10ปีขึ้นไป - ผลิตภัณฑ์ของเตาเผาแบบนี้ มีมากมายหลายประเภท และเป็นสังคโลกในกลุ่มสินค้าส่งออกเกือบทั้งหมด
- เตาแบบนี้เป็น เตาอิฐขนาดใหญ่ที่ใช้ในการผลิต ในระดับอุตสาหกรรมอย่างแท้จริง มีอายุการใช้ งานราวพุทธศตวรรษที่20-21

 
 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 214 คน กำลังออนไลน์