• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:27615ccbb08a3d587aa0fdd73cf13dcd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nพลังงานนิวเคลียร์\n</p>\n<p>\n<b>พลังงานนิวเคลียร์</b> เป็นพลังงานรูปแบบหนึ่ง ที่ได้จาก<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ปฏิกิริยานิวเคลียร์\" title=\"ปฏิกิริยานิวเคลียร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ปฏิกิริยานิวเคลียร์</span></u></a> <b>นิวเคลียร์</b> เป็นคำคุณศัพท์ของคำว่า <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/นิวเคลียส\" title=\"นิวเคลียส\"><u><span style=\"color: #0000ff\">นิวเคลียส</span></u></a> ซึ่งเป็นแก่นกลางของอะตอมธาตุ ซึ่งประกอบด้วย<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อนุภาค\" title=\"อนุภาค\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อนุภาค</span></u></a><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/โปรตอน\" title=\"โปรตอน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โปรตอน</span></u></a> และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/นิวตรอน\" title=\"นิวตรอน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">นิวตรอน</span></u></a> ซึ่งยึดกันได้ด้วยแรงของอนุภาค<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ไพออน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ไพออน</span></u></a>\n</p>\n<p>\n<b>พลังงานนิวเคลียร์</b> หมายถึง พลังงานไม่ว่าลักษณะใดๆก็ตาม ซึ่งเกิดจาก<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/นิวเคลียสอะตอม\" title=\"นิวเคลียสอะตอม\"><u><span style=\"color: #0000ff\">นิวเคลียสอะตอม</span></u></a>โดย\n</p>\n<ol>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิซชัน\" title=\"ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิซชัน\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พลังงานนิวเคลียร์แบบฟิซชั่น</span></u></a> (Fission) ซึ่งเกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียสธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม พลูโทเนียม เมื่อถูกชนด้วยนิวตรอนหรือโฟตอน </li>\n<li><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน\" title=\"ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พลังงานนิวเคลียร์แบบฟิวชั่น</span></u></a> (Fusion) เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสธาตุเบา เช่น ไฮโดรเจน </li>\n<li>พลังงานนิวเคลียร์ที่เกิดจากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี (Radioactivity) ซึ่งให้รังสีต่างๆ ออกมา เช่น อัลฟา เบตา แกมมา และนิวตรอน เป็นต้น </li>\n<li>พลังงานนิวเคลียร์ที่เกิดจากการเร่งอนุภาคที่มีประจุ (Particle Accelerator) เช่น อิเล็กตรอน โปรตอน ดิวทีรอน และอัลฟา เป็นต้น </li>\n</ol>\n<p>\n<b>พลังงานนิวเคลียร์</b> บางครั้งใช้แทนกันกับคำว่า <b>พลังงานปรมาณู</b> นอกจากนี้พลังงานนิวเคลียร์ยังครอบคลุมไปถึงพลังงานรังสีเอกซ์ด้วย (พ.ร.บ. พลังงานเพื่อสันติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2508) พลังงานนิวเคลียร์ สามารถปลดปล่อยออกมาเป็นพลังงานหลายรูปแบบ เช่น พลังงานความร้อน รังสีแกมมา อนุภาคเบต้า อนุภาคอัลฟา อนุภาคนิวตรอน เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<span id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4.E0.B8.A8.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B9.8C\" class=\"mw-headline\"></span>\n</p>\n<p>\n<span class=\"mw-headline\">ประวัติศาสตร์</span>\n</p>\n<p><span class=\"mw-headline\"></span></p>\n<p>\nภายหลัง <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สงครามโลกครั้งที่สอง\" title=\"สงครามโลกครั้งที่สอง\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สงครามโลกครั้งที่สอง</span></u></a> ที่อุบัติขึ้นในปี<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2482\" title=\"พ.ศ. 2482\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พุทธศักราช 2482</span></u></a> และสิ้นสุดลงในปี<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2488\" title=\"พ.ศ. 2488\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พุทธศักราช 2488</span></u></a> นั้น ญี่ปุ่นได้รับความเสียหายอย่างมาก จากการที่<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สหรัฐอเมริกา\" title=\"สหรัฐอเมริกา\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สหรัฐอเมริกา</span></u></a>ได้ใช้อาวุธแบบใหม่โจมตี<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประเทศญี่ปุ่น\" title=\"ประเทศญี่ปุ่น\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ญี่ปุ่น</span></u></a> โดยทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกลงที่เมือง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ฮิโรชิมา\" title=\"ฮิโรชิมา\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ฮิโรชิมา</span></u></a> ซึ่งเป็นฐานบัญชาการ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/กองทัพบก\" title=\"กองทัพบก\"><u><span style=\"color: #0000ff\">กองทัพบก</span></u></a>ของญี่ปุ่นทางตอนใต้ ประชาชนชาวญี่ปุ่นในเมืองดังกล่าวได้เสียชีวิตไป 80,000 คน และในจำนวนเท่าๆ กันได้รับบาดเจ็บ ตึกรามบ้านช่องกว่า 60% ได้ถูกทำลายลง ซึ่งรวมทั้งตึกที่ทำการของรัฐบาล ย่านธุรกิจ และย่านที่อยู่อาศัย และในอีกสามวันต่อมา ระเบิดปรมาณูลูกที่สองก็ถูกทิ้งลงที่เมือง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/นางาซากิ\" title=\"นางาซากิ\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">นางาซากิ</span></u></a> ซึ่งเป็นเมืองท่าชายทะเลมีโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก ชาวญี่ปุ่นได้เสียชีวิตระหว่าง 35,000 ถึง 40,000 คน และได้รับบาดเจ็บในจำนวนที่ไล่เลี่ยกัน จากความเสียหายอย่างมหันต์ในคราวนั้น ทำให้ญี่ปุ่นต้องยอมเซ็นสัญญาสันติภาพ ซึ่งระบุให้จักรพรรดิและรัฐบาลญี่ปุ่นอยู่ใต้การปกครองของผู้บัญชาการสูงสุดของทหารสัมพันธมิตร\n</p>\n<p>\nในปี<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2496\" title=\"พ.ศ. 2496\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พุทธศักราช 2496</span></u></a> <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ประธานาธิบดี\" title=\"ประธานาธิบดี\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ประธานาธิบดี</span></u></a>แห่ง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สหรัฐอเมริกา\" title=\"สหรัฐอเมริกา\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สหรัฐอเมริกา</span></u></a> ได้ประกาศริเริ่มดำเนินโครงการ <b>&quot;<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B4&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ปรมาณูเพื่อสันติ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ปรมาณูเพื่อสันติ</span></u></a>&quot;</b> ขึ้น และในอีกสองปีต่อมา <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/องค์การสหประชาชาติ\" title=\"องค์การสหประชาชาติ\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สหประชาชาติ</span></u></a>ได้จัดให้มีการประชุมขึ้นที่กรุง<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เจนีวา\" title=\"เจนีวา\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เจนีวา</span></u></a> มีนักวิทยาศาสตร์กว่า 4,000 คน จาก 73 ชาติ ได้เข้าร่วมประชุมและพิจารณาถึงการนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ในทางสันติ เพื่อแสดงให้ชาวโลกทราบว่า พลังงานนิวเคลียร์ที่ใครๆ เห็นว่าเป็นมหันตภัยร้ายแรงสำหรับมนุษย์นั้น อยู่ในวิสัยที่อาจจะควบคุม และนำมาใช้เป็นประโยชน์ได้เช่นกัน และโครงการนี้ได้กระตุ้นให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกก่อตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาด้านพลังงานนิวเคลียร์ขึ้นในประเทศของตน เพื่อนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ และช่วยการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B9.82.E0.B8.A2.E0.B8.8A.E0.B8.99.E0.B9.8C.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.9E.E0.B8.A5.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.87.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.99.E0.B8.B4.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.84.E0.B8.A5.E0.B8.B5.E0.B8.A2.E0.B8.A3.E0.B9.8C\" class=\"mw-headline\">ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์</span>\n</p>\n<p><span class=\"mw-headline\"></span></p>\n<p>\n<b>ด้านเกษตรกรรม</b> งานในด้านนี้ที่ประสบความสำเร็จมากคือ การวิจัยด้านการฉายรังสีอาหารโดยใช้รังสีแกมมาช่วยยืดอายุการเก็บของอาหารทั้งพืชผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยจะช่วยยับยั้งการงอกของพืชผัก ชะลอการสุกของผลไม้และช่วยทำลายแมลง พยาธิ หรือจุลินทรีย์ ในอาหารและผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งอำนวยประโยชน์ให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ถูกอนามัยปราศจากเชื้อโรคและพยาธิ ช่วยการถนอมอาหารและเก็บรักษาอาหารและพืชผลไว้บริโภคในช่วงฤดูกาลที่ขาดแคลนลดการนำเข้าจากต่างประเทศและเพิ่มรายได้ของประเทศโดยส่งเสริมการส่งออกของอาหารและผลิตผลการเกษตรจากการฉายรังสี\n</p>\n<p>\nนอกจากนี้ยังนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ในงานอื่นอีก เช่น ใช้วิเคราะห์ดินเพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูกหรือการใช้เทคนิคทางรังสีเพื่อศึกษาการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยโดยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หรือการนำเทคนิคดังกล่าวมาปรับปรุงพันธ์พืช และสัตว์ เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<b>ด้านการแพทย์</b> ปัจจุบันมีการนำเทคนิคด้านนิวเคลียร์มาใช้ในทางการแพทย์หลายด้าน เช่น ด้านการตรวจและวินิจฉัย โดยการใช้เทคนิค Radioimmunoassay (RIA) สำหรับตรวจวัดสารที่มีประมาณน้อยในร่างกาย หรือเทคนิคฉีดสารกัมมันตรังสีเข้าร่างกาย เพื่อหาตำแหน่งของอวัยวะที่เสียหน้าที่ และปัจจุบันสามารถตรวจดูรูปร่างและการทำงานของอวัยวะด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ซึ่งทันสมัยที่สุด ในด้านการบำบัดรักษาโดยเฉพาะโรคมะเร็งได้มีการใช้สารกัมมันตรังสีร่วมกับการใช้ยาหรือสารเคมีและการผ่าตัด นอกจากนี้ยังมีการใช้รังสีในการทำให้ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ปลอดเชื้อ หรือใช้รังสีในการเตรียมวัคซีนและแอนติเจนโดยยังคุณสมบัติของวัคซีนเอาไว้ และใช้รังสีหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเม็ดเลือดขาวในผลิตภัณฑ์เลือด เพื่อทำให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยในการรับและถ่ายเลือด เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<b>ด้านอุตสาหกรรม</b> ปัจจัยหลักที่จะทำให้อุตสาหกรรมก้าวหน้าไปได้ในสภาวะเศรษฐกิจของโลก ในขณะนี้ คือ การเพิ่มผลผลิต การควบคุมคุณภาพ และการลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวในปัจจุบันไทยได้นำเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาใช้ในการประกอบอุตสาหกรรมต่างๆ มากขึ้น เช่น การผลิตเส้นใยสังเคราะห์สำหรับทอผ้า การผลิตปูนซีเมนต์ ไม้อัดแผ่นเรียบ กระเบื้อง กระดาษ ผลิตภัณฑ์แก้ว เหล็ก หรือโลหะอุตสาหกรรมปิโตรเลียม และปิโตรเคมี การผลิตยางรถยนต์ การผลิตน้ำอัดลม การเปลี่ยนสีอัญมณี การควบคุมคุณภาพในการก่อสร้างถนน เป็นต้น โดยการใช้เทคนิคที่สำคัญคือ การตรวจสอบโดยไม่ทำลาย หรือการใช้รังสีเป็นสารติดตามและใช้เป็นระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<b>ด้านการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์</b> เช่น การวิเคราะห์ธาตุปริมาณน้อยและสารพิษในสิ่งแวดล้อม การศึกษาอายุของวัตถุโบราณ ศึกษาวัฏจักรหรือวงชีวิตของพืชและสัตว์บางชนิด การศึกษาการเคลื่อนที่ของน้ำใต้ดินและน้ำผิวดิน ศึกษาแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ ศึกษาการสะสมการเคลื่อนที่ของตะกอนในเขื่อน แม่น้ำ ลำคลอง และแหล่งน้ำต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการใช้รังสีเพื่อการกำจัดน้ำเสีย การผลิตปุ๋ยธรรมชาติ การพัฒนาที่ดินทางการเกษตร กิจกรรมทางป่าไม้และอุทกวิทยา เป็นต้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span id=\".E0.B8.AD.E0.B8.B1.E0.B8.99.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B8.B2.E0.B8.A2.E0.B9.81.E0.B8.A5.E0.B8.B0.E0.B8.84.E0.B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B9.80.E0.B8.AA.E0.B8.B5.E0.B9.88.E0.B8.A2.E0.B8.87\" class=\"mw-headline\">อันตรายและความเสี่ยง</span>\n</p>\n<p><span class=\"mw-headline\"></span></p>\n<p>\nการทำงานที่เกี่ยวข้องกับสารกัมมันตภาพรังสีเป็นเวลานานอาจทำให้เนื้อเยื่อบางส่วนของร่างกายเสียหาย หรือก่อให้เกิดมะเร็งในส่วนต่างๆของร่ายกายได้ อาทิเช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาว และยังทำให้ผู้ที่ได้รับมีความผิดปกติทางเซลล์พันธุกรรมเช่น สัตว์เกิดไม่มีแขน ไม่มีขา ไม่มีตา ไม่มีสมอง และยังทำลายคนที่ไม่รู้วิธีป้องกันป่วยลง แต่อันตรายจากรังสีในปัจจุบันที่ได้รับมากที่สุดคือ ถ่านไฟฉายแต่จะเป็นรังสีจากโคบอล 60 ซึ่งมีวิธีการคือ อย่าแกะสังกสีออก และใช้แล้วควรทิ้งทันที โดยทั่วไปรังสีที่เจอเป็นอันดับ2คือ รังสีเอกซ์ตามโรงพยาบาลในห้องเอกซ์เรย์ ซึ่งจะมีป้ายเตือนไว้หน้าห้องแล้ว และไม่ควรที่จะเข้าใกล้มากนัก หากพบว่ามีวัตถุที่แผ่รังสี ควรที่จะหลีกไป แล้วแจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกียวข้อง หากไม่แน่ใจก็ให้สอบถามผู้รู้เช่น ครูโรงเรียนมัธยม หรือเจ้าหน้าที\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"286\" src=\"http://std.kku.ac.th/4830410330/assignment2_Neuclear_powerplant/images/nn.jpg\" height=\"319\" style=\"width: 218px; height: 139px\" /><img width=\"209\" src=\"http://std.kku.ac.th/5130406300/wer_clip_image001.jpg\" height=\"140\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nแหล่งอ้างอิง\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B9%8C</a>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1729557339, expire = 1729643739, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:27615ccbb08a3d587aa0fdd73cf13dcd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:57bbadaf8df0446af5a8b99eef098aa1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nครูวิรัช แม้ไม่อาจเทียบ 1 ใน ล้าน ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป ไม่มีวันท้อ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nเนื้อหามากไป ลายตา ควรวางให้มีรูปแทรกบ้างจะได้สวยงาม\n</p>\n', created = 1729557339, expire = 1729643739, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:57bbadaf8df0446af5a8b99eef098aa1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พลังงานนิวเคลียร์

พลังงานนิวเคลียร์

พลังงานนิวเคลียร์ เป็นพลังงานรูปแบบหนึ่ง ที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ นิวเคลียร์ เป็นคำคุณศัพท์ของคำว่า นิวเคลียส ซึ่งเป็นแก่นกลางของอะตอมธาตุ ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน และนิวตรอน ซึ่งยึดกันได้ด้วยแรงของอนุภาคไพออน

พลังงานนิวเคลียร์ หมายถึง พลังงานไม่ว่าลักษณะใดๆก็ตาม ซึ่งเกิดจากนิวเคลียสอะตอมโดย

  1. พลังงานนิวเคลียร์แบบฟิซชั่น (Fission) ซึ่งเกิดจากการแตกตัวของนิวเคลียสธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม พลูโทเนียม เมื่อถูกชนด้วยนิวตรอนหรือโฟตอน
  2. พลังงานนิวเคลียร์แบบฟิวชั่น (Fusion) เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสธาตุเบา เช่น ไฮโดรเจน
  3. พลังงานนิวเคลียร์ที่เกิดจากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี (Radioactivity) ซึ่งให้รังสีต่างๆ ออกมา เช่น อัลฟา เบตา แกมมา และนิวตรอน เป็นต้น
  4. พลังงานนิวเคลียร์ที่เกิดจากการเร่งอนุภาคที่มีประจุ (Particle Accelerator) เช่น อิเล็กตรอน โปรตอน ดิวทีรอน และอัลฟา เป็นต้น

พลังงานนิวเคลียร์ บางครั้งใช้แทนกันกับคำว่า พลังงานปรมาณู นอกจากนี้พลังงานนิวเคลียร์ยังครอบคลุมไปถึงพลังงานรังสีเอกซ์ด้วย (พ.ร.บ. พลังงานเพื่อสันติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2508) พลังงานนิวเคลียร์ สามารถปลดปล่อยออกมาเป็นพลังงานหลายรูปแบบ เช่น พลังงานความร้อน รังสีแกมมา อนุภาคเบต้า อนุภาคอัลฟา อนุภาคนิวตรอน เป็นต้น

ประวัติศาสตร์

ภายหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง ที่อุบัติขึ้นในปีพุทธศักราช 2482 และสิ้นสุดลงในปีพุทธศักราช 2488 นั้น ญี่ปุ่นได้รับความเสียหายอย่างมาก จากการที่สหรัฐอเมริกาได้ใช้อาวุธแบบใหม่โจมตีญี่ปุ่น โดยทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกลงที่เมืองฮิโรชิมา ซึ่งเป็นฐานบัญชาการกองทัพบกของญี่ปุ่นทางตอนใต้ ประชาชนชาวญี่ปุ่นในเมืองดังกล่าวได้เสียชีวิตไป 80,000 คน และในจำนวนเท่าๆ กันได้รับบาดเจ็บ ตึกรามบ้านช่องกว่า 60% ได้ถูกทำลายลง ซึ่งรวมทั้งตึกที่ทำการของรัฐบาล ย่านธุรกิจ และย่านที่อยู่อาศัย และในอีกสามวันต่อมา ระเบิดปรมาณูลูกที่สองก็ถูกทิ้งลงที่เมืองนางาซากิ ซึ่งเป็นเมืองท่าชายทะเลมีโรงงานอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก ชาวญี่ปุ่นได้เสียชีวิตระหว่าง 35,000 ถึง 40,000 คน และได้รับบาดเจ็บในจำนวนที่ไล่เลี่ยกัน จากความเสียหายอย่างมหันต์ในคราวนั้น ทำให้ญี่ปุ่นต้องยอมเซ็นสัญญาสันติภาพ ซึ่งระบุให้จักรพรรดิและรัฐบาลญี่ปุ่นอยู่ใต้การปกครองของผู้บัญชาการสูงสุดของทหารสัมพันธมิตร

ในปีพุทธศักราช 2496 ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ได้ประกาศริเริ่มดำเนินโครงการ "ปรมาณูเพื่อสันติ" ขึ้น และในอีกสองปีต่อมา สหประชาชาติได้จัดให้มีการประชุมขึ้นที่กรุงเจนีวา มีนักวิทยาศาสตร์กว่า 4,000 คน จาก 73 ชาติ ได้เข้าร่วมประชุมและพิจารณาถึงการนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ในทางสันติ เพื่อแสดงให้ชาวโลกทราบว่า พลังงานนิวเคลียร์ที่ใครๆ เห็นว่าเป็นมหันตภัยร้ายแรงสำหรับมนุษย์นั้น อยู่ในวิสัยที่อาจจะควบคุม และนำมาใช้เป็นประโยชน์ได้เช่นกัน และโครงการนี้ได้กระตุ้นให้ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกก่อตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาด้านพลังงานนิวเคลียร์ขึ้นในประเทศของตน เพื่อนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ในทางสันติ และช่วยการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ

 

ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์

ด้านเกษตรกรรม งานในด้านนี้ที่ประสบความสำเร็จมากคือ การวิจัยด้านการฉายรังสีอาหารโดยใช้รังสีแกมมาช่วยยืดอายุการเก็บของอาหารทั้งพืชผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยจะช่วยยับยั้งการงอกของพืชผัก ชะลอการสุกของผลไม้และช่วยทำลายแมลง พยาธิ หรือจุลินทรีย์ ในอาหารและผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งอำนวยประโยชน์ให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ถูกอนามัยปราศจากเชื้อโรคและพยาธิ ช่วยการถนอมอาหารและเก็บรักษาอาหารและพืชผลไว้บริโภคในช่วงฤดูกาลที่ขาดแคลนลดการนำเข้าจากต่างประเทศและเพิ่มรายได้ของประเทศโดยส่งเสริมการส่งออกของอาหารและผลิตผลการเกษตรจากการฉายรังสี

นอกจากนี้ยังนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ในงานอื่นอีก เช่น ใช้วิเคราะห์ดินเพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูกหรือการใช้เทคนิคทางรังสีเพื่อศึกษาการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยโดยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หรือการนำเทคนิคดังกล่าวมาปรับปรุงพันธ์พืช และสัตว์ เป็นต้น

ด้านการแพทย์ ปัจจุบันมีการนำเทคนิคด้านนิวเคลียร์มาใช้ในทางการแพทย์หลายด้าน เช่น ด้านการตรวจและวินิจฉัย โดยการใช้เทคนิค Radioimmunoassay (RIA) สำหรับตรวจวัดสารที่มีประมาณน้อยในร่างกาย หรือเทคนิคฉีดสารกัมมันตรังสีเข้าร่างกาย เพื่อหาตำแหน่งของอวัยวะที่เสียหน้าที่ และปัจจุบันสามารถตรวจดูรูปร่างและการทำงานของอวัยวะด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ซึ่งทันสมัยที่สุด ในด้านการบำบัดรักษาโดยเฉพาะโรคมะเร็งได้มีการใช้สารกัมมันตรังสีร่วมกับการใช้ยาหรือสารเคมีและการผ่าตัด นอกจากนี้ยังมีการใช้รังสีในการทำให้ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ปลอดเชื้อ หรือใช้รังสีในการเตรียมวัคซีนและแอนติเจนโดยยังคุณสมบัติของวัคซีนเอาไว้ และใช้รังสีหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเม็ดเลือดขาวในผลิตภัณฑ์เลือด เพื่อทำให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยในการรับและถ่ายเลือด เป็นต้น

ด้านอุตสาหกรรม ปัจจัยหลักที่จะทำให้อุตสาหกรรมก้าวหน้าไปได้ในสภาวะเศรษฐกิจของโลก ในขณะนี้ คือ การเพิ่มผลผลิต การควบคุมคุณภาพ และการลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวในปัจจุบันไทยได้นำเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาใช้ในการประกอบอุตสาหกรรมต่างๆ มากขึ้น เช่น การผลิตเส้นใยสังเคราะห์สำหรับทอผ้า การผลิตปูนซีเมนต์ ไม้อัดแผ่นเรียบ กระเบื้อง กระดาษ ผลิตภัณฑ์แก้ว เหล็ก หรือโลหะอุตสาหกรรมปิโตรเลียม และปิโตรเคมี การผลิตยางรถยนต์ การผลิตน้ำอัดลม การเปลี่ยนสีอัญมณี การควบคุมคุณภาพในการก่อสร้างถนน เป็นต้น โดยการใช้เทคนิคที่สำคัญคือ การตรวจสอบโดยไม่ทำลาย หรือการใช้รังสีเป็นสารติดตามและใช้เป็นระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น

ด้านการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เช่น การวิเคราะห์ธาตุปริมาณน้อยและสารพิษในสิ่งแวดล้อม การศึกษาอายุของวัตถุโบราณ ศึกษาวัฏจักรหรือวงชีวิตของพืชและสัตว์บางชนิด การศึกษาการเคลื่อนที่ของน้ำใต้ดินและน้ำผิวดิน ศึกษาแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ ศึกษาการสะสมการเคลื่อนที่ของตะกอนในเขื่อน แม่น้ำ ลำคลอง และแหล่งน้ำต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการใช้รังสีเพื่อการกำจัดน้ำเสีย การผลิตปุ๋ยธรรมชาติ การพัฒนาที่ดินทางการเกษตร กิจกรรมทางป่าไม้และอุทกวิทยา เป็นต้น

 

อันตรายและความเสี่ยง

การทำงานที่เกี่ยวข้องกับสารกัมมันตภาพรังสีเป็นเวลานานอาจทำให้เนื้อเยื่อบางส่วนของร่างกายเสียหาย หรือก่อให้เกิดมะเร็งในส่วนต่างๆของร่ายกายได้ อาทิเช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาว และยังทำให้ผู้ที่ได้รับมีความผิดปกติทางเซลล์พันธุกรรมเช่น สัตว์เกิดไม่มีแขน ไม่มีขา ไม่มีตา ไม่มีสมอง และยังทำลายคนที่ไม่รู้วิธีป้องกันป่วยลง แต่อันตรายจากรังสีในปัจจุบันที่ได้รับมากที่สุดคือ ถ่านไฟฉายแต่จะเป็นรังสีจากโคบอล 60 ซึ่งมีวิธีการคือ อย่าแกะสังกสีออก และใช้แล้วควรทิ้งทันที โดยทั่วไปรังสีที่เจอเป็นอันดับ2คือ รังสีเอกซ์ตามโรงพยาบาลในห้องเอกซ์เรย์ ซึ่งจะมีป้ายเตือนไว้หน้าห้องแล้ว และไม่ควรที่จะเข้าใกล้มากนัก หากพบว่ามีวัตถุที่แผ่รังสี ควรที่จะหลีกไป แล้วแจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกียวข้อง หากไม่แน่ใจก็ให้สอบถามผู้รู้เช่น ครูโรงเรียนมัธยม หรือเจ้าหน้าที

 

 

แหล่งอ้างอิง

รูปภาพของ virat

ครูวิรัช แม้ไม่อาจเทียบ 1 ใน ล้าน ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป ไม่มีวันท้อ

 

เนื้อหามากไป ลายตา ควรวางให้มีรูปแทรกบ้างจะได้สวยงาม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 497 คน กำลังออนไลน์