• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6f00ebbb5d464b795138998ef5455a80' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<i><br />\n</i>\n</p>\n<p>\n<b>ประเภทของเพลงคลาสสิค</b></p>\n<p><b>ซิมโฟนี่ (Symphony)</b><br />\n&quot;ซิมโฟนี่&quot; คือ บทเพลงบรรเลงโดยวงดุริยางค์ขนาดใหญ่ ซึ่งมีเครื่องดนตรีครบทั้งสี่ประเภท คือ เครื่องสาย เครื่องลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง และเครื่องตี ซิมโฟนีถือกำเนิดมาในยุคคลาสสิกและเป็นบทเพลงที่ผู้ประพันธ์เพลงที่ยิ่งใหญ่ และมีชื่อเสียงทั้งหลายนิยมประพันธ์ ไม่ว่าจะเป็น ไฮเดิน (Haydn) โมซาร์ท (Mozart) เบโธเฟน(Beethoven) ไชคอฟสกี้ (Tchaikovsky) ซิมโฟนีเป็นบทเพลงที่บรรเลงโดยวงดุริยางค์ รูปแบบที่เห็นกันทุกวันนี้คือซิมโฟนีในยุคคลาสสิก ซึ่งได้พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 18 โดยกำเนิดมาจากรูปแบบอิตาเลียน โอเวอร์เจอร์ ที่เรียกว่า ซินโฟเนีย (sinfonia) ซึ่งเดิมเป็นบทเพลงที่มีสามท่อน (ท่อน = Movement) คือ เร็ว-ช้า-เร็ว ต่อมาได้มีการพัฒนาบทเพลงโอเวอร์เจอร์เพื่อใช้บรรเลงนำก่อนการแสดงอุปรากร ซึ่งเป็นบทเพลงที่บรรเลงด้วยวงดุริยางค์แต่เพียงอย่างเดียว แยกออกจากการแสดงอุปรากร จึงกลายเป็นบทเพลงประเภทใหม่ขึ้นมา ภายหลังได้มีการเพิ่มท่อนมินูเอ็ท (Minuet = ท่อนที่มีจังหวะคล้ายการเต้นรำ) เป็นท่อนที่สามขึ้นมาทำให้บทเพลงประเภทนี้มีสี่ท่อน รูปแบบซิมโฟนีที่สร้างขึ้นนี้ไฮเดินเป็นผู้มีส่วนพัฒนาอยู่มาก บางครั้งจึงมีผู้ขนานนามไฮเดินว่าเป็นบิดาแห่งซิมโฟนี ทั้งที่ซิมโฟนีมีมาก่อนหน้าไฮเดินแล้ว ไฮเดินประพันธ์บทเพลงซิมโฟนีไว้เป็นจำนวนเกินกว่า ๑๐๔ บท ผู้ประพันธ์ในยุคคลาสสิกคือโมซาร์ทได้ประพันธ์บทเพลงซิมโฟนีไว้เกินกว่า ๔๑ บท เบโธเฟนประพันธ์บทเพลงซิมโฟนีไว้ 9 บท หลังจากนั้นได้มีแนวคิดในการพัฒนารูปแบบจนทำให้ซิมโฟนีเป็นบทเพลงที่มีขนาดยาวมากขึ้น ใช้วงดุริยางค์ขนาดใหญ่ขึ้น ผู้ประพันธ์เพลงในยุคต่อมา ล้วนนิยมประพันธ์บทเพลงซิมโฟนีไว้เสมอ</p>\n<p><b>ออร์เคสตรา (Orchestra)</b><br />\n&quot;ออร์เคสตร้า&quot; เป็นภาษาเยอรมัน ตามความหมายรูปศัพท์ หมายถึงสถานที่เต้นรำ ซึ่งหมายถึง ส่วนหน้าของโรงละครสมัยกรีกโบราณ ที่ใช้เป็นที่เต้นรำและร้องเพลงของพวกนักร้องประสานเสียงสำหรับดนตรีตะวันตก ,ออร์เคสตรามีความหมายถึงวงซิมโฟนี ออร์เคสตรา คือ วงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย รวมกับเครื่องลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง และเครื่องตี ... ต่อมาในกลางศตวรรษที่ 18 คำว่า ออร์เคสตรา หมายถึง การแสดงของวงดนตรี ซึ่งเป็นความหมายที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามคำนี้ยังคงใช้ในอีกความหมายหนึ่ง คือ พื้นที่ระดับต่ำที่เป็นที่นั่งอยู่หน้าเวทีละคร และโรงแสดงคอนเสิร์ต ,ระยะต่อมาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อเริ่มกำหนดจำนวนเครื่องดนตรีลงในบทเพลง การพัฒนาวงออร์เคสตราจึงเริ่มมีขึ้น ซึ่งในระยะแรกเป็นลักษณะของวงเครื่องสาย (String Orchestra) ซึ่งมีจำนวนผู้เล่นประมาณ 10-25 คน โดยบางครั้งอาจจจะมีมากกว่านี้ตามความต้องการของผู้ประพันธ์เพลง ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 วงออร์เคสตรามีการเพิ่มเครื่องลมไม้ และตอนปลายของยุคบาโรค (ประมาณ ค.ศ. 1750) ผู้ประพันธ์เพลงนิยมบอกจำนวนเครื่องดนตรีไว้ในบทเพลงโดยละเอียด นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเครื่องลมทองเหลือง และเครื่องประกอบจังหวะในออร์เคสตราราวกลางศตวรรษที่ 18 วงออร์เคสตราเป็นรูปแบบขึ้นมาจนได้มาตรฐานในยุคนี้ คือ ยุคคลาสสิก ซึ่งเหตุผลประการหนึ่ง คือ บทเพลงประเภทซิมโฟนีเป็นรูปแบบขึ้นมาในยุคนี้ จึงทำให้ต้องมีการจัดวงออร์เคสตราให้มีมาตรฐาน เพื่อใช้เล่นเพลงซิมโฟนี นอกจากนี้การบรรเลงบทเพลงประเภทคอนแชร์โต้ อุปรากร และเพลงร้องเกี่ยวกับศาสนาก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การพัฒนาวงออร์เคสตราเป็นแบบแผนขึ้นแม้ว่าวงซิมโฟนีออร์เคสตราในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ยังคงมีบทบาทสำคัญในดนตรีตะวันตก ปัจจัยทางเศรษฐกิจก็มีส่วนในการกำหนดขนาดวงออร์เคสตรา หรือแนวทางการประพันธ์เพลงเพื่อใช้กับวงออร์เคสตรา แต่สิ่งนี้ก็มิได้กีดกั้นการสร้างสรรค์ผลงานประเภทที่ใช้วงออร์เคสตราของผู้ประพันธ์เพลงแต่อย่างใด</p>\n<p><b>อุปรากร (Opera)</b><br />\nหรือ โอเปร่า (Opera) เป็นการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด ถึงแม้ว่าอุปรากรจะมีความใกล้เคียงกับละครเวทีชนิดอื่นๆในเรื่องของฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ จะให้ความสำคัญของเพลง และ ดนตรีที่ประกอบการร้องเป็นอันดับหนึ่ง วงดนตรีที่ใช้นั้น อาจเป็นได้ตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดเต็ม อุปรากรถือกำเนิดขึ้นในคริสศตวรรษที่ 16 ในประเทศอิตาลี โดยอุปรากรมักจะมีความเกี่ยวข้องกับดนตรีคลาสสิกของตะวันตก นอกจากอุปรากรตะวันตกแล้ว มีการแสดงหลายชนิดที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน บางครั้งก็ใช้คำว่าอุปรากรด้วย เช่น อุปรากรจีน (งิ้ว) เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<b>คอนแชร์โต (Concerto)</b><br />\nคือ การเดี่ยวเครื่องดนตรีโดยใช้เทคนิคขั้นสูงประกอบกับวงดนตรี วงออร์เคสตร้าหรือวงดุริยางค์ โดยมีทั้งแบบคอนแชร์โตเดี่ยวและคอนแชร์โตกลุ่ม ตัวอย่าง เช่น ไวโอลินคอนแชร์โต หรือ เปียโนคอนแชร์โต เป็นต้น ,ผู้แสดงเดี่ยวเครื่องดนตรีนั้น ๆ จะเป็นผู้ที่มีความสามารถในเครื่องนั้นอย่างพิเศษ ส่วนมากจะได้รับการฝึกฝนตั้งแต่อายุน้อย ๆ ต่ำกว่า 10 ขวบ บุคคลเหล่านี้อาจจะเรียกได้ว่ามีพรสวรรค์ทางดนตรี เนื่องจากส่วนมากจะมีความเชี่ยวชาญจนสามารถบรรเลง Concerto ได้ตั้งแต่อายุไม่ถึง 15 16 เท่านั้น</p>\n<p><b>โซนาตา (Sonata)</b><br />\nโซนาตา เป็นเพลงที่แสดงการเดี่ยวเครื่องดนตรีชนิดใด ๆ ส่วนมากจะเป็นการบรรเลงไม่เกิน 3 ชิ้นดนตรี เช่น Piano sonata , Violin sonata , Sonata for Piano and Violin เป็นต้น ซึ่งชื่อของโซนาตาเพลงนั้นจะบอกถึงจำนวนชิ้นเครื่องดนตรี และจำนวนเครื่องดนตรีที่บรรเลง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b>แหล่งข้อมูลอ้างอิง :</b> <b><a href=\"http://www.mynavy.net/classical.html\">http://www.mynavy.net/classical.html</a></b>\n</p>\n', created = 1719999843, expire = 1720086243, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6f00ebbb5d464b795138998ef5455a80' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดนตรีคลาสสิก

รูปภาพของ pnp33607


ประเภทของเพลงคลาสสิค

ซิมโฟนี่ (Symphony)
"ซิมโฟนี่" คือ บทเพลงบรรเลงโดยวงดุริยางค์ขนาดใหญ่ ซึ่งมีเครื่องดนตรีครบทั้งสี่ประเภท คือ เครื่องสาย เครื่องลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง และเครื่องตี ซิมโฟนีถือกำเนิดมาในยุคคลาสสิกและเป็นบทเพลงที่ผู้ประพันธ์เพลงที่ยิ่งใหญ่ และมีชื่อเสียงทั้งหลายนิยมประพันธ์ ไม่ว่าจะเป็น ไฮเดิน (Haydn) โมซาร์ท (Mozart) เบโธเฟน(Beethoven) ไชคอฟสกี้ (Tchaikovsky) ซิมโฟนีเป็นบทเพลงที่บรรเลงโดยวงดุริยางค์ รูปแบบที่เห็นกันทุกวันนี้คือซิมโฟนีในยุคคลาสสิก ซึ่งได้พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 18 โดยกำเนิดมาจากรูปแบบอิตาเลียน โอเวอร์เจอร์ ที่เรียกว่า ซินโฟเนีย (sinfonia) ซึ่งเดิมเป็นบทเพลงที่มีสามท่อน (ท่อน = Movement) คือ เร็ว-ช้า-เร็ว ต่อมาได้มีการพัฒนาบทเพลงโอเวอร์เจอร์เพื่อใช้บรรเลงนำก่อนการแสดงอุปรากร ซึ่งเป็นบทเพลงที่บรรเลงด้วยวงดุริยางค์แต่เพียงอย่างเดียว แยกออกจากการแสดงอุปรากร จึงกลายเป็นบทเพลงประเภทใหม่ขึ้นมา ภายหลังได้มีการเพิ่มท่อนมินูเอ็ท (Minuet = ท่อนที่มีจังหวะคล้ายการเต้นรำ) เป็นท่อนที่สามขึ้นมาทำให้บทเพลงประเภทนี้มีสี่ท่อน รูปแบบซิมโฟนีที่สร้างขึ้นนี้ไฮเดินเป็นผู้มีส่วนพัฒนาอยู่มาก บางครั้งจึงมีผู้ขนานนามไฮเดินว่าเป็นบิดาแห่งซิมโฟนี ทั้งที่ซิมโฟนีมีมาก่อนหน้าไฮเดินแล้ว ไฮเดินประพันธ์บทเพลงซิมโฟนีไว้เป็นจำนวนเกินกว่า ๑๐๔ บท ผู้ประพันธ์ในยุคคลาสสิกคือโมซาร์ทได้ประพันธ์บทเพลงซิมโฟนีไว้เกินกว่า ๔๑ บท เบโธเฟนประพันธ์บทเพลงซิมโฟนีไว้ 9 บท หลังจากนั้นได้มีแนวคิดในการพัฒนารูปแบบจนทำให้ซิมโฟนีเป็นบทเพลงที่มีขนาดยาวมากขึ้น ใช้วงดุริยางค์ขนาดใหญ่ขึ้น ผู้ประพันธ์เพลงในยุคต่อมา ล้วนนิยมประพันธ์บทเพลงซิมโฟนีไว้เสมอ

ออร์เคสตรา (Orchestra)
"ออร์เคสตร้า" เป็นภาษาเยอรมัน ตามความหมายรูปศัพท์ หมายถึงสถานที่เต้นรำ ซึ่งหมายถึง ส่วนหน้าของโรงละครสมัยกรีกโบราณ ที่ใช้เป็นที่เต้นรำและร้องเพลงของพวกนักร้องประสานเสียงสำหรับดนตรีตะวันตก ,ออร์เคสตรามีความหมายถึงวงซิมโฟนี ออร์เคสตรา คือ วงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย รวมกับเครื่องลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง และเครื่องตี ... ต่อมาในกลางศตวรรษที่ 18 คำว่า ออร์เคสตรา หมายถึง การแสดงของวงดนตรี ซึ่งเป็นความหมายที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามคำนี้ยังคงใช้ในอีกความหมายหนึ่ง คือ พื้นที่ระดับต่ำที่เป็นที่นั่งอยู่หน้าเวทีละคร และโรงแสดงคอนเสิร์ต ,ระยะต่อมาในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อเริ่มกำหนดจำนวนเครื่องดนตรีลงในบทเพลง การพัฒนาวงออร์เคสตราจึงเริ่มมีขึ้น ซึ่งในระยะแรกเป็นลักษณะของวงเครื่องสาย (String Orchestra) ซึ่งมีจำนวนผู้เล่นประมาณ 10-25 คน โดยบางครั้งอาจจจะมีมากกว่านี้ตามความต้องการของผู้ประพันธ์เพลง ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 วงออร์เคสตรามีการเพิ่มเครื่องลมไม้ และตอนปลายของยุคบาโรค (ประมาณ ค.ศ. 1750) ผู้ประพันธ์เพลงนิยมบอกจำนวนเครื่องดนตรีไว้ในบทเพลงโดยละเอียด นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเครื่องลมทองเหลือง และเครื่องประกอบจังหวะในออร์เคสตราราวกลางศตวรรษที่ 18 วงออร์เคสตราเป็นรูปแบบขึ้นมาจนได้มาตรฐานในยุคนี้ คือ ยุคคลาสสิก ซึ่งเหตุผลประการหนึ่ง คือ บทเพลงประเภทซิมโฟนีเป็นรูปแบบขึ้นมาในยุคนี้ จึงทำให้ต้องมีการจัดวงออร์เคสตราให้มีมาตรฐาน เพื่อใช้เล่นเพลงซิมโฟนี นอกจากนี้การบรรเลงบทเพลงประเภทคอนแชร์โต้ อุปรากร และเพลงร้องเกี่ยวกับศาสนาก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การพัฒนาวงออร์เคสตราเป็นแบบแผนขึ้นแม้ว่าวงซิมโฟนีออร์เคสตราในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ยังคงมีบทบาทสำคัญในดนตรีตะวันตก ปัจจัยทางเศรษฐกิจก็มีส่วนในการกำหนดขนาดวงออร์เคสตรา หรือแนวทางการประพันธ์เพลงเพื่อใช้กับวงออร์เคสตรา แต่สิ่งนี้ก็มิได้กีดกั้นการสร้างสรรค์ผลงานประเภทที่ใช้วงออร์เคสตราของผู้ประพันธ์เพลงแต่อย่างใด

อุปรากร (Opera)
หรือ โอเปร่า (Opera) เป็นการแสดงบนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเป็นแบบละครที่ดำเนินโดยใช้ดนตรีเป็นหลักหรือทั้งหมด ถึงแม้ว่าอุปรากรจะมีความใกล้เคียงกับละครเวทีชนิดอื่นๆในเรื่องของฉาก การแสดง และเครื่องแต่งกาย สิ่งสำคัญที่แยกอุปรากรออกจากละครเวทีทั่วไป คือ จะให้ความสำคัญของเพลง และ ดนตรีที่ประกอบการร้องเป็นอันดับหนึ่ง วงดนตรีที่ใช้นั้น อาจเป็นได้ตั้งแต่วงดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออร์เคสตราขนาดเต็ม อุปรากรถือกำเนิดขึ้นในคริสศตวรรษที่ 16 ในประเทศอิตาลี โดยอุปรากรมักจะมีความเกี่ยวข้องกับดนตรีคลาสสิกของตะวันตก นอกจากอุปรากรตะวันตกแล้ว มีการแสดงหลายชนิดที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน บางครั้งก็ใช้คำว่าอุปรากรด้วย เช่น อุปรากรจีน (งิ้ว) เป็นต้น

คอนแชร์โต (Concerto)
คือ การเดี่ยวเครื่องดนตรีโดยใช้เทคนิคขั้นสูงประกอบกับวงดนตรี วงออร์เคสตร้าหรือวงดุริยางค์ โดยมีทั้งแบบคอนแชร์โตเดี่ยวและคอนแชร์โตกลุ่ม ตัวอย่าง เช่น ไวโอลินคอนแชร์โต หรือ เปียโนคอนแชร์โต เป็นต้น ,ผู้แสดงเดี่ยวเครื่องดนตรีนั้น ๆ จะเป็นผู้ที่มีความสามารถในเครื่องนั้นอย่างพิเศษ ส่วนมากจะได้รับการฝึกฝนตั้งแต่อายุน้อย ๆ ต่ำกว่า 10 ขวบ บุคคลเหล่านี้อาจจะเรียกได้ว่ามีพรสวรรค์ทางดนตรี เนื่องจากส่วนมากจะมีความเชี่ยวชาญจนสามารถบรรเลง Concerto ได้ตั้งแต่อายุไม่ถึง 15 16 เท่านั้น

โซนาตา (Sonata)
โซนาตา เป็นเพลงที่แสดงการเดี่ยวเครื่องดนตรีชนิดใด ๆ ส่วนมากจะเป็นการบรรเลงไม่เกิน 3 ชิ้นดนตรี เช่น Piano sonata , Violin sonata , Sonata for Piano and Violin เป็นต้น ซึ่งชื่อของโซนาตาเพลงนั้นจะบอกถึงจำนวนชิ้นเครื่องดนตรี และจำนวนเครื่องดนตรีที่บรรเลง

 

 

แหล่งข้อมูลอ้างอิง : http://www.mynavy.net/classical.html

รูปภาพของ pnp33607

เอ่ออ เพื่อน ๆ เปลี่ยนรูปหน้าแรกให้แล้วนะ

 

=  ='''  ขอโทษที่เอารูปที่ไม่เกี่ยวข้องมาลง 

 

S i R i U s Z . b a D z . V i r G i n .

 ______________________________ . L o v e ~ ♡

 L a s t M o M e n t .

รูปภาพของ pnp31311

เนื้อหาเรียบร้อยดี

เข้าใจง่าย

เอาไป 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp33672

ทำงานก็สวยดี  เรียนร้อย

แต่เสียอยู่อย่างเดียวรูปไม่เกี่ยวกันเลย

 

เอาไป9.5พอ

รูปภาพของ pnp31585

เนื้อหาเข้าใจง่าย

เอาไปเลย 10 คะแนน

รูปภาพของ pnp31153

โอเคเลย

เนื้อหากระชับ

^^

10โลดดดด

รูปภาพของ pnp31502

เนื้อหาเยอะดีคะ เข้าใจง่าย แต่ งง กับภาพหน้าแรก

แตก็ออกมาดูดีคะ ให้ 10 คะแนนเลย

รูปภาพของ pnp31237

สวัสดีอาจารย์ที่เคารพครับ

งานนี้ทำออกมาค่อนข้างดี เนื้อหาชัดเจน

เสียตรงรูปภาพไม่สวย หน้า1เลยครับ

 ให้ 10 คะแนน ครับ

รูปภาพของ pnp33662

เนื้อหาเกิน 100 บรรทัด

เกี่ยวข้องกับ 8กลุ่มสาระการเรียนรู้

 งานเรีย[ร้อย

เนื้อหาดี

แหล่งอ้างอิงถูกต้อง

 

ให้เต็ม 10 คะแนน ครับ .

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 397 คน กำลังออนไลน์