• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4e4006c5214eb7d9eee581000065a9c2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"> ความเร็วแสง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">นักฟิสิกส์ได้รู้มานานกว่าหนึ่งศตวรรษแล้วว่า แสงที่เราเห็นด้วยตาเปล่านั้นเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ถึงแม้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะมีหลายชนิด เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด รังสีอัลตราไวโอเล็ต รังสีเอ็กซ์ และรังสีแกมมา แต่รังสีทุกชนิดก็มีความเร็ว ในสุญญากาศเท่ากันหมด ซึ่งเรียกว่าความเร็วแสง </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">C = 299,792.458 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร/วินาที</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">การทดลองของ </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">Michelson <span lang=\"TH\">และ </span>Morley <span lang=\"TH\">เมื่อ </span>119 <span lang=\"TH\">ปีก่อนนี้ ได้ยืนยันอย่างมั่นเหมาะว่า ไม่ว่าแหล่งกำเนิดแสงหรือคนดูแสง จะมีสภาพการเคลื่อนที่เร็วช้าอย่างไร ความเร็วแสงที่คนดูแสงวัดได้จะตรงกันหมดคือ</span> 299,792.458 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร/วินาที ทุกครั้งไป ความจริงที่ได้จากการทดลองนี้ ได้ชี้นำให้</span> Einstein <span lang=\"TH\">สร้างทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ (</span>Theory of Relativity) <span lang=\"TH\">ขึ้นมา และหนึ่งใน คำพยากรณ์ที่ได้จากทฤษฎีนี้คือ ความเร็วของอนุภาคและพลังงานในการเคลื่อนที่จากสถานที่หนึ่งไปยังสถานที่อื่นๆ จะไม่มีวันเร็วกว่าแสง</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">แต่ถ้าแสงเดินทางในสสารเช่น อากาศ น้ำ หรือแก้ว เพราะเหตุว่าความเร็วแสงในตัวกลางเหล่านี้ขึ้นกับความยาวคลื่นของแสง ดังนั้น แสงแต่ละสีจะมีความเร็วไม่เท่ากัน เมื่อความเร็วเป็นเช่นนี้ ในการกล่าวถึงความเร็วแสงในตัวกลาง เราจึงต้องพิจารณาความเร็ว สองรูปแบบคือ ความเร็วคลื่น (</span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">wave velocity) <span lang=\"TH\">และความเร็วกลุ่ม (</span>group velocity) <span lang=\"TH\">ซึ่งความเร็วคลื่นคือ ความเร็วของเหล่าคลื่น ที่มีความยาวคลื่นเท่ากันหมด ซึ่งขณะอยู่ในตัวกลาง มันจะมีความเร็วน้อยกว่าความเร็วแสงในสุญญากาศคือ มีค่าเท่ากับ </span>c/n <span lang=\"TH\">เมื่อ </span>c <span lang=\"TH\">คือความเร็วแสงในสุญญากาศและ </span>n <span lang=\"TH\">คือดัชนีหักเหของตัวกลาง ซึ่งตามปกติจะมีค่ามากกว่า - </span>1 <span lang=\"TH\">เช่นแสงสีแดงมีความเร็วมากกว่าแสง สีน้ำเงิน ดังนั้น เวลาแสงทั้งสองเดินทางในแก้ว (ในสุญญากาศ แสงทั้งสองสีมีความเร็ว </span>c <span lang=\"TH\">เท่ากัน) แสงสีแดงจะเดินทางได้ไกลกว่าแสง สีน้ำเงินในเวลาที่เท่ากัน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">ส่วนความเร็วกลุ่มคือความเร็วของเหล่าคลื่นที่ประกอบด้วยคลื่นต่างๆ ที่มีความยาวคลื่นแตกต่างกัน ความเร็วกลุ่มจึงเป็นความเร็วของ พลังงานแสงที่ถูกส่งผ่านไปในตัวกลาง</span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">ในสุญญากาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ความเร็วคลื่นและความเร็วกลุ่มของคลื่นจะเท่ากัน คือต่างก็เท่ากับ </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">c <span lang=\"TH\">แต่ในตัวกลาง ความเร็วสอง รูปแบบนี้จะแตกต่างกันเช่น เมื่ออยู่ในอากาศ ความเร็วกลุ่มของแสงจะต่ำกว่าความเร็วคลื่นของแสงเล็กน้อย หรือในของเหลว </span>carbon disulfide <span lang=\"TH\">แล้วมีความเร็วกลุ่ม = </span>170,503.408 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร / วินาที ในขณะที่ความเร็วคลื่น = </span>182,800.279 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร/วินาที เป็นต้น ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าในกรณีนี้ ความเร็วคลื่นของแสงสูงกว่าความเร็วกลุ่มของแสงเล็กน้อย และในสารบางชนิดเช่น ควอทซ์</span> (quartz) <span lang=\"TH\">ความเร็ววัดคลื่นของแสงอินฟราเรด อาจมากกว่าความเร็วแสงในสุญญากาศได้ แต่ความเร็วกลุ่มของแสงอินฟราเรดก็ยังต่ำกว่า ความเร็วแสงในสุญญากาศอยู่ดี และเมื่อพลังงานแสงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วกลุ่ม ดังนั้น ถ้อยแถลงของ </span>Einstein <span lang=\"TH\">ที่ห้ามความเร็วของ พลังงานว่าต้องไม่สูงกว่าความเร็วแสง จึงยังคงใช้ได้ต่อไป</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">ความก้าวหน้าในการศึกษาความเร็วแสงในตัวกลางต่างๆ ได้ทำให้นักฟิสิกส์พบว่า ในตัวกลางบางชนิดที่สามารถดูดกลืนแสงได้ หากเราปล่อยให้แสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางดังกล่าวนี้ ความเร็วกลุ่มของแสงในตัวกลางอาจสูงกว่าความเร็วแสงในสุญญากาศได้ แต่ในสถานการณ์เช่นนี้ นักฟิสิกส์ไม่สามารถจะกล่าวได้ว่าความเร็วกลุ่มของแสงคือ ความเร็วในการเคลื่อนที่ของพลังงานแสงได้อีกต่อไป</span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">นักวิทยาศาสตร์คนแรกที่ได้ทำการทดลองวัดความเร็วของแสงคือ </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">Galileo <span lang=\"TH\">เมื่อประมาณ</span> 400 <span lang=\"TH\">ปีมาแล้ว โดยเขาให้คนสองคนถือ ตะเกียงยืนบนยอดเขาสูงที่อยู่ห่างกันประมาณ </span>10 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร และสั่งให้คนทั้งสองปิดและเปิดตะเกียงส่งแสงสู่กันเป็นจังหวะทันที ที่เห็นแสงจากอีกฝ่ายหนึ่ง การรู้เวลาที่แสงเดินทางเพราะระยะทางระหว่างภูเขาจะทำให้</span> Galileo <span lang=\"TH\">สามารถคำนวณความเร็วแสงได้ ผลปรากฏว่าการทดลองล้มเหลว เพราะคนทั้งสองรายงานว่าได้เห็นแสงไฟแล้วอีกนาน ประสาทความรู้สึกของเขาจึงสั่งให้เขาส่ง สัญญาณต่อไป การที่เป็นเช่นนี้เพราะแสงใช้เวลาเพียง </span>0.00002 <span lang=\"TH\">วินาที ในการเดินทางระหว่างยอดเขาทั้งสอง แต่ชายแต่ละคน ต้องใช้เวลานานถึง </span>0.5 <span lang=\"TH\">วินาที ในการรับรู้ว่าเห็นแสงแล้ว ช่วงเวลาที่แตกต่างกันถึง </span>25,000 <span lang=\"TH\">นี้ ทำให้วิธีการวัดความเร็วแสงของ </span>Galileo <span lang=\"TH\">ล้มเหลว และ </span>Galileo <span lang=\"TH\">ก็ได้สรุปรายงานการทดลองของเขาว่าแสงมีความเร็วสูงเกินที่เขาจะวัดได้</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">เมื่อความเร็วแสงมีค่ามากเช่นนี้ จึงไม่น่าเป็นที่สงสัยเลยว่า การวัดความเร็วแสงที่ประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรก จึงต้องกระทำกัน นอกโลกโดยนักดาราศาสตร์ชาวเดนมาร์กชื่อ </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">O. Roemer <span lang=\"TH\">ซึ่งได้เฝ้าสังเกตดูการโคจรของดวงจันทร์ต่างๆ รอบดาวพฤหัสบดี </span>Roemer <span lang=\"TH\">ได้สังเกตเห็นว่าในบางเวลาดวงจันทร์เหล่านี้จะโคจรไปทางเบื้องหลังของดาวพฤหัสบดี ดังนั้น มันจะถูกดาวพฤหัสบดีบดบัง การสังเกตดูอย่างติดต่อกันนานๆ ทำให้ </span>Roemer <span lang=\"TH\">สามารถทำนายได้ว่า ปรากฏการณ์จันทรคราสบนดาวพฤหัสบดีจะเกิดขึ้นเมื่อใด ถ้าเวลาที่ทำนายนั้นจะเกิดภายในหนึ่งสัปดาห์ แต่ถ้าจะให้เขาพยากรณ์ล่วงหน้านานเป็นเดือน เวลาที่เกิดจันทรคราสจะผิดเสมอเช่น เวลาโลกอยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดีมากที่สุด</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">วินาทีที่เกิดจันทรคราสจะเกิดก่อนหน้าคำทำนายเล็กน้อย และเมื่อโลกอยู่ไกลดาวพฤหัสบดีมากที่สุด วินาทีที่เกิดจันทรคราสจะเกิดหลังคำ ทำนายเล็กน้อย </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">Roemer <span lang=\"TH\">ได้สรุปว่า การที่เป็นเช่นนี้เพราะแสงต้องใช้เวลาในการเดินทางจากดาวพฤหัสบดีถึงโลก ดังนั้น เมื่อโลก อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดีมากที่สุด และอีก </span>6 <span lang=\"TH\">เดือนต่อมา เมื่อโลกอยู่ห่างจากดาวพฤหัสบดีมากที่สุด เขาได้เห็นปรากฏการณ์จันทรคราส เกิดช้าลง</span> 22 <span lang=\"TH\">นาที เขาจึงเอาเส้นผ่าศูนย์กลางของวงโคจรโลก ซึ่งเป็นระยะทางที่แสงจากดวงจันทร์ต้องเดินทางมากขึ้นหารด้วยเวลา </span>22 <span lang=\"TH\">นาที เขาได้ตัวเลขความเร็วแสงสูงกว่าความเร็วที่เรายอมรับกันในปัจจุบันประมาณ </span>30% <span lang=\"TH\">ถึงกระนั้น การทดลองของ </span>Roemer <span lang=\"TH\">ก็นับว่ามีความสำคัญเพราะเขาได้แสดงให้เห็นว่า แสงมิได้มีความเร็วสูงเสียจนมนุษย์ไม่สามารถจะวัดได้ และตัวเลขความเร็วที่เขา ทดลองวัดได้ก็ดีพอสมควร เมื่อพิจารณาสภาพเทคโนโลยีสมัยนั้น</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">L. Flzeau <span lang=\"TH\">คือนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศสคนแรกที่ประสบความสำเร็จในการวัดความเร็วแสงบนโลกในปี พ.ศ.</span> 2392 <span lang=\"TH\">เมื่อเขาวัดค่า </span>c <span lang=\"TH\">ได้ = </span>314,000 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร/วินาที ซึ่งสูงกว่าค่าจริงประมาณ </span>5% <span lang=\"TH\">และนับตั้งแต่นั้นมา นักฟิสิกส์คนอื่นๆ เช่น </span>Foucault , Mercier Michelson , Anderson <span lang=\"TH\">และ </span>Maxwell <span lang=\"TH\">ก็ได้พัฒนาเทคโนโลยีการวัดความเร็วแสงให้ละเอียดและถูกต้องยิ่งขึ้นไปอีก จนกระทั่งถึง วันนี้ความเร็วแสงเป็นค่าที่นักฟิสิกส์รู้ และวัดได้อย่างละเอียดและถูกต้องที่สุดค่าหนึ่ง</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">เมื่อปี พ.ศ. </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">2543 L.V. Hau <span lang=\"TH\">แห่ง </span>Rowland Institute for Science <span lang=\"TH\">ในสหรัฐอเมริกาได้รายงานในวารสาร </span>Nature <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>397 <span lang=\"TH\">หน้า </span>594 <span lang=\"TH\">ว่า เมื่อเธอและคณะได้ทำให้กลุ่มอะตอมของโซเดียมมีอุณหภูมิต่ำถึง </span>0.00005 <span lang=\"TH\">องศาสัมบูรณ์คือประมาณ - </span>273.15 <span lang=\"TH\">องศา และฉายแสงเลเซอร์ผ่านกลุ่มอะตอมเหล่านั้น เธอได้พบว่าแสงเลเซอร์มีความเร็วเพียง </span>17 <span lang=\"TH\">เมตร/วินาทีเท่านั้นเอง ซึ่งช้ายิ่งกว่าความเร็ว ของรถจักรยานเวลาแข่งกีฬาโอลิมปิกเสียอีก ซึ่งเธอได้อธิบายเหตุผลที่เป็นเช่นนี้ว่า ขณะเหล่าคลื่นแสงเคลื่อนที่เข้าปะทะกลุ่มอะตอม ของโซเดียมที่เย็นยะเยือก บริเวณส่วนหน้าของเหล่าคลื่นได้ถูกอะตอมของโซเดียมดูดกลืนแล้วพลังงานของคลื่นส่วนที่ถูกโซเดียม ดูดกลืนนี้ได้ถูกปลดปล่อยออกมาให้ที่บริเวณส่วนท้ายของเหล่าคลื่น ดังนั้น คลื่นจึงเคลื่อนที่ได้ช้าเพราะพลังงานของมันได้ถูกโยกย้าย จากหน้ามาสู่หลังโดยอะตอมของโซเดียมตลอดเวลา</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">เมื่อวันที่ </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">29 <span lang=\"TH\">เมษายน พ.ศ. </span>2543 K. Brecher <span lang=\"TH\">แห่งมหาวิทยาลัย </span>Boston <span lang=\"TH\">ได้รายงานในที่ประชุมของ </span>American Physical Society <span lang=\"TH\">ที่เมือง </span>Long Beach <span lang=\"TH\">ในรัฐ</span> California <span lang=\"TH\">ว่าในการสังเกตดูรังสีแกมมาที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากการระเบิดของดาว ที่ขอบจักรวาล เขาได้พบว่าแสงที่มีความยาวคลื่นต่างๆ กันถึงแม้จะเคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศมานานถึงหนึ่งหมื่นล้านปี ก็ยังมีความเร็ว ที่แตกต่างกันไม่เกิน </span>0.000003 <span lang=\"TH\">มิลลิเมตร/วินาที ซึ่งหมายความว่า ตัวเลขความเร็วของแสงสีต่างๆ นี้ตรงกันและเหมือนกันถึง ทศนิยมตำแหน่งที่ </span>20 <span lang=\"TH\">ซึ่งก็เป็นการยืนยันอย่างมั่นใจอีกครั้งหนึ่งว่า ไม่ว่าแผ่นดินจะถล่ม อารยธรรมจะเสื่อม เปลือกทวีปจะเลื่อนหรือ มนุษย์จะตายหมดโลก ความเร็วแสงก็ไม่เปลี่ยนแปลงคือจะคงที่สม่ำเสมออย่างนิจนิรันดร์</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">2543 L.J. Wangi <span lang=\"TH\">ได้รายงานในวารสาร </span>Nature <span lang=\"TH\">ฉบับที่ </span>406 <span lang=\"TH\">หน้า </span>277 <span lang=\"TH\">ว่า เขาได้ประสบความสำเร็จ ในการส่งคลื่นไมโครเวฟผ่านกลุ่มอะตอมของ</span> Calcium <span lang=\"TH\">ที่เย็นจัด แล้วทำให้แสงมีความเร็วติดลบคือเท่ากับ -</span>967.072 <span lang=\"TH\">เมตร/วินาที ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อจุดยอดของกลุ่มคลื่นแสงได้เคลื่อนที่ออกจากกลุ่มอะตอมของ</span> calcium <span lang=\"TH\">ก่อนที่คลื่นแสงจะปะทะกลุ่ม อะตอมกลุ่มนั้นเสียอีก</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">และเมื่อเร็วๆ นี้ </span><span style=\"font-family: \'Microsoft Sans Serif\'; font-size: 10pt\">G. Nimtz <span lang=\"TH\">แห่งมหาวิทยาลัย </span>Cologne <span lang=\"TH\">ได้รายงานความสำเร็จในการส่งสัญญาณคือเพลงซิมโฟนีหมายเลข </span>40 <span lang=\"TH\">ของ </span>Mozart <span lang=\"TH\">ทะลุผ่านไปในท่อนำคลื่น (</span>Wave Guide) <span lang=\"TH\">ความหนา </span>12 <span lang=\"TH\">เซนติเมตรได้ด้วยความเร็ว </span>4.7 <span lang=\"TH\">เท่าของความเร็วแสง แต่นักฟิสิกส์อีกหลายท่านก็ยังไม่เห็นด้วยกับการแปลผลการทดลองนี้ เพราะความเร็วแสงเป็นปริมาณที่มีความสำคัญมากในวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แม้แต่คำจำกัดความของระยะทาง </span>1 <span lang=\"TH\">เมตรก็ต้องพึ่งพาความเร็วแสงว่าเป็นระยะทางเดินทางได้เวลา </span>1/299,792.458 <span lang=\"TH\">วินาที การใช้สมการ </span>E = mc<sup>2</sup> <span lang=\"TH\">ก็ต้องรู้ความเร็วแสง ดังนั้น เราจึงมั่นใจว่า ตัวเลขความเร็วแสงที่นักวิทยาศาสตร์รู้ ณ วันนี้ จะยังไม่ใช่คำตอบสุดท้ายและความพยายามที่จะวัดปริมาณนี้จะต้องดำเนินต่อไปตราบเท่าที่มนุษย์ยังเห็นแสง</span><o:p></o:p></span></span><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p> </p>\n<p>\n          ที่มา <span style=\"color: #008000\">www.ipst.ac.th/ThaiVersion/publications/in.../fastlight.htm</span>\n</p>\n', created = 1729429472, expire = 1729515872, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4e4006c5214eb7d9eee581000065a9c2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d8916d99e9e35e0c02f66e0bba96b03a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nครูวิรัช แม้ไม่อาจเทียบ 1 ใน ล้าน ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป ไม่มีวันท้อ\n</p>\n<p>\nกรุณาบอกที่มาขอข้อมูลด้วย ไม่อย่างนั้นจะไม่ให้คะแนน\n</p>\n', created = 1729429472, expire = 1729515872, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d8916d99e9e35e0c02f66e0bba96b03a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความเร็วแสง

 ความเร็วแสง

นักฟิสิกส์ได้รู้มานานกว่าหนึ่งศตวรรษแล้วว่า แสงที่เราเห็นด้วยตาเปล่านั้นเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ถึงแม้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะมีหลายชนิด เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด รังสีอัลตราไวโอเล็ต รังสีเอ็กซ์ และรังสีแกมมา แต่รังสีทุกชนิดก็มีความเร็ว ในสุญญากาศเท่ากันหมด ซึ่งเรียกว่าความเร็วแสง C = 299,792.458 กิโลเมตร/วินาทีการทดลองของ Michelson และ Morley เมื่อ 119 ปีก่อนนี้ ได้ยืนยันอย่างมั่นเหมาะว่า ไม่ว่าแหล่งกำเนิดแสงหรือคนดูแสง จะมีสภาพการเคลื่อนที่เร็วช้าอย่างไร ความเร็วแสงที่คนดูแสงวัดได้จะตรงกันหมดคือ 299,792.458 กิโลเมตร/วินาที ทุกครั้งไป ความจริงที่ได้จากการทดลองนี้ ได้ชี้นำให้ Einstein สร้างทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ (Theory of Relativity) ขึ้นมา และหนึ่งใน คำพยากรณ์ที่ได้จากทฤษฎีนี้คือ ความเร็วของอนุภาคและพลังงานในการเคลื่อนที่จากสถานที่หนึ่งไปยังสถานที่อื่นๆ จะไม่มีวันเร็วกว่าแสงแต่ถ้าแสงเดินทางในสสารเช่น อากาศ น้ำ หรือแก้ว เพราะเหตุว่าความเร็วแสงในตัวกลางเหล่านี้ขึ้นกับความยาวคลื่นของแสง ดังนั้น แสงแต่ละสีจะมีความเร็วไม่เท่ากัน เมื่อความเร็วเป็นเช่นนี้ ในการกล่าวถึงความเร็วแสงในตัวกลาง เราจึงต้องพิจารณาความเร็ว สองรูปแบบคือ ความเร็วคลื่น (wave velocity) และความเร็วกลุ่ม (group velocity) ซึ่งความเร็วคลื่นคือ ความเร็วของเหล่าคลื่น ที่มีความยาวคลื่นเท่ากันหมด ซึ่งขณะอยู่ในตัวกลาง มันจะมีความเร็วน้อยกว่าความเร็วแสงในสุญญากาศคือ มีค่าเท่ากับ c/n เมื่อ c คือความเร็วแสงในสุญญากาศและ n คือดัชนีหักเหของตัวกลาง ซึ่งตามปกติจะมีค่ามากกว่า - 1 เช่นแสงสีแดงมีความเร็วมากกว่าแสง สีน้ำเงิน ดังนั้น เวลาแสงทั้งสองเดินทางในแก้ว (ในสุญญากาศ แสงทั้งสองสีมีความเร็ว c เท่ากัน) แสงสีแดงจะเดินทางได้ไกลกว่าแสง สีน้ำเงินในเวลาที่เท่ากันส่วนความเร็วกลุ่มคือความเร็วของเหล่าคลื่นที่ประกอบด้วยคลื่นต่างๆ ที่มีความยาวคลื่นแตกต่างกัน ความเร็วกลุ่มจึงเป็นความเร็วของ พลังงานแสงที่ถูกส่งผ่านไปในตัวกลางในสุญญากาศที่มีแต่ความว่างเปล่า ความเร็วคลื่นและความเร็วกลุ่มของคลื่นจะเท่ากัน คือต่างก็เท่ากับ c แต่ในตัวกลาง ความเร็วสอง รูปแบบนี้จะแตกต่างกันเช่น เมื่ออยู่ในอากาศ ความเร็วกลุ่มของแสงจะต่ำกว่าความเร็วคลื่นของแสงเล็กน้อย หรือในของเหลว carbon disulfide แล้วมีความเร็วกลุ่ม = 170,503.408 กิโลเมตร / วินาที ในขณะที่ความเร็วคลื่น = 182,800.279 กิโลเมตร/วินาที เป็นต้น ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าในกรณีนี้ ความเร็วคลื่นของแสงสูงกว่าความเร็วกลุ่มของแสงเล็กน้อย และในสารบางชนิดเช่น ควอทซ์ (quartz) ความเร็ววัดคลื่นของแสงอินฟราเรด อาจมากกว่าความเร็วแสงในสุญญากาศได้ แต่ความเร็วกลุ่มของแสงอินฟราเรดก็ยังต่ำกว่า ความเร็วแสงในสุญญากาศอยู่ดี และเมื่อพลังงานแสงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วกลุ่ม ดังนั้น ถ้อยแถลงของ Einstein ที่ห้ามความเร็วของ พลังงานว่าต้องไม่สูงกว่าความเร็วแสง จึงยังคงใช้ได้ต่อไปความก้าวหน้าในการศึกษาความเร็วแสงในตัวกลางต่างๆ ได้ทำให้นักฟิสิกส์พบว่า ในตัวกลางบางชนิดที่สามารถดูดกลืนแสงได้ หากเราปล่อยให้แสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางดังกล่าวนี้ ความเร็วกลุ่มของแสงในตัวกลางอาจสูงกว่าความเร็วแสงในสุญญากาศได้ แต่ในสถานการณ์เช่นนี้ นักฟิสิกส์ไม่สามารถจะกล่าวได้ว่าความเร็วกลุ่มของแสงคือ ความเร็วในการเคลื่อนที่ของพลังงานแสงได้อีกต่อไปนักวิทยาศาสตร์คนแรกที่ได้ทำการทดลองวัดความเร็วของแสงคือ Galileo เมื่อประมาณ 400 ปีมาแล้ว โดยเขาให้คนสองคนถือ ตะเกียงยืนบนยอดเขาสูงที่อยู่ห่างกันประมาณ 10 กิโลเมตร และสั่งให้คนทั้งสองปิดและเปิดตะเกียงส่งแสงสู่กันเป็นจังหวะทันที ที่เห็นแสงจากอีกฝ่ายหนึ่ง การรู้เวลาที่แสงเดินทางเพราะระยะทางระหว่างภูเขาจะทำให้ Galileo สามารถคำนวณความเร็วแสงได้ ผลปรากฏว่าการทดลองล้มเหลว เพราะคนทั้งสองรายงานว่าได้เห็นแสงไฟแล้วอีกนาน ประสาทความรู้สึกของเขาจึงสั่งให้เขาส่ง สัญญาณต่อไป การที่เป็นเช่นนี้เพราะแสงใช้เวลาเพียง 0.00002 วินาที ในการเดินทางระหว่างยอดเขาทั้งสอง แต่ชายแต่ละคน ต้องใช้เวลานานถึง 0.5 วินาที ในการรับรู้ว่าเห็นแสงแล้ว ช่วงเวลาที่แตกต่างกันถึง 25,000 นี้ ทำให้วิธีการวัดความเร็วแสงของ Galileo ล้มเหลว และ Galileo ก็ได้สรุปรายงานการทดลองของเขาว่าแสงมีความเร็วสูงเกินที่เขาจะวัดได้เมื่อความเร็วแสงมีค่ามากเช่นนี้ จึงไม่น่าเป็นที่สงสัยเลยว่า การวัดความเร็วแสงที่ประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรก จึงต้องกระทำกัน นอกโลกโดยนักดาราศาสตร์ชาวเดนมาร์กชื่อ O. Roemer ซึ่งได้เฝ้าสังเกตดูการโคจรของดวงจันทร์ต่างๆ รอบดาวพฤหัสบดี Roemer ได้สังเกตเห็นว่าในบางเวลาดวงจันทร์เหล่านี้จะโคจรไปทางเบื้องหลังของดาวพฤหัสบดี ดังนั้น มันจะถูกดาวพฤหัสบดีบดบัง การสังเกตดูอย่างติดต่อกันนานๆ ทำให้ Roemer สามารถทำนายได้ว่า ปรากฏการณ์จันทรคราสบนดาวพฤหัสบดีจะเกิดขึ้นเมื่อใด ถ้าเวลาที่ทำนายนั้นจะเกิดภายในหนึ่งสัปดาห์ แต่ถ้าจะให้เขาพยากรณ์ล่วงหน้านานเป็นเดือน เวลาที่เกิดจันทรคราสจะผิดเสมอเช่น เวลาโลกอยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดีมากที่สุดวินาทีที่เกิดจันทรคราสจะเกิดก่อนหน้าคำทำนายเล็กน้อย และเมื่อโลกอยู่ไกลดาวพฤหัสบดีมากที่สุด วินาทีที่เกิดจันทรคราสจะเกิดหลังคำ ทำนายเล็กน้อย Roemer ได้สรุปว่า การที่เป็นเช่นนี้เพราะแสงต้องใช้เวลาในการเดินทางจากดาวพฤหัสบดีถึงโลก ดังนั้น เมื่อโลก อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดีมากที่สุด และอีก 6 เดือนต่อมา เมื่อโลกอยู่ห่างจากดาวพฤหัสบดีมากที่สุด เขาได้เห็นปรากฏการณ์จันทรคราส เกิดช้าลง 22 นาที เขาจึงเอาเส้นผ่าศูนย์กลางของวงโคจรโลก ซึ่งเป็นระยะทางที่แสงจากดวงจันทร์ต้องเดินทางมากขึ้นหารด้วยเวลา 22 นาที เขาได้ตัวเลขความเร็วแสงสูงกว่าความเร็วที่เรายอมรับกันในปัจจุบันประมาณ 30% ถึงกระนั้น การทดลองของ Roemer ก็นับว่ามีความสำคัญเพราะเขาได้แสดงให้เห็นว่า แสงมิได้มีความเร็วสูงเสียจนมนุษย์ไม่สามารถจะวัดได้ และตัวเลขความเร็วที่เขา ทดลองวัดได้ก็ดีพอสมควร เมื่อพิจารณาสภาพเทคโนโลยีสมัยนั้นL. Flzeau คือนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศสคนแรกที่ประสบความสำเร็จในการวัดความเร็วแสงบนโลกในปี พ.ศ. 2392 เมื่อเขาวัดค่า c ได้ = 314,000 กิโลเมตร/วินาที ซึ่งสูงกว่าค่าจริงประมาณ 5% และนับตั้งแต่นั้นมา นักฟิสิกส์คนอื่นๆ เช่น Foucault , Mercier Michelson , Anderson และ Maxwell ก็ได้พัฒนาเทคโนโลยีการวัดความเร็วแสงให้ละเอียดและถูกต้องยิ่งขึ้นไปอีก จนกระทั่งถึง วันนี้ความเร็วแสงเป็นค่าที่นักฟิสิกส์รู้ และวัดได้อย่างละเอียดและถูกต้องที่สุดค่าหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2543 L.V. Hau แห่ง Rowland Institute for Science ในสหรัฐอเมริกาได้รายงานในวารสาร Nature ฉบับที่ 397 หน้า 594 ว่า เมื่อเธอและคณะได้ทำให้กลุ่มอะตอมของโซเดียมมีอุณหภูมิต่ำถึง 0.00005 องศาสัมบูรณ์คือประมาณ - 273.15 องศา และฉายแสงเลเซอร์ผ่านกลุ่มอะตอมเหล่านั้น เธอได้พบว่าแสงเลเซอร์มีความเร็วเพียง 17 เมตร/วินาทีเท่านั้นเอง ซึ่งช้ายิ่งกว่าความเร็ว ของรถจักรยานเวลาแข่งกีฬาโอลิมปิกเสียอีก ซึ่งเธอได้อธิบายเหตุผลที่เป็นเช่นนี้ว่า ขณะเหล่าคลื่นแสงเคลื่อนที่เข้าปะทะกลุ่มอะตอม ของโซเดียมที่เย็นยะเยือก บริเวณส่วนหน้าของเหล่าคลื่นได้ถูกอะตอมของโซเดียมดูดกลืนแล้วพลังงานของคลื่นส่วนที่ถูกโซเดียม ดูดกลืนนี้ได้ถูกปลดปล่อยออกมาให้ที่บริเวณส่วนท้ายของเหล่าคลื่น ดังนั้น คลื่นจึงเคลื่อนที่ได้ช้าเพราะพลังงานของมันได้ถูกโยกย้าย จากหน้ามาสู่หลังโดยอะตอมของโซเดียมตลอดเวลาเมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2543 K. Brecher แห่งมหาวิทยาลัย Boston ได้รายงานในที่ประชุมของ American Physical Society ที่เมือง Long Beach ในรัฐ California ว่าในการสังเกตดูรังสีแกมมาที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากการระเบิดของดาว ที่ขอบจักรวาล เขาได้พบว่าแสงที่มีความยาวคลื่นต่างๆ กันถึงแม้จะเคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศมานานถึงหนึ่งหมื่นล้านปี ก็ยังมีความเร็ว ที่แตกต่างกันไม่เกิน 0.000003 มิลลิเมตร/วินาที ซึ่งหมายความว่า ตัวเลขความเร็วของแสงสีต่างๆ นี้ตรงกันและเหมือนกันถึง ทศนิยมตำแหน่งที่ 20 ซึ่งก็เป็นการยืนยันอย่างมั่นใจอีกครั้งหนึ่งว่า ไม่ว่าแผ่นดินจะถล่ม อารยธรรมจะเสื่อม เปลือกทวีปจะเลื่อนหรือ มนุษย์จะตายหมดโลก ความเร็วแสงก็ไม่เปลี่ยนแปลงคือจะคงที่สม่ำเสมออย่างนิจนิรันดร์เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2543 L.J. Wangi ได้รายงานในวารสาร Nature ฉบับที่ 406 หน้า 277 ว่า เขาได้ประสบความสำเร็จ ในการส่งคลื่นไมโครเวฟผ่านกลุ่มอะตอมของ Calcium ที่เย็นจัด แล้วทำให้แสงมีความเร็วติดลบคือเท่ากับ -967.072 เมตร/วินาที ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อจุดยอดของกลุ่มคลื่นแสงได้เคลื่อนที่ออกจากกลุ่มอะตอมของ calcium ก่อนที่คลื่นแสงจะปะทะกลุ่ม อะตอมกลุ่มนั้นเสียอีกและเมื่อเร็วๆ นี้ G. Nimtz แห่งมหาวิทยาลัย Cologne ได้รายงานความสำเร็จในการส่งสัญญาณคือเพลงซิมโฟนีหมายเลข 40 ของ Mozart ทะลุผ่านไปในท่อนำคลื่น (Wave Guide) ความหนา 12 เซนติเมตรได้ด้วยความเร็ว 4.7 เท่าของความเร็วแสง แต่นักฟิสิกส์อีกหลายท่านก็ยังไม่เห็นด้วยกับการแปลผลการทดลองนี้ เพราะความเร็วแสงเป็นปริมาณที่มีความสำคัญมากในวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แม้แต่คำจำกัดความของระยะทาง 1 เมตรก็ต้องพึ่งพาความเร็วแสงว่าเป็นระยะทางเดินทางได้เวลา 1/299,792.458 วินาที การใช้สมการ E = mc2 ก็ต้องรู้ความเร็วแสง ดังนั้น เราจึงมั่นใจว่า ตัวเลขความเร็วแสงที่นักวิทยาศาสตร์รู้ ณ วันนี้ จะยังไม่ใช่คำตอบสุดท้ายและความพยายามที่จะวัดปริมาณนี้จะต้องดำเนินต่อไปตราบเท่าที่มนุษย์ยังเห็นแสง 

          ที่มา www.ipst.ac.th/ThaiVersion/publications/in.../fastlight.htm

รูปภาพของ virat

ครูวิรัช แม้ไม่อาจเทียบ 1 ใน ล้าน ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป ไม่มีวันท้อ

กรุณาบอกที่มาขอข้อมูลด้วย ไม่อย่างนั้นจะไม่ให้คะแนน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 380 คน กำลังออนไลน์