• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:244baab898290c71fea843fee06410f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><strong><u>ประวัติดนตรีไทย</u></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><strong><u></u></strong></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<strong>ทัศนะที่ 1</strong> สันนิษฐานว่า ดนตรีไทย ได้แบบอย่างมาจากอินเดีย เนื่องจาก อินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ ที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก อารยธรรมต่าง ๆ ของอินเดียได้เข้ามามีอิทธิพล ต่อประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชียอย่างมาก ทั้งในด้าน ศาสนา ประเพณีความเชื่อ ตลอดจน ศิลปะ แขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านดนตรี ปรากฎรูปร่างลักษณะ เครื่องดนตรี ของประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชีย เช่น จีน เขมร พม่า อินโดนิเซีย และ มาเลเซีย มีลักษณะ คล้ายคลึงกัน เป็นส่วนมาก ทั้งนี้เนื่องมาจาก ประเทศเหล่านั้นต่างก็ยึดแบบฉบับ ดนตรี ของอินเดีย เป็นบรรทัดฐาน รวมทั้งไทยเราด้วย เหตุผลสำคัญที่ท่านผู้รู้ได้เสนอทัศนะนี้ก็คือ ลักษณะของ เครื่องดนตรีไทย สามารถจำแนกเป็น 4 ประเภท คือ<br />\n1. เครื่องดีด<br />\n2. เครื่องสี<br />\n3. เครื่องตี<br />\n4. เครื่องเป่า<br />\nการสันนิษฐานเกี่ยวกับ กำเนิดหรือที่มาของ ดนตรีไทย ตามแนวทัศนะข้อนี้ เป็นทัศนะที่มีมาแต่เดิม นับตั้งแต่ ได้มีผู้สนใจ และ ได้ทำการค้นคว้าหาหลักฐาน เกี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้น และนับว่า เป็นทัศนะที่ได้รับการนำมากล่าวอ้างกันมาก บุคคลสำคัญที่เป็นผู้เสนอแนะแนวทางนี้คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระบิดาแห่งวงการประวัติศาสตร์ของไทย\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19635/1.jpg\" style=\"width: 120px; height: 163px\" height=\"398\" width=\"280\" />\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\n(สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระบิดาแห่งวงการประวัติศาสตร์ของไทย)\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\">\nแหล่งอ้างอิงรูปภาพ : <a href=\"http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=14831\">http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=14831</a>\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><strong>ทัศนะคติที่ 2</strong> สันนิษฐานว่า ดนตรีไทย เกิดจากความคิด และ สติปัญญา ของคนไทย เกิดขึ้นมาพร้อมกับคนไทย ตั้งแต่ สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ ของประเทศจีนแล้ว ทั้งนี้เนื่องจาก ดนตรี เป็นมรดกของมนุษยชาติ ทุกชาติทุกภาษาต่างก็มี ดนตรี ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ของตนด้วยกันทั้งนั้น ถึงแม้ว่าในภายหลัง จะมีการรับเอาแบบอย่าง ดนตรี ของต่างชาติเข้ามาก็ตาม แต่ก็เป็น การนำเข้ามาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม กับ ลักษณะและนิสัยทางดนตรี ของคนในชาตินั้น ๆ ไทยเรา ตั้งแต่สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน ก็คงจะมี ดนตรี ของเราเองเกิดขึ้นแล้ว ทั้งนี้ จะสังเกตเห็นได้ว่า เครื่องดนตรี ดั้งเดิมของไทย จะมีชื่อเรียกเป็นคำโดด ซึ่งเป็นลักษณะของคำไทยแท้ เช่น เกราะ, โกร่ง, กรับ , ฉาบ , ฉิ่ง , ปี่ , ขลุ่ย , ฆ้อง , กลอง  เป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">    ต่อมาเมื่อไทยได้ อพยพ ลงมาตั้งถิ่นฐานในแถบแหลมอินโดจีน จึงได้มาพบวัฒนธรรมแบบอินเดีย โดยเฉพาะ เครื่องดนตรี อินเดีย ซึ่งชนชาติมอญ และ เขมร รับไว้ก่อนที่ไทยจะอพยพเข้ามา ด้วยเหตุนี้ ชนชาติไทย ซึ่งมีนิสัยทางดนตรีอยู่แล้ว จึงรับเอาวัฒนธรรมทางดนตรีแบบอินเดีย ผสมกับแบบมอญและเขมร เข้ามาผสมกับดนตรีที่มีมาแต่เดิมของตน จึงเกิดเครื่องดนตรีเพิ่มขึ้นอีก ได้แก่ พิณ , สังข์ ,  ปี่ไฉน , บัณเฑาะว์ , กระจับปี่ และ จะเข้ เป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><br />\n    ต่อมาเมื่อไทยได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในแหลมอินโดจีนอย่างมั่นคงแล้ว ได้มีการ ติดต่อสัมพันธ์ กับประเทศเพื่อนบ้านในแหลมอินโดจีน หรือแม้แต่กับประเทศทางตะวันตกบางประเทศที่เข้ามา ติดต่อค้าขาย ทำให้ไทยรับเอาเครื่องดนตรีบางอย่าง ของประเทศต่าง ๆ เหล่านั้นมาใช้ เล่นใน วงดนตรีไทย ด้วย เช่น กลองแขก ปี่ชวา ของชวา (อินโดนิเซีย) กลองมลายู ของมลายู (มาเลเซีย) เปิงมาง ตะโพนมอญ ปี่มอญ และฆ้องมอญ ของมอญ กลองยาวของพม่า ขิม ม้าล่อของจีน กลองมริกัน (กลองของชาวอเมริกัน) เปียโน ออร์แกน และ ไวโอลีน ของประเทศทางตะวันตก เป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\nแหล่งอ้างอิงข้อมูล : <span style=\"font-family: \'Times New Roman\'; font-size: 12pt\"><a href=\"http://kamas-kamas.blogspot.com/2007/10/blog-post_27.html\"><u><span style=\"color: #800080\">http://kamas-kamas.blogspot.com/2007/10/blog-post_27.html</span></u></a></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719405028, expire = 1719491428, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:244baab898290c71fea843fee06410f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานชิ้นที่ 3 : เรื่องประวัติดนตรีไทยและเครื่องดนตรีไทย (กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ)

รูปภาพของ pnp33662

ประวัติดนตรีไทย


ทัศนะที่ 1 สันนิษฐานว่า ดนตรีไทย ได้แบบอย่างมาจากอินเดีย เนื่องจาก อินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ ที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก อารยธรรมต่าง ๆ ของอินเดียได้เข้ามามีอิทธิพล ต่อประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชียอย่างมาก ทั้งในด้าน ศาสนา ประเพณีความเชื่อ ตลอดจน ศิลปะ แขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านดนตรี ปรากฎรูปร่างลักษณะ เครื่องดนตรี ของประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชีย เช่น จีน เขมร พม่า อินโดนิเซีย และ มาเลเซีย มีลักษณะ คล้ายคลึงกัน เป็นส่วนมาก ทั้งนี้เนื่องมาจาก ประเทศเหล่านั้นต่างก็ยึดแบบฉบับ ดนตรี ของอินเดีย เป็นบรรทัดฐาน รวมทั้งไทยเราด้วย เหตุผลสำคัญที่ท่านผู้รู้ได้เสนอทัศนะนี้ก็คือ ลักษณะของ เครื่องดนตรีไทย สามารถจำแนกเป็น 4 ประเภท คือ
1. เครื่องดีด
2. เครื่องสี
3. เครื่องตี
4. เครื่องเป่า
การสันนิษฐานเกี่ยวกับ กำเนิดหรือที่มาของ ดนตรีไทย ตามแนวทัศนะข้อนี้ เป็นทัศนะที่มีมาแต่เดิม นับตั้งแต่ ได้มีผู้สนใจ และ ได้ทำการค้นคว้าหาหลักฐาน เกี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้น และนับว่า เป็นทัศนะที่ได้รับการนำมากล่าวอ้างกันมาก บุคคลสำคัญที่เป็นผู้เสนอแนะแนวทางนี้คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระบิดาแห่งวงการประวัติศาสตร์ของไทย

 

(สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระบิดาแห่งวงการประวัติศาสตร์ของไทย)

แหล่งอ้างอิงรูปภาพ : http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=14831

ทัศนะคติที่ 2 สันนิษฐานว่า ดนตรีไทย เกิดจากความคิด และ สติปัญญา ของคนไทย เกิดขึ้นมาพร้อมกับคนไทย ตั้งแต่ สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ ของประเทศจีนแล้ว ทั้งนี้เนื่องจาก ดนตรี เป็นมรดกของมนุษยชาติ ทุกชาติทุกภาษาต่างก็มี ดนตรี ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ของตนด้วยกันทั้งนั้น ถึงแม้ว่าในภายหลัง จะมีการรับเอาแบบอย่าง ดนตรี ของต่างชาติเข้ามาก็ตาม แต่ก็เป็น การนำเข้ามาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม กับ ลักษณะและนิสัยทางดนตรี ของคนในชาตินั้น ๆ ไทยเรา ตั้งแต่สมัยที่ยังอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน ก็คงจะมี ดนตรี ของเราเองเกิดขึ้นแล้ว ทั้งนี้ จะสังเกตเห็นได้ว่า เครื่องดนตรี ดั้งเดิมของไทย จะมีชื่อเรียกเป็นคำโดด ซึ่งเป็นลักษณะของคำไทยแท้ เช่น เกราะ, โกร่ง, กรับ , ฉาบ , ฉิ่ง , ปี่ , ขลุ่ย , ฆ้อง , กลอง  เป็นต้น

    ต่อมาเมื่อไทยได้ อพยพ ลงมาตั้งถิ่นฐานในแถบแหลมอินโดจีน จึงได้มาพบวัฒนธรรมแบบอินเดีย โดยเฉพาะ เครื่องดนตรี อินเดีย ซึ่งชนชาติมอญ และ เขมร รับไว้ก่อนที่ไทยจะอพยพเข้ามา ด้วยเหตุนี้ ชนชาติไทย ซึ่งมีนิสัยทางดนตรีอยู่แล้ว จึงรับเอาวัฒนธรรมทางดนตรีแบบอินเดีย ผสมกับแบบมอญและเขมร เข้ามาผสมกับดนตรีที่มีมาแต่เดิมของตน จึงเกิดเครื่องดนตรีเพิ่มขึ้นอีก ได้แก่ พิณ , สังข์ ,  ปี่ไฉน , บัณเฑาะว์ , กระจับปี่ และ จะเข้ เป็นต้น


    ต่อมาเมื่อไทยได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในแหลมอินโดจีนอย่างมั่นคงแล้ว ได้มีการ ติดต่อสัมพันธ์ กับประเทศเพื่อนบ้านในแหลมอินโดจีน หรือแม้แต่กับประเทศทางตะวันตกบางประเทศที่เข้ามา ติดต่อค้าขาย ทำให้ไทยรับเอาเครื่องดนตรีบางอย่าง ของประเทศต่าง ๆ เหล่านั้นมาใช้ เล่นใน วงดนตรีไทย ด้วย เช่น กลองแขก ปี่ชวา ของชวา (อินโดนิเซีย) กลองมลายู ของมลายู (มาเลเซีย) เปิงมาง ตะโพนมอญ ปี่มอญ และฆ้องมอญ ของมอญ กลองยาวของพม่า ขิม ม้าล่อของจีน กลองมริกัน (กลองของชาวอเมริกัน) เปียโน ออร์แกน และ ไวโอลีน ของประเทศทางตะวันตก เป็นต้น

 

 

 

แหล่งอ้างอิงข้อมูล : http://kamas-kamas.blogspot.com/2007/10/blog-post_27.html

 

รูปภาพของ pnp33671

เยี่ยมมากจ้า

 สาระเพียบ 10 อยู่แล้ว

รูปภาพของ pnp31471

โอ้สวยงามจัง

 

 

ให้10คะเเนนเต็มจร้า

รูปภาพของ pnp32300

10 คะแนนเลย

 

สวยงามมาก

รูปภาพของ pnp33667

น่าสนใจดี

สวยงาม 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31446

น่าสนใจดี

 

ให้ 10

รูปภาพของ pnp31144

ดีครับดีมากๆ

 

สิบครับ

รูปภาพของ pnp31501

อือก็ดีนะนำความรู้มาใช้ได้

รูปภาพของ pnp31503

เนื้อหาดีมาก

มีประโยชน์

ให้ 10 คะแนนเต็ม

รูปภาพของ Rinniiz

เนื้อหาดี

 

น่ารู้

 นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

10คั๊บ

รูปภาพของ pnp31269

เนื้อน่าสนใจจ้า

 

น้ำหวานให้10จ้า

รูปภาพของ pnp31530

 

เนื้อหาน่าสนใจ

 

10 คะแนน ครับ

รูปภาพของ pnp31264

เนื้อหาดี

มีประโยชน์จ้าเนส

 

10ๆ

รูปภาพของ pnp31315

จำรูปแบบสวยงามจ๊ะ

มีประโยชน์

 

10จ้า

รูปภาพของ pnp31217

เนื้อหามีประโยชน์  รูปภาพเหมาะสม  เอาไปเลย  10 คะแนน 

รูปภาพของ pnp33659

เนื้อหาดีเข้าใจง่ายและมีประโยชน์ ให้ 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31495

เนื้อหาดีเข้าใจง่าย ให้ 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31329

เนื้อหาดี  ทำงานเรียนร้อยดี ให้ 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp33665

 รักความเป็นไทยดี^^

 อ่านง่าย  

10 คะแนน :)

รูปภาพของ pnp33669

เนื้อหาดี มีสาระ

 

ให้ 10

รูปภาพของ pnp31511

เนื้อหาเกี่ยวกับความเป็นไทย  มีสาระดี อ่านง่าย

 ให้ 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31311

เนื้อหาเรียบร้อยดี

เข้าใจง่าย

เอาไป 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp33672

เนื้อหาดีอะนะ  ทำงานเรียนร้อยดี

 เอาไปสัก 10

รูปภาพของ pnp31585

 เนื้อหาเข้าใจง่าย ต่อการอ่าน

มีความสวยงาม 10 คะแนนเอาไปเลย

รูปภาพของ pnp31153

รักความเป็นไทย

เนื้อหาน่าสนใจดี

10เลย

รูปภาพของ pnp31502

เนื้อหาเยอะดีคะ เข้าใจง่าย ให้ไปเลย 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31237

สวัสดีครับอาจารย์ที่เคารพ 

แจ่มครับ ชัดเจน

ให้ 10 คะแนน ครับ

 

รูปภาพของ pnp31243

ขนาดฟ้อนควรจะใหญ่อีกหน่อย จะได้อ่านง่าย

อ่านง่ายครับ

แบ่งเป็นตอนๆอย่างชัดเจน สุดยอดมากเลย

แบบนี้ต้อง 10 คะแนนแล้วครับ

ขอนั่งอ่านสักแปปครับ

 

รูปภาพของ pnp33607

เนื้อหาดี

ชัดเจน

น่าสนใจ

ให้ 10 คะแนนเต็มครับ

; )

 

 

S i R i U s Z . b a D z . V i r G i n .

______________________________ . L o v e ~ ♡

L a s t M o M e n t .

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 509 คน กำลังออนไลน์