• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:740bdf2aa7b402061043b571005e07b6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000\">    <span style=\"color: #ff0000\">  1. พลังงานความร้อน</span> </span><span style=\"color: #000000\">เป็นพลังงานที่สามารถถ่ยเทจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้  อันเนื่องมาจากการเปรื่อนแปลงของอุณหภูมิ  เมื่อวัตถุดูดกลืนพลังงานความร้อนจะทำให้วัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นจึงเกิดการถ่ายเทพลังงานความร้อนให้กับวัตถุอื่นที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">   </span><span style=\"color: #ff0000\">  <span style=\"color: #ff0000\"> 1.1. พลังงานความร้อนกับอุณหภูมิ</span> </span><span style=\"color: #000000\">  ระดับความร้อนในเนื่ออวัตถุทราบได้จากการวัดเทอร์มอมิเตอร์ซึ่งมีอยู่หลายแบบด้วยกัน  </span><span style=\"color: #ff0000\">     <span style=\"color: #ff0000\">1.1.1. เทอร์มอมิเตอร์     </span></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">1.1.2.  การเปลื่อนหน่วยอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์     1.1.3.  การใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">     <span style=\"color: #ff0000\">1.2.  พลังงานความร้อนกับการเปลี่อยสถานะของ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">สาร</span> </span>   ตามปกติเมื่อได้รับพลังงานความร้อน  อุณหภูมิของสารนั้นจะเพิ่มขึ้นสารที่ได้รับพลังงานความร้อนมากจะมีอุณหภูมิสูงกว่าสารที่ได้รับพลังงานน้อย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">1.2.1.  ประโยชน์จากการเปลี่ยนสถานะของสาร</span>    </span><span style=\"color: #000000\">ทำให้เกิดวัฏจักรของน้ำ  น้ำจึงไม่หมดไปจากธรรมชาติ  และเป็นประโยชน์ต่อดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่างๆ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">    <span style=\"color: #ff0000\">  2.  การถ่ายโอนพลังงานความร้อน</span>  เป็นการถ่ายเทพลังานระหว่าง 2 บริเวณที่มีอุณหภูมิแตงต่างกันด้วย การนำความร้อน  การพาความร้อน  และการแผ่รังสีความร้อน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">2.1.   การนำความร้อน</span></span>    เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนด้วยการที่พลังงานความร้อนเครื่อนที่ผ่านวัตถุ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">2.2 .   การพาความร้อน</span></span>    เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนที่ต้องอาศัยตัวกลางโดยอาศัยตัวกลางเป็นตัวพาความร้อน   เช่น   ในการต้มน้ำ    เป็นต้น<a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://spic.uploadd.com/2032/D75/small/20B4F7D78AEGM8LT2IEDLDCNVMUU6Hgreenhouse_effect_1.jpg&amp;imgrefurl=http://theenergy.biz/forum/index.php%3Ftopic%3D23.0&amp;usg=__sSPahf_rvkDWlqBI_8XOM371JDs=&amp;h=298&amp;w=400&amp;sz=26&amp;hl=th&amp;start=11&amp;um=1&amp;tbnid=NjQr0bTfttse4M:&amp;tbnh=92&amp;tbnw=124&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2599%26hl%3Dth%26sa%3DN%26um%3D1\" id=\"apf10\"><img width=\"124\" src=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:NjQr0bTfttse4M%3Ahttp://spic.uploadd.com/2032/D75/small/20B4F7D78AEGM8LT2IEDLDCNVMUU6Hgreenhouse_effect_1.jpg\" height=\"92\" style=\"vertical-align: bottom; width: 213px; height: 175px; border: 1px solid\" id=\"ipfNjQr0bTfttse4M:\" /></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\">  <span style=\"color: #ff0000\">   2.3.   การแผ่รังสีความร้อน</span></span>   เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนจากบริเวณที่ร้อนกว่าไปยังบิเวณที่เย็นกว่าได้ดดยไม่ต้องมีตัวกลาง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">   <span style=\"color: #ff0000\"> <span style=\"color: #ff0000\"> 3.  สมดุลความร้อน</span></span>   เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนจากวัตถุที่มีพลังงานความร้อนภายในสูงให้กับวัตถุที่มีพลังงานความร้อนภายในต่ำกว่า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">     <span style=\"color: #ff0000\">3.1.  <span style=\"color: #ff0000\">พลังงานความร้อนกับการขยายตัวของวัตถุ</span></span>    เมื่อวัตถุได้รับพลังงานความร้อนจะขยายตัวออกได้  และเมื่วัตถุคายความร้อนจะหดตัวได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">    <span style=\"color: #ff0000\"> <span style=\"color: #ff0000\">3. การดูดกลืนแสงและคายความร้อนของวัตถุ</span></span>    การแผ่รังสีความร้อนก่อให้เกิดพลังงานรังสีความร้อนเป็นส่วนใหญ่ที่เรียกว่ารังสีอินฟราเรด  เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n    \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://spic.uploadd.com/2032/D75/small/20B4F7D78AEGM8LT2IEDLDCNVMUU6Hgreenhouse_effect_1.jpg&amp;imgrefurl=http://theenergy.biz/forum/index.php%3Ftopic%3D23.0&amp;usg=__sSPahf_rvkDWlqBI_8XOM371JDs=&amp;h=298&amp;w=400&amp;sz=26&amp;hl=th&amp;start=11&amp;um=1&amp;tbnid=NjQr0bTfttse4M:&amp;tbnh=92&amp;tbnw=124&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2599%26hl%3Dth%26sa%3DN%26um%3D1\" id=\"apf10\"></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n', created = 1729411599, expire = 1729497999, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:740bdf2aa7b402061043b571005e07b6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มารู้เรื่องพลังงานความร้อนกันเถอะ

      1. พลังงานความร้อน เป็นพลังงานที่สามารถถ่ยเทจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้  อันเนื่องมาจากการเปรื่อนแปลงของอุณหภูมิ  เมื่อวัตถุดูดกลืนพลังงานความร้อนจะทำให้วัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้นจึงเกิดการถ่ายเทพลังงานความร้อนให้กับวัตถุอื่นที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า

      1.1. พลังงานความร้อนกับอุณหภูมิ   ระดับความร้อนในเนื่ออวัตถุทราบได้จากการวัดเทอร์มอมิเตอร์ซึ่งมีอยู่หลายแบบด้วยกัน       1.1.1. เทอร์มอมิเตอร์     1.1.2.  การเปลื่อนหน่วยอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์     1.1.3.  การใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิ

     1.2.  พลังงานความร้อนกับการเปลี่อยสถานะของสาร    ตามปกติเมื่อได้รับพลังงานความร้อน  อุณหภูมิของสารนั้นจะเพิ่มขึ้นสารที่ได้รับพลังงานความร้อนมากจะมีอุณหภูมิสูงกว่าสารที่ได้รับพลังงานน้อย

1.2.1.  ประโยชน์จากการเปลี่ยนสถานะของสาร    ทำให้เกิดวัฏจักรของน้ำ  น้ำจึงไม่หมดไปจากธรรมชาติ  และเป็นประโยชน์ต่อดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่างๆ

      2.  การถ่ายโอนพลังงานความร้อน  เป็นการถ่ายเทพลังานระหว่าง 2 บริเวณที่มีอุณหภูมิแตงต่างกันด้วย การนำความร้อน  การพาความร้อน  และการแผ่รังสีความร้อน

2.1.   การนำความร้อน    เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนด้วยการที่พลังงานความร้อนเครื่อนที่ผ่านวัตถุ

2.2 .   การพาความร้อน    เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนที่ต้องอาศัยตัวกลางโดยอาศัยตัวกลางเป็นตัวพาความร้อน   เช่น   ในการต้มน้ำ    เป็นต้น

     2.3.   การแผ่รังสีความร้อน   เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนจากบริเวณที่ร้อนกว่าไปยังบิเวณที่เย็นกว่าได้ดดยไม่ต้องมีตัวกลาง

     3.  สมดุลความร้อน   เป็นการถ่ายโอนพลังงานความร้อนจากวัตถุที่มีพลังงานความร้อนภายในสูงให้กับวัตถุที่มีพลังงานความร้อนภายในต่ำกว่า

     3.1.  พลังงานความร้อนกับการขยายตัวของวัตถุ    เมื่อวัตถุได้รับพลังงานความร้อนจะขยายตัวออกได้  และเมื่วัตถุคายความร้อนจะหดตัวได้

     3. การดูดกลืนแสงและคายความร้อนของวัตถุ    การแผ่รังสีความร้อนก่อให้เกิดพลังงานรังสีความร้อนเป็นส่วนใหญ่ที่เรียกว่ารังสีอินฟราเรด  เป็นต้น

    

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 422 คน กำลังออนไลน์