• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.190.207.144', 0, '4644aedb7a9cfbd5df4822dda713a641', 126, 1716135939) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:45978b85d78e8fbabd95fbe1ed1153a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n            ศิลปวัฒนธรรมในสมัยโบราณเริ่มต้นเมื่อ 6000 ปีที่แล้ว  โดยมนุยษ์ในยุคนันตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัยมีการดำรงชีพด้วยการเลี้ยงสัตว์ทำการเกษตร  ยุคประวัติศาสตร์เริ่มต้นจากมนุษย์ประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้ โดยชาวสุเมเรียนเป็นพวกคิดค้นประดิษฐืขึ้นใช้เป็นชนกลุ่มแรกของโลก  เนื่องจากประวัติศาสตร์ของโลกมีมาอย่างยาวนาน  นักประวัติศาสตร์จึงมีการแบ่งอารยธรรมต่างที่เกิดขึ้นบนโลกไว้เป็นยุคสมัยไว้ดังนี้\n</p>\n<p>\n<strong><em>อารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ</em></strong>\n</p>\n<p>\nแบ่งออกเป็น\n</p>\n<p>\n<strong>1.อารยธรรมเมโสโปเตเมีย</strong>\n</p>\n<p>\n- เป็นบริเวณที่อุดมสมบูรณืระหว่างแม่น้ำ 2 สาย คือ แม่น้ำโทกริสและแม่น้ำยูเฟรติส จึงทำให้ชนชาติต่างๆแย่งชิงผลัดเปลี่ยนเข้ามาสร้างสรรค์อารยธรรมของตน<br />\n- ชาติแรกที่เข้ามา คือ สุเมเรียน ซึ่งมีความเจริญด้านการเกษตร รู้จักการชลประทานและจัดการปกครองแบบนครรัฐได้เป็นครั้งแรก<br />\n- ประดิษฐ์อักษรลิ่ม ลงบนแผ่นดินเหนียว มีความเจริญด้านคณิตศาสตร์ เช่น การคูณหาร ถอดรากกำลังสอง เลขฐาน 60 เป็นต้น มีการติดต่อค้าขายกับภายนอก\n</p>\n<p>\n- นับถือเทพเจ้าหลายองค์ วิหารบูชาเทพเจ้า คือ ซิกกูแรท (Ziggurat)\n</p>\n<p>\n- บาบิโลเนีย ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมบูราบี ใช้บทลงโทษที่รุนแรง &quot; ตาต่อตา ฟันต่อฟัน &quot; เพื่อสร้างระเบียบและความยุติธรรมให้แก่ดินแดน ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกของโลก<br />\n-อัสซีเรีย การแกะสลักภาพนูนต่ำ (bas relief) แสดงการสู้รบของกษัตริย์อัสซูร์บาลิปาล รวบรวมงานเขียนไว้ที่ห้องสมุดเมืองนายเวห์ (Nineveh) ซึ่งเป็นห้องสมุดแห่งแรกของโลก\n</p>\n<p>\n- คาลเดีย สร้างสวนลอยแห่งกรุงบสบิโลน มีความสามารถด้านดาราศาสตร์ แบ่งสัปดาห์ 7 วัน สามารถทำนายสุริยุปราคา และนำดาราศาสตร์มาเป็นเครื่องทำนายชะตาชีวิตมนุษย์<br />\n- เปอร์เซีย ระบอบการปกครองแบบจักรวรรดินิยมที่มั่นคง ขยายการค้าไปยังดินแดนต่างๆ</p>\n<p>- ฟินิเซีย มีความสามารถด้านการค้า การแลกเปลี่ยนเงินตรา เป็นชาติแรกที่มีเหรียญทองคำใช้ เป็นผู้เผยแพร่วัฒนธรรมของชาติต่างๆในภูมิภาคนี้\n</p>\n<p>\n<strong>2.อารยธรรมลุ่มแม่นําไนล์</strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ชนชาติที่สร้างอารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์คือ ชาวอิยิปต์โบราณ ซึ่งปัจจุบันมีเชื้อสายอยู่เล็กน้อย เป็นชนกลุ่มน้อยของประเทศ คือ พวกคอปต์ และพวกเฟลละ<br />\nซึ่งมีอาชีพทางทำนา ไม่ใช่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ปัจจุบันซึ่งเป็นชาวอาหรับที่เป็นพวกอพยพมาอยู่ใหม่ภายหลัง อิยิปต์เป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมเก่าแก่ที่สุด<br />\nในบรรดาแหล่งอารยธรรมยุคแรกของโลก ซึ่งมีความเจริญต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนานถึง 2,000 ปี</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเทศอิยิปต์และอารยธรรมอิยิปต์อุบัติขึ้นได้เพราะมีแม่น้ำไนล์ หากปราศจากแม่น้ำไนล์ประเทศอิยิปต์ก็จะมีแต่ความแห้งแล้งและทะเลทราย <br />\nเหตุนี้เองนักประวัติศาสตร์กรีกสมัยโบราณจึงกล่าวเปรียบเทียบว่า </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อิยิปต์คือของขวัญจากแม่น้ำไนล์</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></span><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(Egypt is the gift of the Nile) “</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ธิดาแห่งแม่น้ำไนล์</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">คำว่า </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อิยิปต์</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> นั้น กรีกเป็นผู้ใช้เรียกดินแดนที่เป็นต้นกำเนิกอารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ก่อน ภายหลังจึงมีผู้เรียกตามอย่างแพร่หลาย ส่วนพวกอิยิปต์โบราณ<br />\nเรียกประเทศของเขาว่า </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">แผ่นดินสีดำ</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">คนพื้นเมืองเดิมที่อยู่ในอิยิปต์ก่อนพวกอื่นคือพวกแฮมิติค</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> (Hamitic) </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เป็นคนผิวดำ ต่อมาพวกผิวขาว </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(Semitic) </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ซึ่งเป็นพวกร่อนเร่เลี้ยงสัตว์มีความเจริญกว่า<br />\nบุกรุกเข้ามาและสามารถครองความเป็นใหญ่เหนือพวกพื้นเมืองเดิม เมื่อประมาณ 5,000-72,000 ปีก่อนคริสตกาล เรื่องราวสมัยนี้ยังไม่มีบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร<br />\nนักประวัติศาสตร์ถือว่าเป็นเหตุการณ์ก่อนสมัยราชวงศ์ </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(Pre-Dynastic) </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ของประวัติศาสตร์อิยิปต์</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์อิยิปต์นั้นเพื่อความเข้าใจง่าย นิยมแบ่งเป็น 3 ยุค คือ</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(1). สมัยอาณาจักรเดิม </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(The Old Kingdom) </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระยะเวลาประมาณ </span></span><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></span><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">            </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2800-2300 B.C.</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(2). สมัยอาณาจักรกลาง </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(The Middle Kingdom) </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระยะเวลาประมาณ </span><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">     </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2100-1788 </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">B.C.</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(3). สมัยจักรวรรดิ </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(The Empire Age)</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ระยะเวลาประมาณ</span><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                      </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1580-1090</span></span><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">B.C.</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อารยธรรมที่อิยิปต์โบราณริเริ่ม</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1.ระบบการปกครองอย่างมีแบบแผน</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ตอนต้นๆ (สมัยราชอาณาจักรต้นและอาณาจักรกลาง) อิยิปต์ปกครองด้วยระบบเจ้าผู้ปกครองนคร<br />\nฟาโรห์ทรงเป็นทั้งกษัตริย์และประมุขทางศาสนาด้วย ต่อมาบ้านเมืองเจริญขึ้นและขยายตัวกว้างออกไป พระมีอำนาจมากขึ้น ศาสนาจึงแยกตัวออกไป<br />\nเป็นหน้าที่ของพระ การปกครองภายใน (ส่วนกลาง) ฟาโรห์ทรงเป็นหัวหน้ารัฐบาลกุมอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และตุลาการ </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">พลเมืองอิยิปต์โบราณมีหลายชนชั้น แต่ไม่มีการแบ่งวรรณะตายตัว (อย่างอินเดีย) ชนชั้น</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ดังกล่าวได้แก่ พระ นักรบ เสมียน ช่าง กรรมกร ชาวนา และพวกทาส สตรีอียิปต์ได้รับการยกย่องและมีสิทธิมาก มีการทำทะเบียนสำมะโนครัวใหม่เพื่อประโยชน์<br />\nในการเรียกเก็บภาษีทุกๆ 3 ปี และมีการออกกฎหมายใช้บังคับเหมือนกันทั่วประเทศ</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2.วิศวกรรม เป็นชาติแรกที่รู้จักการใช้เครื่องผ่อนแรง เช่น เลื่อน ลูกรอก และคันกว้าน สำหรับเคลื่อนที่และยกของหนัก มีความเจริญทางด้านวิศวกรรมและชลประทานมาก<br />\nเป็นชาติแรกที่ริเริ่มการทดน้ำด้วยวิธีสร้างเขื่อนด้วยคันดิน ขุดทะเลสาบและคูคลองระบายน้ำเพื่อใช้ในการเกษตรและการคมนาคม สำหรับการชลประทานนั้นมีการตรวจสอบ<br />\nระดับน้ำทุกปีเพื่อประโยชน์สำหรับการทดน้ำในปีต่อไป</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.การทำปฏิทิน ตอนแรกใช้ดวงจันทร์เป็นหลัก (จันทรคติ) ปีหนึ่งมี 360 วัน ภายหลังเปลี่ยนมาใช้ระบบสุริยคติ ปีหนึ่งมี 365 วัน แบ่งปีออกเป็น 12 เดือนๆ<br />\nหนึ่งมี 30 วัน เศษ 5 วัน ที่เหลือนำไปเพิ่มไว้ที่เดือนสุดท้ายของปีโดยจัดเป็นวันฉลองพืชผลสมัยราชวงศ์ทอเลมีได้มีการเพิ่มวันที่ขาดหายไป 1 วัน<br />\nทุกๆ 4 ปี (อธิกมาส)</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ฤดูกาลปีหนึ่งแบ่งเป็น 3 ฤดูคือฤดูน้ำหลาก ฤดูไถหว่านและฤดูเก็บเกี่ยว การเรียกชื่อปี ตอนแรกตั้งชื่อปีตามเหตุการณ์สำคัญๆที่เกิด เช่น <br />\nปีน้ำมาก ปีไฟไหม้ใหญ่ และปีโรคป่วง ตอนหลังเปลี่ยนนมาใช้นับปีครองราชย์ของฟาโรห์แทน</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.คณิตศาสตร์ เป็นชาติแรกที่รู้จักใช้ความรู้ทางเรขาคณิตในการวัดที่ดินและพบสูตรคำนวณหาพื้นที่วงกลม </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">(Pi R) </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">และกำหนดค่าของ </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Pi = </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.14</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">5.อักษรศาสตร์ สมัยราชวงศ์ที่ 1 อิยิปต์เริ่มใช้อักษรรูปภาพ เรียกว่า </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เฮียโรกริฟฟิก</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> มีทั้งหมด 600 กว่ารูป บางตัวเป็นรูปโดด บางตัวเป็นรูปผสม<br />\n(เอารูปโดดมาเรียงกัน) เป็นหมู่ๆหนึ่งเป็นคำหนึ่ง หลายๆหมู่เป็นประโยค คำว่าเฮียโรกริฟฟิคแปลว่า </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อักษรหรือหรือรอยสลักอันศักดิ์สิทธิ์</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> <br />\nที่เรียกเช่นนี้เพราะพระเป็นผู้เริ่มใช้อักษรเหล่านี้ก่อนและใช้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา ต่อมาจึงมีการดัดแปลงอักษรดังกล่าวเป็นตัวเขียนหวัด เรียกว่า <br />\n</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อักษรเฮียราติค</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ใช้สำหรับเขียนทั่วไป ใช้สำหรับเขียนทั่วไป มี 24 ตัว หลังจากนั้นได้มีการดัดแปลงต่อไปอีกเรียกว่า </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อักษรเดโมติค</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> <br />\nใช้สำหรับวงการธุรกิจอยู่ระยะหนึ่งแล้วเลิกไป (สันนิษฐานว่ายุ่งยากและไม่สะดวกในการเขียน) ครั้งสุดท้ายหันมาใช้อักษรกรีกผสมอักษรเฮียโรกริฟฟิค <br />\nเรียกว่า </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อักษรคอปติค</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> อักษรคอปติคนี้ชาวอิยิปต์ได้ใช้สืบต่อกันมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงเปลี่ยนมาใช้ภาษาอาหรับ</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อุปกรณ์การเขียน อิยิปต์เป็นชาติแรกที่คิดทำกระดาษขึ้นใช้ กระดาษดังกล่าวทำจากต้นพาไพรัส ซึ่งมีมากมายตามริมฝั่งแม่น้ำไนล์ <br />\nคำว่า </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">paper </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ในภาษาอังกฤษปัจจุบันมีรากฐานมาจากคำ </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Papyrus </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">นี่เอง เครื่องเขียนใช้ก้านอ้อ ส่วนหมึกใช้ยางไม้ผสมเขม่า</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">วรรณกรรมของอิยิปต์ วรรณกรรมสัคญของอิยิปต์โบราณส่วนใหญ่เป็นวรรณกรรมทางศาสนา เป็นสูตรเวทมนต์คาถาสำหรับผู้ตาย <br />\nสาระสำคัญเกี่ยวกับหลักฐานแสดงคุณงามความดี และความประพฤติถูกทำนองคลองธรรมของผู้ตายระหว่างมีชีวิตอยู่ หนังสือดังกล่าวถ้าเขียน<br />\nใส่ม้วนกระดาษพาไพรัสวางไว้ข้างศพผู้ตายเรียกว่า </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“Book of the Dead” </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ถ้าเขียนไว้บนฝาหีบศพ เรียก</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> “Coffin Texts” </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เขียนไว้ตามผนังกำแพง<br />\nพีรามิดเรียก </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“Pyramid Texts”</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> วรรณกรรมเกี่ยวกับชีวิตจริงที่มีชื่อเสียงมากของอิยิปต์ได้แกเรื่อง </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“The Tale of Shiuhe”</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">6.</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สถาปัตยกรรม ชาวอิยิปต์โบราณได้รับการยกย่องเป็นสถาปนิกชั้นยอดของโลก สิ่งก่อสร้างที่มีชื่อเสียงยิ่งของอิยิปต์ภาคต่ำได้แก่พีระมิด<br />\nสิ่งมหัศจรรย์ 1 ใน 7 สิ่งของโลกโบราณ </span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สถาปัตยกรรมมีชื่อเสียงของอิยิปต์สูง ซึ่งได้รับการยกย่องไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าพีระมิดของอิยิปต์ต่ำได้แก่วิหารคาร์นัค และลุคซอร์ <br />\nซึ่งสร้างขึ้นเพื่อสักการบูชาเทพแห่งนครธีบส์ (อามอน)</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">7.จิตรกรรมและประติมากรรม ตามผนังด้านในของพีระมิด ที่พื้นห้องและบนเพดาน เต็มไปด้วยภาพเขียนระบายสีสวยงามเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผู้ตาย<br />\nสมัยที่ยังมีชีวิตอยู่ภาพเหล่านี้นอกจากแสดงให้เห็นถึงความสามารถในด้านจิตรกรรมและยังเป็นหลักฐานสำคัญและมีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ด้านประติมากรรม มีการแกะสลักรูปภาพต่างๆประกอบด้วยอักษรเฮียโรกริฟฟิคตามผนังวิหารอย่างงดงาม ภาพสลักที่มีชื่อเสียง<br />\nในด้านความงามได้แก่ภาพหินสลักพระพักตร์ของฟาโรห์คาฟรา (หัวสฟิงค์) และพระเศียรของพระนางเนเฟอร์ติติ (มเหสีฟาโรห์อัคนาตอน)<br />\nนอกจากนี้ยังมีรูปสลักเต็มตัวของฟาโรห์ต่างๆพระมเหสีและเทพเจ้าของชาวอิยิปต์ตามหน้าผาและวิหาร (ในนครธีบส์) ล้วนแสดงถึงความเจริญ<br />\nและความสามารถของช่างชาวอิยิปต์ บรรดาสิ่งก่อสร้างที่ใช้เสาใหญ่ๆเรียงรายเป็นแนวรองรับหลังคาอาคาร การแกะสลักเสา การตกแต่งหัวเสารูป<br />\nใบปาล์มตลอดจนรูปโค้งเหนือบานประตูหน้าต่าง ฯ อิยิปต์เป็นผู้เริ่มใช้ก่อนชาติอื่นๆได้แบบอย่างไปดัดแปลงสมัยต่อมา สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่เช่นพีรามิด <br />\nแม้เวลาจะล่วงเลยมาช้านานยังคงทนถาวรไม่พังทลาย แสดงถึงความรู้เรื่องศูนย์ถ่วงของชาวอิยิปต์</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">8.ศาสนา ชาวอิยิปต์โบราณนับถือเทพเจ้าหลายองค์ ผู้คนในแต่ละท้องถิ่นแต่ละหมู่ก็จะมีเทพเจ้าประจำของตนเมื่อนับรวมกันแล้ว จึงมีเทพเจ้าและเทพีต่างๆมากกว่าหนึ่งพันองค์ เทพบางองค์เป็นสัตว์ บางองค์เป็นตัวแทนจากธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ และแม่น้ำไนล์ เป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">9.การแพทย์ ชาวอิยิปต์โบราณมีความรู้ในวิชาการแพทย์ดังต่อไปนี้ คือ</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">9.1พบวิธีรักษาร่างกายไม่ให้เน่าเปื่อย โดยทำเป็นมัมมี่</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">9.2ศัลยกรรม แพทย์อิยิปต์โบราณชำนาญการผ่าตัดกระดูก รู้จักใช้น้ำเกลือล้างแผลป้องกันการอักเสบ และใช้น้ำด่างรักษาแผลให้หายเร็ว</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">9.3ทันตกรรม ทันตแพทย์อิยิปต์โบราณรู้จักใช้ฟันปลอมทำด้วยทองและสามารถอุดฟันผุได้อย่างประณีต</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">9.4ระบบหมุนเวียนของโลหิต แพทย์อิยิปต์โบราณค้นพบว่าหัวใจเป็นศูนย์กลางของระบบหมุนเวียนโลหิตในร่างกาย</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">9.5แพทย์อิยิปต์โบราณรู้จักทำสถิติโรคภัยไข้เจ็บที่ปรากฏมากตามท้องถิ่นต่างๆมีการจัดหมวดหมู่และแบ่งประเภทของโรคตามอาการที่ปรากฏด้วย</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">10.ตุลาการ อิยิปต์โบราณมีศาลพิพากษาคดีต่างๆ 6 ศาล มีหัวหน้าศาลรียกว่า </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">วิเซียร์</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> ซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของฟาโรห์ด้วย</span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">11.การช่าง ชาวอิยิปต์โบราณมีช่างสกัดหินที่ชำนาญ ฝีมือประณีต มีช่างก่อตึก ช่างประดิษฐ์เครื่องประดับและเครื่องใช้ทำด้วยทองแดง <br />\nช่างทองคำและเพชรพลอย ช่างวาดภาพ ช่างไม้และช่างทำเครื่องปั้นดินเผา</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">12.การต่างประเทศ เริ่มทำนับตั้งแต่สมัยต้นๆ หลังจากก่อตั้งบ้านเมืองเริ่มด้วยการค้าก่อนสินค้าออกมีชื่อเสียงของอิยิปต์มี ผ้าลินิน กระดาษพาไพรัส<br />\nแจกัน เครื่องเพชรพลอยและทอง ส่วนสินค้าเข้าได้แก่ (จากประเทศต่างๆในทวีปยุโรป) วัว ควาย ปลา และเครื่องหอม เรือยานพาหนะและล้อเลื่อน <br />\n(จากซีเรีย) งาช้าง ขนนกกระจอกเทศ (จากนูเบีย) และเหล็ก (จากฮิตไตท์)</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<strong>3.อารยธรรมกรีก</strong><br />\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">การปกครองแบบประชาธิปไตย</span></span>\n</p>\n<ol type=\"1\" style=\"margin-top: 0cm\">\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ความเจริญด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์สาขาต่างๆ เช่น</span></span> </li>\n</ol>\n<p style=\"margin-left: 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2.1 วิชาชีววิทยาเบื้องต้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2.2 ริเริ่มการวินิจฉัยโรค และเก็บรายงานประวัติคนไข้</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ข้อควรทราบ</span></span>\n</p>\n<ol type=\"1\" style=\"margin-top: 0cm\">\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ผู้ริเริ่มวิชาชีววิทยา คือ อริสโตเติล</span></span> </li>\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">แพทย์กรีกคนแรกที่ค้นพบว่าหัวใจ คืออวัยวะที่ทำหน้าที่สูบฉีดโลหิตคือ อเลเมออน</span></span> </li>\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ผู้นำทางวิชาการแพทย์ของกรีก คือ เอมพีโดคลีส</span></span> </li>\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">คนแรกที่ริเริ่มทำศัลยกรรม และการใช้ยาบำบัดโรคคือ ฮิพพอคราตีส ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งการแพทย์</span></span> </li>\n</ol>\n<ol start=\"3\" type=\"1\" style=\"margin-top: 0cm\">\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ความเจริญด้านอักษรศาสตร์ </span></span></li>\n</ol>\n<p style=\"margin-left: 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.1   ร้อยกรอง กรีกเป็นผู้ให้กำเนิดการประพันธ์ประเภทกาพย์ และกลอน(ซึ่งยุโรปรับถ่ายทอดในสมัยต่อมา) กาพย์ที่สำคัญที่ดีเด่นลีลาการใช้ภาษา และสำนวนได้แก่มหาหาพย์ชื่ออีเลียด และโอดีสซี ของกวีเอกชื่อ โอเมอร์ เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการสดุดีวีรกรรมของวีรบุรุษ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.2   การละคร มีการกำเนิดมาจากการละเล่นเพื่อบูชาเทพเจ้า ภายหลังมีผู้นำมาใช้แสดงละคร</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.3   โคลงและกลอน กวีกรีกที่มีชื่อเสียง ได้แก่ เฮซอย ได้รับสมญานาณว่า นักประพันธ์ขวัญใจชาวนา พินดาร์ แซฟโฟ เป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.4    การเขียนประวัติศาสตร์ ปราชญ์กรีกได้รับการยกย่องว่าเป็น บิดาแห่งประวัติศาสตร์ คือ เฮโรโดตุส </span></span>\n</p>\n<ol start=\"4\" type=\"1\" style=\"margin-top: 0cm\">\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ความเจริญด้านศิลป์</span></span> </li>\n</ol>\n<p style=\"margin-left: 36pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ศิลปะของกรีกมีชื่อเรื่องความงาม ความละเอียดอ่อนและความประณีต เป็นความเจริญที่มีพร้อมทั้งในด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรมและวิจิตรศิลป์</span></span>\n</p>\n<ol start=\"5\" type=\"1\" style=\"margin-top: 0cm\">\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ด้าน๕ณิตศาสตร์ ปราชญ์กรีกชื่อ ไพธากอรัส เป็นผู้สร้างทฤษฎีบททางเรขาคณิต ที่ว่าพื้นที่จัตุรัสบนด้านทแยงของสามเหลียมมุมฉาก เท่ากับผลบวกของพื้นที่สี่เหลี่ยมจุตุรัสบนด้านที่เหลืออีกสองด้าน</span></span> </li>\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ด้านภูมิศาสตร์</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ปราชญ์กรีกที่ชือ่ เอราทอสทีเทส ใช้ความรู้วิชาตรีโกณมิติคำนวณขนาดของโลกได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริง (สมัยปัจจุบัน) มากที่สุดเปฌนคนแรก และต่อมา คลอดอุส ทอเลมี นำผลงานของเอราทอสทีเนสมาใช้ในการทำแผนที่โลก ทำให้ได้แผนที่โลกที่ดีที่สุดมีใช้กันในยุคนั้น</span></span> </li>\n<li style=\"tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ด้านปรัชญา ปรัชญาสาขาต่างๆที่กรีกโบราณริเริ่มได้แก่</span></span> </li>\n</ol>\n<p style=\"margin-left: 42.75pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 42.75pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1.  จักรวาลวิทยา</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ความจริงเรื่องโลก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 42.75pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 42.75pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2.  ญานวิทยา</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ค้นคว้าเรื่องขอบเขต และความสามารถทางความรู้ของมนุษย์</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 42.75pt; text-indent: -18pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.  ตรรกวิทยา หลักควบคุมความคิดที่ถูกต้อง</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 42.75pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 42.75pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">4.  จริยศาสตร์ </span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 42.75pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 42.75pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">5.  สุนทรียศาสตร์ ว่าด้วยความงามที่แท้จริง</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<strong>4.อารยธรรมโรมัน</strong>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ส่วนใหญ่ได้รับการถ่ายทอดมาจากกรีก แต่ได้นำมาปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นอยู่ของสังคมโรมันและบางอย่างก็ได้รับการปรับปรุง<br />\nให้ก้าวหน้ากว่ากรีก</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1.</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">   </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ด้านการปกครอง</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">   </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">โรมันเป็นผู้คิดการปกครองแบบสาธารณะรัฐ</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2.</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">   </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ด้านกฎหมาย</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">   </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">และการเมือง เจริญก้าวหน้ายิ่งกว่าชาติอื่นๆ กฎหมายของโรมันเป็นกฎหมายที่มีลักษณะยืดหยุ่นตายตัว เริ่มด้วยกฎหมาย 12 โต๊ะ <br />\nหลังจากนั้นก็มีกฎหมายเพิ่มเติมเรื่อยๆโดยสภาซีเนต </span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">   </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สถาปัตยกรรม</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">แม้ส่วนใหญ่จะได้รับแบบอย่างมาจากกรีกแต่ก็ได้มีการดัดแปลงและประดิษฐ์คิดค้นขึ้นเองด้วย</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.1</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">   </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สถาปัตยกรรมที่เป็นแบบฉบับของโรมันแท้ได้แก่ สิ่งก่อสร้างรูปโดมตอนส่วนบนของอาคารประตูชัย ท่อระบายน้ำ และประชุมกลางเมืองที่เรียกว่า </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ฟอรุม</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3.2</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">   </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">สถาปัตยกรรมที่โรมันนำของกรีกมาดัดแปลงได้แก่การใช้เสาระเบียงจำนวนน้อยกว่าอาคารของกรีก ส่วนแบบการก่อสร้างรูปโค้งเหนือประตูและหน้าต่าง<br />\nอาคารนั้น โรมันดัดแปลงมาจากอีทรัสแคน</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ข้อควรทราบ</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1.โรมันเป็นชาติแรกที่ทำคอนกรีตขึ้นใช้</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2. สถาปัตยกรรมโรมันส่วนใหญ่เน้นที่ประโยชน์ใช้สอย ขนาด ( ใหญ่โตและแข็งแรง) และความสง่างาม (ด้วยการตกแต่งประดับประดาอย่างหรูหราและโออ่า</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3. ตัวอย่างสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงของโรมันได้แก่ วิหารพาเธนอน หลังคารูปโดม ในกรุงโรม อัฒจันทร์สำหรับดูกีฬา โคลอสเซียม ซึ่งจุผู้ดูได้ถึง 4,500 คน<br />\nสร้างในสมัยจักรพรรดิตีตุสเมื่อ ค.ศ.80</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">4.ประติมากรรม โรมันำแบบอย่างของกรีกมาดัดแปลง แต่เน้นที่ความโอ่อ่า ความสง่างามและความเข้มแข็ง นิยมแกะสลักภาพเต็มตัวและภาพนูน</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">5. ทางหลวงแผ่นดิน เป็นชาติแรกที่สร้างถนนกว้าง 25</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">x</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">10 ฟุต ปูด้วยหินลงรากลึกหลายฟุต ใช้ได้ทุกฤดูกาล ทางหลวงแผ่นดินที่มีชื่อเรียกว่า </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Via Appia</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> <br />\nสร้างเมื่อ 300 ปีก่อนคริสตกาล ยังปรากฏอยู่จนตราบเท่าปัจจุบัน</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">6. การแพทย์และการสาธารณสุข</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">6.1 เป็นชาติแรกที่สามารถทำคลอดทารกโดยวิธีผ่าตัดทางหน้าท้อง วิธีดังกล่าวเรียกว่า ศัลยกรรมแบบซีซาร์ นอกจากนี้ยังมีความรู้ความสามารถในการผ่าตัด<br />\nโรคคอพอกและนิ่ว</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">6.2 เป็นชาติแรกที่ให้กำเนิดโรงพยาบาลแห่งแรกในยุโรป</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">6.3 จัดให้มีการรักษาความสะอาดในกรุงโรม มีทางระบายโสโครก จัดหาน้ำสะอาดสำหรับใช้บริโภค และมีการลำเลียงน้ำจากแหล่งน้ำไปสู่แหล่งกันดารน้ำด้วยระบบท่อ</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">6.4แพทย์โรมันชื่อ กาเลน รวบรวมและจัดทำตำรับยา</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">6.5 มีสถานที่อาบน้ำสาธารณะทั่วไป</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">7. ด้านอักษรศาสตร์</span></span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ให้กำเนิดภาษาละติน วรรณกรรมส่วนใหญ่เลียนแบบกรีก และนำมาปรับปรุงและดัดแปลงเป็นแบบฉบับของตนเอง </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">วรรณกรรมดังกล่าวมีทั้งบทละคร<br />\nร้อยแก้ว ร้อยกรอง และประวัติศาสตร์</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                 </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">กวีและวรรณคดีมีชื่อเสียงของโรมันที่ควรทราบ ประเภทร้อยกรอง ได้แก่</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1. เวอร์จิล (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Virgil</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) 70-91 ปีก่อนคริสตกาล ผู้แต่งมหากาพย์ชื่อ เอเนียด (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Aeneid</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) สดุดีออกัสตุสซีซาร์</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ท่านผู้นี้ได้สมญาว่า </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">“</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">โฮเมอร์แห่งโรมัน</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">”</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2. โฮเรซ (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Horace</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) 65-8 ปีก่อนคริสตกาล เป็นกวีที่มีชื่อเสียงรองลงมาจากเวอร์จิล เขียนบทกวีนิพนธ์เกี่ยวกับชีวิตชาวไร่และชนบท</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">3. โอวิด (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Ovid</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) 43 </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">B.C.-17</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">A.D. </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เขียนโคลงกลอนพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องราวของความรัก</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเภทบทละคร</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">นิยมการแสดงละครประเภทตลกขบขันและละครใบ้มากกว่าอย่างอื่น นักแต่งบทละครที่มีชื่อเสียงที่ควรทราบได้แก่ พลอตุส<br />\n(</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Plautus</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) และเทอร์เรนซ์ (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Terence</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">)</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">        </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเภทร้อยแก้ว นักขียนที่มีชื่อเสียง ได้แก่</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1. ซิเซโร (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Cicero</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) มีชื่อเสียงในการแสดงและเขียนสุนทรพจน์ จดหมายละเรียงความ</span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2. จูเลียส ซีซาร์ (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Julius Caesar</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) เขียนหนังสือแสดงข้อคิดเห็นในการปราบปรามแคว้นโกลด้วยสำนวนง่ายๆตรงไปตรงมา</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">         </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ประเภทประวัติศาสตร์</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1. ลีวี่ (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Livy</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) 59- </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">B.C-17 A.D. </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เขียนประวัติศาสตร์กรุงโรมนับตั้งแต่สมัยเริ่มสร้างจนถึงประมาณ 9 ปีก่อนคริสตกาล</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">2. แทคซิตุส (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Tacitus</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) ค.ศ. 55-117 เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตและความเป็นอยู่ของอารยชนเผ่าเยอรมาเนียและจดหมายเหตุกรุงโรม<br />\nตั้งแต่สมัยออกัสตุสซีซาร์ถึงสมัยเนโร</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">วิชาภูมิศาสตร์</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ชาวโรมันชื่อไพลนี่ (</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">Pliny The Elder</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">) สังเกตเห็นเรือที่แล่นจากทะเลเข้าสู่ฝั่งมองเห็นเสากระโดงเรือก่อนส่วนอื่นของเรือ</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  <br />\n</span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">เป็นผู้ยืนยันว่าโลกมีสัณฐานโค้ง (กลม) ไม่ใช่แบนอย่างที่เชื่อกันมาก่อน</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">วิชาปรัชญา</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">  </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">โรมันถ่ายทอดเอาปรัชญากรีกมัยเฮเลนิสติคมาใช้</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">                </span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><strong><em>อารยธรรมตะวันออก</em></strong></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">อารยธรรมจีน</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">อารยธรรมจีนเกิดขึ้นครั้งแรกที่ลุ่มแม่น้ำฮวงโห<span>  </span>คือที่ราบตอนปลายของแม่น้ำฮวงโหและแม่น้ำแยงซีเกียง อารยธรรมจีนเจริญโดยได้รับอิทธิพลจากภายนอกน้อยเพราะทิศตะวันออกติดมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตะวันตกและทิศเหนือเป็นทุ่งหญ้า ทะเลทราย และเทือกเขา จีนถือว่าตนเป็นศูนย์กลางของโลก เป็นแหล่งกำเนิดความเจริญ<span>   </span>แหล่งอารยธรรมยุคหินใหม่<span>  </span>ที่พบมีอายุประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสต์กาลที่ตำบล ยางเชา เรียก<b>วัฒนธรรมยางเชา มณฑลเฮอหนาน</b><span>  </span>และ<b>วัฒนธรรมลุงชาน ที่เมือง ลุงชาน มณฑลชานตุง</b><span>  </span>พบ เครื่องมือ เครื่องใช้ทำด้วยหิน กระดูกสัตว์<span>  </span>เครื่องปั้นดินเผา กระดูกวัว กระดองเต่าเสี่ยงทาย</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ราชวงศ์ที่สำคัญของจีน</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ราชวงศ์ ชาง</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>    </span>เป็นราชวงศ์แรกของจีน ประมาณ 1,500 ปีก่อนค.ศ. ที่เมืองอันยาง มณฑลโฮนาน เริ่มมีการตั้งชุมชน และการปกครองแบบนครรัฐ ลักษณะเป็นสังคมเกษตรกรรม มีการประดิษฐ์อักษรภาพ 5,000 ตัวเขียนบนกระดองเต่า มีเทพเจ้าที่สำคัญคือเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>มีการประกอบพิธีบูชาบรรพบุรุษ เซ่นไหว้เทพเจ้าราชวงศ์นี้สิ้นสุด ประมาณ 1,000 ปีก่อนค.ศ.</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ราชวงศ์โจว </span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1,000-221<b> </b>ปี ก่อน ค.ศ. ถือว่าเป็นจุดกำเนิดของสมัยศักดินา (ระบบเฟิงเจี้ยน)และถือว่าเป็นยุคคลาสิกของจีน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มีการมอบกรรมสิทธิ์ที่ดินให้แก่ผู้ที่สนับสนุนราชวงศ์ กำหนดสิทธิหน้าที่ตามลำดับชั้นฐานันดรศักดิ์</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มีการแต่งตั้งผู้แทนกษัตริย์เป็นข้าหลวงประจำหัวเมือง</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มีการกำหนดหลักเกณฑ์ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">“<span lang=\"TH\">เทียนมิ่ง</span>” <span lang=\"TH\">(อาณัติสวรรค์) มอบอำนาจให้กษัตริย์ราชวงศ์โจวปกครอง กษัตริย์มีฐานะเป็นโอรสสวรรค์ ถ้าปกครองด้วยความยุติธรรม หากปกครองโดยไร้คุณธรรมกษัตริย์จะถูกเพิกถอนจากผู้ทรงคุณธรรม ถือเป็นแนวคิดที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของจีนตลอด 2 พันปี</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>4.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เกิดนักปรัชญาเมธีที่ส่งผลให้ราชวงศ์โจวเป็นยุคทองของภูมิปัญญาที่ส่งผลต่อความเชื่อ ค่านิยม ปรัชญาของสังคมจีนในสมัยนี้ ระบบราชการจะยึดแนวอุดมการณ์ของขงจื๊อ<span>  </span>คือผู้ปกครองเป็นตัวแทนของกษัตริย์ต้องปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>   </span><span lang=\"TH\">แนวคิของขงจื๊อและเล่าจื๊อ มุ่งแสวงหาหลักของศีลธรรมจรรยาและความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม เน้นการทำหน้าที่ของตน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระบบครอบครัว</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ของจีนยึดความกตัญญูและนับถือผู้อาวุโสตามหลักคำสอนของขงจื๊อ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หลักคำสอนของขงจื๊อ<span>  </span>ถือว่า</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มนุษย์ที่สมบูรณ์เพียบพร้อมที่สุดคือเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แนวคำสอนที่เป็นพื้นฐานของภูมิปัญญาจีนที่เชื่อว่าปัญหาต่างๆในสังคมเกิดจากคนแต่ละคน การแก้ปัญหาทางหนึ่งคือการฝึกฝนตนเองการอบรมตนเอง<span>  </span>และสามารถปกครองครอบครัวได้เมื่อปกครองครอบครัวได้ก็สามารถปกครองแค้วนได้ คุณธรรมประกอบด้วย<b>หลัก 5 ประการ</b><span>  </span>ความสุภาพ<span>  </span>มีใจโอบอ้อมอารี<span>  </span>จริงใจ<span>  </span>ตั้งใจ<span>  </span>เมตตากรุณา<span>   </span>คุณธรรมที่สำคัญที่เป็นหัวใจของปรัชญาขงจื๊อคือ <b>เหริน</b> เพราะคำนี้ประกอบด้วย อักขระสองตัวคือ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">“<span lang=\"TH\">คน</span>”<span lang=\"TH\"> กับ </span>“<span lang=\"TH\">สอง</span>”<span lang=\"TH\"> หมายถึงมนุษยสัมพันธ์เป็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์<span>  </span>เหรินคือความรัก ความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ เริ่มจากความรักในบิดา มารดา ความรักในความเป็นพี่น้อง </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ผลงานของขงจื๊อรวบรวมไว้เรียก ตำรับ 5 เล่มของขงจื๊อประกอบด้วย</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อี้จิง ตำรับว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ชูจิง ตำรับว่าด้วยประวัติศาสตร์</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ซือจิง ว่าด้วยกาพย์กลอน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>4.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หลี่จิ้ง ว่าด้วยพิธีการ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>5.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ชุนชิว พงศาวดารฤดูใบไม้ผลิและใบไม้ร่วง<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ลัทธิเต๋า</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> มีอิทธิพลต่อจีนทางด้านศิลปกรรม และมีการผสมกลมกลืนกันระหว่างลัทธิขงจื๊อและพุทธศาสนานิกายมหายาน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">การแพทย์เริ่มในสมัยนี้ มีการตรวจรักษาโรค จับชีพจร ใช้ยาสมุนไพร<span>  </span>รู้คุณสมบัติของแม่เหล็ก (นำมาประดิษฐ์เข็มทิศในสมัยสามก๊ก)<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span><b>ราชวงศ์ จิ๋น</b> 221-207 ปี ก่อนค.ศ. จีนเริ่มเป็นจักรวรรดิ์ พระเจ้าชิวั่งตี่ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้<span>     </span>ยึดหลัก)ปกครองที่เข้มงวดตามหลักนิติธรรม(ฟาเจีย)ของ ซุนจื๊อ ที่เห็นว่ามนุษย์ชั่วร้ายมี กิเลส ตัณหาต้องใช้อำนาจและกฏหมายเป็นเครื่องควบคุม ยกเลิกระบบศักดินา แบ่งเขตการปกครองเป็น 36 มณฑล แต่งตั้งข้าราชการไปปกครอง<span>    </span>จัดระเบียบการเขียนหนังสือ<span>   </span>ทำลายขนบธรรมเนียมประเพณีเดิมและคำสอนของขงจื๊อเผาตำราต่างๆ<span>   </span>มีการสร้างกำแพงเมืองจีน ค้นพบ ดินปืนเป็นชาติแรก </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span>มาตราชั่งตวง วัด<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ราชวงศ์ ฮั่น</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">202 ปีก่อน ค.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">–<span lang=\"TH\"> ค.ศ.221 มีการฟื้นฟูปรัชญาและวรรณกรรมที่มีการเผาในสมัยราชวงศ์ ฉินหรือ จิ๋น นำหลักการของขงจื๊อมาใช้ในการปกครองประเทศ มีการสอบเข้ารับราชการหรือ ระบบจอหงวน<span>  </span>มีการทำกระดาษจากเปลือกไม้ คิดค้นการทำหมึกจากเขม่าต้นรัก ใช้พู่กันเขียนลงบนกระดาษ<span>  </span>การคำนวณหาอัตราส่วนเส้นผ่าศูนย์กลางกับเส้นรอบวง ประดิษฐ์ลูกคิด เครื่องตรวจแผ่นดินไหว<span>  </span>ในสมัยนี้มีการใช้<b>เส้นทางแพรไหม (</b></span><b>Silk Route<span lang=\"TH\">)</span></b><span lang=\"TH\"> ในการติดต่อค้าขายกับทางตะวันตกเมื่อสิ้นราชวงศ์ฮั่นเกิดการรบแย่งชิงอำนาจนาน 50 ปี เรียก<b>สมัยสามก๊ก</b>จีนแบ่งแยกเป็นแค้วนๆ ค.ศ. 220-265 และ สมัย หกราชวงศ์ ค.ศ.420-589 ราชวงศ์ ซุย ค.ศ.589-618<span>     </span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ราชวงศ์ถัง ค.ศ. 618 -907 </span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>  </span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ถือว่าเป็นยุคทองของวัฒนธรรมจีนทางกวี จิตรกรรมมีการส่งพระ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ยวนชาง (พระถังซัมจั๋งไปสืบพระพุทธศาสนาที่อินเดีย)</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ราชวงศ์ซ้องหรือสุ้ง<span>  </span>ค.ศ. 960-1279 </span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>ฟื้นฟูลัทธิขงจื๊อและ ลัทธิเต๋า เกิดประเพณีรัดเท้าสตรี ต่อมาถูกเผ่ามองโกลรุกราน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ราชวงศ์หงวน ค.ศ. 1279</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> – 1368<span>  </span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นเผ่ามองโกล มีผู้นำชื่อกุบไลข่าน <span> </span>เป็นสมัยที่มีชาวต่างชาติเข้ามาติดต่อค้าขาย รับราชการ เช่น มาร์โค โปโล <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ราชวงศ์หมิง ค.ศ.1368-1644<span>   </span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นำโดยจู<span>  </span>ยวนชางขับไล่มองโกล มีความเจริญในการทำเครื่องเบญจรงค์<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ราชวงศ์ชิง ค.ศ.1644-1911 </span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เป็นชนเผ่าแมนจู บังคับให้ผู้ชายจีนไว้หางเปีย ห้ามนำสตรีจีนเข้ามาเป็นนางใน มีวรรณกรรมที่เด่นเกิดขึ้นชื่อ <b>ความฝันในหอแดง</b><span>  </span>สะท้อนสังคมศักดินาของจีนที่กำลังเสื่อม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ยุคใหม่<span>  </span>ผู้แต่งคือ เฉาจัน </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1716135959, expire = 1716222359, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:45978b85d78e8fbabd95fbe1ed1153a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์สากลตามความเข้าใจของข้าพเจ้า

            ศิลปวัฒนธรรมในสมัยโบราณเริ่มต้นเมื่อ 6000 ปีที่แล้ว  โดยมนุยษ์ในยุคนันตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัยมีการดำรงชีพด้วยการเลี้ยงสัตว์ทำการเกษตร  ยุคประวัติศาสตร์เริ่มต้นจากมนุษย์ประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้ โดยชาวสุเมเรียนเป็นพวกคิดค้นประดิษฐืขึ้นใช้เป็นชนกลุ่มแรกของโลก  เนื่องจากประวัติศาสตร์ของโลกมีมาอย่างยาวนาน  นักประวัติศาสตร์จึงมีการแบ่งอารยธรรมต่างที่เกิดขึ้นบนโลกไว้เป็นยุคสมัยไว้ดังนี้

อารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ

แบ่งออกเป็น

1.อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

- เป็นบริเวณที่อุดมสมบูรณืระหว่างแม่น้ำ 2 สาย คือ แม่น้ำโทกริสและแม่น้ำยูเฟรติส จึงทำให้ชนชาติต่างๆแย่งชิงผลัดเปลี่ยนเข้ามาสร้างสรรค์อารยธรรมของตน
- ชาติแรกที่เข้ามา คือ สุเมเรียน ซึ่งมีความเจริญด้านการเกษตร รู้จักการชลประทานและจัดการปกครองแบบนครรัฐได้เป็นครั้งแรก
- ประดิษฐ์อักษรลิ่ม ลงบนแผ่นดินเหนียว มีความเจริญด้านคณิตศาสตร์ เช่น การคูณหาร ถอดรากกำลังสอง เลขฐาน 60 เป็นต้น มีการติดต่อค้าขายกับภายนอก

- นับถือเทพเจ้าหลายองค์ วิหารบูชาเทพเจ้า คือ ซิกกูแรท (Ziggurat)

- บาบิโลเนีย ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมบูราบี ใช้บทลงโทษที่รุนแรง " ตาต่อตา ฟันต่อฟัน " เพื่อสร้างระเบียบและความยุติธรรมให้แก่ดินแดน ถือเป็นกฎหมายฉบับแรกของโลก
-อัสซีเรีย การแกะสลักภาพนูนต่ำ (bas relief) แสดงการสู้รบของกษัตริย์อัสซูร์บาลิปาล รวบรวมงานเขียนไว้ที่ห้องสมุดเมืองนายเวห์ (Nineveh) ซึ่งเป็นห้องสมุดแห่งแรกของโลก

- คาลเดีย สร้างสวนลอยแห่งกรุงบสบิโลน มีความสามารถด้านดาราศาสตร์ แบ่งสัปดาห์ 7 วัน สามารถทำนายสุริยุปราคา และนำดาราศาสตร์มาเป็นเครื่องทำนายชะตาชีวิตมนุษย์
- เปอร์เซีย ระบอบการปกครองแบบจักรวรรดินิยมที่มั่นคง ขยายการค้าไปยังดินแดนต่างๆ

- ฟินิเซีย มีความสามารถด้านการค้า การแลกเปลี่ยนเงินตรา เป็นชาติแรกที่มีเหรียญทองคำใช้ เป็นผู้เผยแพร่วัฒนธรรมของชาติต่างๆในภูมิภาคนี้

2.อารยธรรมลุ่มแม่นําไนล์

ชนชาติที่สร้างอารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์คือ ชาวอิยิปต์โบราณ ซึ่งปัจจุบันมีเชื้อสายอยู่เล็กน้อย เป็นชนกลุ่มน้อยของประเทศ คือ พวกคอปต์ และพวกเฟลละ
ซึ่งมีอาชีพทางทำนา ไม่ใช่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ปัจจุบันซึ่งเป็นชาวอาหรับที่เป็นพวกอพยพมาอยู่ใหม่ภายหลัง อิยิปต์เป็นแหล่งกำเนิดอารยธรรมเก่าแก่ที่สุด
ในบรรดาแหล่งอารยธรรมยุคแรกของโลก ซึ่งมีความเจริญต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนานถึง 2,000 ปี

                ประเทศอิยิปต์และอารยธรรมอิยิปต์อุบัติขึ้นได้เพราะมีแม่น้ำไนล์ หากปราศจากแม่น้ำไนล์ประเทศอิยิปต์ก็จะมีแต่ความแห้งแล้งและทะเลทราย
เหตุนี้เองนักประวัติศาสตร์กรีกสมัยโบราณจึงกล่าวเปรียบเทียบว่า
อิยิปต์คือของขวัญจากแม่น้ำไนล์  (Egypt is the gift of the Nile) “ธิดาแห่งแม่น้ำไนล์

                คำว่า อิยิปต์ นั้น กรีกเป็นผู้ใช้เรียกดินแดนที่เป็นต้นกำเนิกอารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์ก่อน ภายหลังจึงมีผู้เรียกตามอย่างแพร่หลาย ส่วนพวกอิยิปต์โบราณ
เรียกประเทศของเขาว่า
แผ่นดินสีดำ

                คนพื้นเมืองเดิมที่อยู่ในอิยิปต์ก่อนพวกอื่นคือพวกแฮมิติค (Hamitic) เป็นคนผิวดำ ต่อมาพวกผิวขาว (Semitic) ซึ่งเป็นพวกร่อนเร่เลี้ยงสัตว์มีความเจริญกว่า
บุกรุกเข้ามาและสามารถครองความเป็นใหญ่เหนือพวกพื้นเมืองเดิม เมื่อประมาณ 5,000-72,000 ปีก่อนคริสตกาล เรื่องราวสมัยนี้ยังไม่มีบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
นักประวัติศาสตร์ถือว่าเป็นเหตุการณ์ก่อนสมัยราชวงศ์
(Pre-Dynastic) ของประวัติศาสตร์อิยิปต์

การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์อิยิปต์นั้นเพื่อความเข้าใจง่าย นิยมแบ่งเป็น 3 ยุค คือ

(1). สมัยอาณาจักรเดิม (The Old Kingdom)  ระยะเวลาประมาณ              2800-2300 B.C.

(2). สมัยอาณาจักรกลาง (The Middle Kingdom) ระยะเวลาประมาณ      2100-1788 B.C.

(3). สมัยจักรวรรดิ (The Empire Age)  ระยะเวลาประมาณ                        1580-1090  B.C.

อารยธรรมที่อิยิปต์โบราณริเริ่ม

1.ระบบการปกครองอย่างมีแบบแผน  ตอนต้นๆ (สมัยราชอาณาจักรต้นและอาณาจักรกลาง) อิยิปต์ปกครองด้วยระบบเจ้าผู้ปกครองนคร
ฟาโรห์ทรงเป็นทั้งกษัตริย์และประมุขทางศาสนาด้วย ต่อมาบ้านเมืองเจริญขึ้นและขยายตัวกว้างออกไป พระมีอำนาจมากขึ้น ศาสนาจึงแยกตัวออกไป
เป็นหน้าที่ของพระ การปกครองภายใน (ส่วนกลาง) ฟาโรห์ทรงเป็นหัวหน้ารัฐบาลกุมอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และตุลาการ

พลเมืองอิยิปต์โบราณมีหลายชนชั้น แต่ไม่มีการแบ่งวรรณะตายตัว (อย่างอินเดีย) ชนชั้น

ดังกล่าวได้แก่ พระ นักรบ เสมียน ช่าง กรรมกร ชาวนา และพวกทาส สตรีอียิปต์ได้รับการยกย่องและมีสิทธิมาก มีการทำทะเบียนสำมะโนครัวใหม่เพื่อประโยชน์
ในการเรียกเก็บภาษีทุกๆ 3 ปี และมีการออกกฎหมายใช้บังคับเหมือนกันทั่วประเทศ

2.วิศวกรรม เป็นชาติแรกที่รู้จักการใช้เครื่องผ่อนแรง เช่น เลื่อน ลูกรอก และคันกว้าน สำหรับเคลื่อนที่และยกของหนัก มีความเจริญทางด้านวิศวกรรมและชลประทานมาก
เป็นชาติแรกที่ริเริ่มการทดน้ำด้วยวิธีสร้างเขื่อนด้วยคันดิน ขุดทะเลสาบและคูคลองระบายน้ำเพื่อใช้ในการเกษตรและการคมนาคม สำหรับการชลประทานนั้นมีการตรวจสอบ
ระดับน้ำทุกปีเพื่อประโยชน์สำหรับการทดน้ำในปีต่อไป

3.การทำปฏิทิน ตอนแรกใช้ดวงจันทร์เป็นหลัก (จันทรคติ) ปีหนึ่งมี 360 วัน ภายหลังเปลี่ยนมาใช้ระบบสุริยคติ ปีหนึ่งมี 365 วัน แบ่งปีออกเป็น 12 เดือนๆ
หนึ่งมี 30 วัน เศษ 5 วัน ที่เหลือนำไปเพิ่มไว้ที่เดือนสุดท้ายของปีโดยจัดเป็นวันฉลองพืชผลสมัยราชวงศ์ทอเลมีได้มีการเพิ่มวันที่ขาดหายไป 1 วัน
ทุกๆ 4 ปี (อธิกมาส)

                ฤดูกาลปีหนึ่งแบ่งเป็น 3 ฤดูคือฤดูน้ำหลาก ฤดูไถหว่านและฤดูเก็บเกี่ยว การเรียกชื่อปี ตอนแรกตั้งชื่อปีตามเหตุการณ์สำคัญๆที่เกิด เช่น
ปีน้ำมาก ปีไฟไหม้ใหญ่ และปีโรคป่วง ตอนหลังเปลี่ยนนมาใช้นับปีครองราชย์ของฟาโรห์แทน

3.คณิตศาสตร์ เป็นชาติแรกที่รู้จักใช้ความรู้ทางเรขาคณิตในการวัดที่ดินและพบสูตรคำนวณหาพื้นที่วงกลม (Pi R) และกำหนดค่าของ Pi = 3.14

5.อักษรศาสตร์ สมัยราชวงศ์ที่ 1 อิยิปต์เริ่มใช้อักษรรูปภาพ เรียกว่า เฮียโรกริฟฟิก มีทั้งหมด 600 กว่ารูป บางตัวเป็นรูปโดด บางตัวเป็นรูปผสม
(เอารูปโดดมาเรียงกัน) เป็นหมู่ๆหนึ่งเป็นคำหนึ่ง หลายๆหมู่เป็นประโยค คำว่าเฮียโรกริฟฟิคแปลว่า
อักษรหรือหรือรอยสลักอันศักดิ์สิทธิ์
ที่เรียกเช่นนี้เพราะพระเป็นผู้เริ่มใช้อักษรเหล่านี้ก่อนและใช้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา ต่อมาจึงมีการดัดแปลงอักษรดังกล่าวเป็นตัวเขียนหวัด เรียกว่า
อักษรเฮียราติค  ใช้สำหรับเขียนทั่วไป ใช้สำหรับเขียนทั่วไป มี 24 ตัว หลังจากนั้นได้มีการดัดแปลงต่อไปอีกเรียกว่า อักษรเดโมติค
ใช้สำหรับวงการธุรกิจอยู่ระยะหนึ่งแล้วเลิกไป (สันนิษฐานว่ายุ่งยากและไม่สะดวกในการเขียน) ครั้งสุดท้ายหันมาใช้อักษรกรีกผสมอักษรเฮียโรกริฟฟิค
เรียกว่า
อักษรคอปติค อักษรคอปติคนี้ชาวอิยิปต์ได้ใช้สืบต่อกันมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 จึงเปลี่ยนมาใช้ภาษาอาหรับ

                อุปกรณ์การเขียน อิยิปต์เป็นชาติแรกที่คิดทำกระดาษขึ้นใช้ กระดาษดังกล่าวทำจากต้นพาไพรัส ซึ่งมีมากมายตามริมฝั่งแม่น้ำไนล์
คำว่า
paper ในภาษาอังกฤษปัจจุบันมีรากฐานมาจากคำ Papyrus นี่เอง เครื่องเขียนใช้ก้านอ้อ ส่วนหมึกใช้ยางไม้ผสมเขม่า

                วรรณกรรมของอิยิปต์ วรรณกรรมสัคญของอิยิปต์โบราณส่วนใหญ่เป็นวรรณกรรมทางศาสนา เป็นสูตรเวทมนต์คาถาสำหรับผู้ตาย
สาระสำคัญเกี่ยวกับหลักฐานแสดงคุณงามความดี และความประพฤติถูกทำนองคลองธรรมของผู้ตายระหว่างมีชีวิตอยู่ หนังสือดังกล่าวถ้าเขียน
ใส่ม้วนกระดาษพาไพรัสวางไว้ข้างศพผู้ตายเรียกว่า
“Book of the Dead” ถ้าเขียนไว้บนฝาหีบศพ เรียก “Coffin Texts” เขียนไว้ตามผนังกำแพง
พีรามิดเรียก
“Pyramid Texts” วรรณกรรมเกี่ยวกับชีวิตจริงที่มีชื่อเสียงมากของอิยิปต์ได้แกเรื่อง “The Tale of Shiuhe”

6.สถาปัตยกรรม ชาวอิยิปต์โบราณได้รับการยกย่องเป็นสถาปนิกชั้นยอดของโลก สิ่งก่อสร้างที่มีชื่อเสียงยิ่งของอิยิปต์ภาคต่ำได้แก่พีระมิด
สิ่งมหัศจรรย์ 1 ใน 7 สิ่งของโลกโบราณ

                สถาปัตยกรรมมีชื่อเสียงของอิยิปต์สูง ซึ่งได้รับการยกย่องไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าพีระมิดของอิยิปต์ต่ำได้แก่วิหารคาร์นัค และลุคซอร์
ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อสักการบูชาเทพแห่งนครธีบส์ (อามอน)

7.จิตรกรรมและประติมากรรม ตามผนังด้านในของพีระมิด ที่พื้นห้องและบนเพดาน เต็มไปด้วยภาพเขียนระบายสีสวยงามเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับผู้ตาย
สมัยที่ยังมีชีวิตอยู่ภาพเหล่านี้นอกจากแสดงให้เห็นถึงความสามารถในด้านจิตรกรรมและยังเป็นหลักฐานสำคัญและมีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์อีกด้วย

                ด้านประติมากรรม มีการแกะสลักรูปภาพต่างๆประกอบด้วยอักษรเฮียโรกริฟฟิคตามผนังวิหารอย่างงดงาม ภาพสลักที่มีชื่อเสียง
ในด้านความงามได้แก่ภาพหินสลักพระพักตร์ของฟาโรห์คาฟรา (หัวสฟิงค์) และพระเศียรของพระนางเนเฟอร์ติติ (มเหสีฟาโรห์อัคนาตอน)
นอกจากนี้ยังมีรูปสลักเต็มตัวของฟาโรห์ต่างๆพระมเหสีและเทพเจ้าของชาวอิยิปต์ตามหน้าผาและวิหาร (ในนครธีบส์) ล้วนแสดงถึงความเจริญ
และความสามารถของช่างชาวอิยิปต์ บรรดาสิ่งก่อสร้างที่ใช้เสาใหญ่ๆเรียงรายเป็นแนวรองรับหลังคาอาคาร การแกะสลักเสา การตกแต่งหัวเสารูป
ใบปาล์มตลอดจนรูปโค้งเหนือบานประตูหน้าต่าง ฯ อิยิปต์เป็นผู้เริ่มใช้ก่อนชาติอื่นๆได้แบบอย่างไปดัดแปลงสมัยต่อมา สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่เช่นพีรามิด
แม้เวลาจะล่วงเลยมาช้านานยังคงทนถาวรไม่พังทลาย แสดงถึงความรู้เรื่องศูนย์ถ่วงของชาวอิยิปต์

8.ศาสนา ชาวอิยิปต์โบราณนับถือเทพเจ้าหลายองค์ ผู้คนในแต่ละท้องถิ่นแต่ละหมู่ก็จะมีเทพเจ้าประจำของตนเมื่อนับรวมกันแล้ว จึงมีเทพเจ้าและเทพีต่างๆมากกว่าหนึ่งพันองค์ เทพบางองค์เป็นสัตว์ บางองค์เป็นตัวแทนจากธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ และแม่น้ำไนล์ เป็นต้น

9.การแพทย์ ชาวอิยิปต์โบราณมีความรู้ในวิชาการแพทย์ดังต่อไปนี้ คือ

9.1พบวิธีรักษาร่างกายไม่ให้เน่าเปื่อย โดยทำเป็นมัมมี่

9.2ศัลยกรรม แพทย์อิยิปต์โบราณชำนาญการผ่าตัดกระดูก รู้จักใช้น้ำเกลือล้างแผลป้องกันการอักเสบ และใช้น้ำด่างรักษาแผลให้หายเร็ว

9.3ทันตกรรม ทันตแพทย์อิยิปต์โบราณรู้จักใช้ฟันปลอมทำด้วยทองและสามารถอุดฟันผุได้อย่างประณีต

9.4ระบบหมุนเวียนของโลหิต แพทย์อิยิปต์โบราณค้นพบว่าหัวใจเป็นศูนย์กลางของระบบหมุนเวียนโลหิตในร่างกาย

9.5แพทย์อิยิปต์โบราณรู้จักทำสถิติโรคภัยไข้เจ็บที่ปรากฏมากตามท้องถิ่นต่างๆมีการจัดหมวดหมู่และแบ่งประเภทของโรคตามอาการที่ปรากฏด้วย

10.ตุลาการ อิยิปต์โบราณมีศาลพิพากษาคดีต่างๆ 6 ศาล มีหัวหน้าศาลรียกว่า วิเซียร์ ซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของฟาโรห์ด้วย

11.การช่าง ชาวอิยิปต์โบราณมีช่างสกัดหินที่ชำนาญ ฝีมือประณีต มีช่างก่อตึก ช่างประดิษฐ์เครื่องประดับและเครื่องใช้ทำด้วยทองแดง
ช่างทองคำและเพชรพลอย ช่างวาดภาพ ช่างไม้และช่างทำเครื่องปั้นดินเผา

12.การต่างประเทศ เริ่มทำนับตั้งแต่สมัยต้นๆ หลังจากก่อตั้งบ้านเมืองเริ่มด้วยการค้าก่อนสินค้าออกมีชื่อเสียงของอิยิปต์มี ผ้าลินิน กระดาษพาไพรัส
แจกัน เครื่องเพชรพลอยและทอง ส่วนสินค้าเข้าได้แก่ (จากประเทศต่างๆในทวีปยุโรป) วัว ควาย ปลา และเครื่องหอม เรือยานพาหนะและล้อเลื่อน
(จากซีเรีย) งาช้าง ขนนกกระจอกเทศ (จากนูเบีย) และเหล็ก (จากฮิตไตท์)

3.อารยธรรมกรีก
การปกครองแบบประชาธิปไตย

  1. ความเจริญด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์สาขาต่างๆ เช่น

2.1 วิชาชีววิทยาเบื้องต้น

2.2 ริเริ่มการวินิจฉัยโรค และเก็บรายงานประวัติคนไข้

ข้อควรทราบ

  1. ผู้ริเริ่มวิชาชีววิทยา คือ อริสโตเติล
  2. แพทย์กรีกคนแรกที่ค้นพบว่าหัวใจ คืออวัยวะที่ทำหน้าที่สูบฉีดโลหิตคือ อเลเมออน
  3. ผู้นำทางวิชาการแพทย์ของกรีก คือ เอมพีโดคลีส
  4. คนแรกที่ริเริ่มทำศัลยกรรม และการใช้ยาบำบัดโรคคือ ฮิพพอคราตีส ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งการแพทย์
  1. ความเจริญด้านอักษรศาสตร์

3.1   ร้อยกรอง กรีกเป็นผู้ให้กำเนิดการประพันธ์ประเภทกาพย์ และกลอน(ซึ่งยุโรปรับถ่ายทอดในสมัยต่อมา) กาพย์ที่สำคัญที่ดีเด่นลีลาการใช้ภาษา และสำนวนได้แก่มหาหาพย์ชื่ออีเลียด และโอดีสซี ของกวีเอกชื่อ โอเมอร์ เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการสดุดีวีรกรรมของวีรบุรุษ

3.2   การละคร มีการกำเนิดมาจากการละเล่นเพื่อบูชาเทพเจ้า ภายหลังมีผู้นำมาใช้แสดงละคร

3.3   โคลงและกลอน กวีกรีกที่มีชื่อเสียง ได้แก่ เฮซอย ได้รับสมญานาณว่า นักประพันธ์ขวัญใจชาวนา พินดาร์ แซฟโฟ เป็นต้น

3.4    การเขียนประวัติศาสตร์ ปราชญ์กรีกได้รับการยกย่องว่าเป็น บิดาแห่งประวัติศาสตร์ คือ เฮโรโดตุส

  1. ความเจริญด้านศิลป์

ศิลปะของกรีกมีชื่อเรื่องความงาม ความละเอียดอ่อนและความประณีต เป็นความเจริญที่มีพร้อมทั้งในด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรมและวิจิตรศิลป์

  1. ด้าน๕ณิตศาสตร์ ปราชญ์กรีกชื่อ ไพธากอรัส เป็นผู้สร้างทฤษฎีบททางเรขาคณิต ที่ว่าพื้นที่จัตุรัสบนด้านทแยงของสามเหลียมมุมฉาก เท่ากับผลบวกของพื้นที่สี่เหลี่ยมจุตุรัสบนด้านที่เหลืออีกสองด้าน
  2. ด้านภูมิศาสตร์  ปราชญ์กรีกที่ชือ่ เอราทอสทีเทส ใช้ความรู้วิชาตรีโกณมิติคำนวณขนาดของโลกได้ใกล้เคียงกับความเป็นจริง (สมัยปัจจุบัน) มากที่สุดเปฌนคนแรก และต่อมา คลอดอุส ทอเลมี นำผลงานของเอราทอสทีเนสมาใช้ในการทำแผนที่โลก ทำให้ได้แผนที่โลกที่ดีที่สุดมีใช้กันในยุคนั้น
  3. ด้านปรัชญา ปรัชญาสาขาต่างๆที่กรีกโบราณริเริ่มได้แก่

1.  จักรวาลวิทยา  ความจริงเรื่องโลก

2.  ญานวิทยา  ค้นคว้าเรื่องขอบเขต และความสามารถทางความรู้ของมนุษย์

3.  ตรรกวิทยา หลักควบคุมความคิดที่ถูกต้อง

4.  จริยศาสตร์

5.  สุนทรียศาสตร์ ว่าด้วยความงามที่แท้จริง


4.อารยธรรมโรมัน

ส่วนใหญ่ได้รับการถ่ายทอดมาจากกรีก แต่ได้นำมาปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นอยู่ของสังคมโรมันและบางอย่างก็ได้รับการปรับปรุง
ให้ก้าวหน้ากว่ากรีก

1.   ด้านการปกครอง   โรมันเป็นผู้คิดการปกครองแบบสาธารณะรัฐ

2.   ด้านกฎหมาย   และการเมือง เจริญก้าวหน้ายิ่งกว่าชาติอื่นๆ กฎหมายของโรมันเป็นกฎหมายที่มีลักษณะยืดหยุ่นตายตัว เริ่มด้วยกฎหมาย 12 โต๊ะ
หลังจากนั้นก็มีกฎหมายเพิ่มเติมเรื่อยๆโดยสภาซีเนต

3.   สถาปัตยกรรม  แม้ส่วนใหญ่จะได้รับแบบอย่างมาจากกรีกแต่ก็ได้มีการดัดแปลงและประดิษฐ์คิดค้นขึ้นเองด้วย

3.1   สถาปัตยกรรมที่เป็นแบบฉบับของโรมันแท้ได้แก่ สิ่งก่อสร้างรูปโดมตอนส่วนบนของอาคารประตูชัย ท่อระบายน้ำ และประชุมกลางเมืองที่เรียกว่า ฟอรุม

3.2   สถาปัตยกรรมที่โรมันนำของกรีกมาดัดแปลงได้แก่การใช้เสาระเบียงจำนวนน้อยกว่าอาคารของกรีก ส่วนแบบการก่อสร้างรูปโค้งเหนือประตูและหน้าต่าง
อาคารนั้น โรมันดัดแปลงมาจากอีทรัสแคน

ข้อควรทราบ

1.โรมันเป็นชาติแรกที่ทำคอนกรีตขึ้นใช้

2. สถาปัตยกรรมโรมันส่วนใหญ่เน้นที่ประโยชน์ใช้สอย ขนาด ( ใหญ่โตและแข็งแรง) และความสง่างาม (ด้วยการตกแต่งประดับประดาอย่างหรูหราและโออ่า

3. ตัวอย่างสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงของโรมันได้แก่ วิหารพาเธนอน หลังคารูปโดม ในกรุงโรม อัฒจันทร์สำหรับดูกีฬา โคลอสเซียม ซึ่งจุผู้ดูได้ถึง 4,500 คน
สร้างในสมัยจักรพรรดิตีตุสเมื่อ ค.ศ.80

4.ประติมากรรม โรมันำแบบอย่างของกรีกมาดัดแปลง แต่เน้นที่ความโอ่อ่า ความสง่างามและความเข้มแข็ง นิยมแกะสลักภาพเต็มตัวและภาพนูน

5. ทางหลวงแผ่นดิน เป็นชาติแรกที่สร้างถนนกว้าง 25x10 ฟุต ปูด้วยหินลงรากลึกหลายฟุต ใช้ได้ทุกฤดูกาล ทางหลวงแผ่นดินที่มีชื่อเรียกว่า Via Appia
สร้างเมื่อ 300 ปีก่อนคริสตกาล ยังปรากฏอยู่จนตราบเท่าปัจจุบัน

6. การแพทย์และการสาธารณสุข

6.1 เป็นชาติแรกที่สามารถทำคลอดทารกโดยวิธีผ่าตัดทางหน้าท้อง วิธีดังกล่าวเรียกว่า ศัลยกรรมแบบซีซาร์ นอกจากนี้ยังมีความรู้ความสามารถในการผ่าตัด
โรคคอพอกและนิ่ว

6.2 เป็นชาติแรกที่ให้กำเนิดโรงพยาบาลแห่งแรกในยุโรป

6.3 จัดให้มีการรักษาความสะอาดในกรุงโรม มีทางระบายโสโครก จัดหาน้ำสะอาดสำหรับใช้บริโภค และมีการลำเลียงน้ำจากแหล่งน้ำไปสู่แหล่งกันดารน้ำด้วยระบบท่อ

6.4แพทย์โรมันชื่อ กาเลน รวบรวมและจัดทำตำรับยา

6.5 มีสถานที่อาบน้ำสาธารณะทั่วไป

7. ด้านอักษรศาสตร์

                ให้กำเนิดภาษาละติน วรรณกรรมส่วนใหญ่เลียนแบบกรีก และนำมาปรับปรุงและดัดแปลงเป็นแบบฉบับของตนเอง  วรรณกรรมดังกล่าวมีทั้งบทละคร
ร้อยแก้ว ร้อยกรอง และประวัติศาสตร์

                 กวีและวรรณคดีมีชื่อเสียงของโรมันที่ควรทราบ ประเภทร้อยกรอง ได้แก่

1. เวอร์จิล (Virgil) 70-91 ปีก่อนคริสตกาล ผู้แต่งมหากาพย์ชื่อ เอเนียด (Aeneid) สดุดีออกัสตุสซีซาร์  ท่านผู้นี้ได้สมญาว่า โฮเมอร์แห่งโรมัน

2. โฮเรซ (Horace) 65-8 ปีก่อนคริสตกาล เป็นกวีที่มีชื่อเสียงรองลงมาจากเวอร์จิล เขียนบทกวีนิพนธ์เกี่ยวกับชีวิตชาวไร่และชนบท

3. โอวิด (Ovid) 43 B.C.-17 A.D. เขียนโคลงกลอนพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องราวของความรัก

ประเภทบทละคร  นิยมการแสดงละครประเภทตลกขบขันและละครใบ้มากกว่าอย่างอื่น นักแต่งบทละครที่มีชื่อเสียงที่ควรทราบได้แก่ พลอตุส
(
Plautus) และเทอร์เรนซ์ (Terence)

        ประเภทร้อยแก้ว นักขียนที่มีชื่อเสียง ได้แก่

1. ซิเซโร (Cicero) มีชื่อเสียงในการแสดงและเขียนสุนทรพจน์ จดหมายละเรียงความ  

2. จูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar) เขียนหนังสือแสดงข้อคิดเห็นในการปราบปรามแคว้นโกลด้วยสำนวนง่ายๆตรงไปตรงมา

         ประเภทประวัติศาสตร์

1. ลีวี่ (Livy) 59- B.C-17 A.D. เขียนประวัติศาสตร์กรุงโรมนับตั้งแต่สมัยเริ่มสร้างจนถึงประมาณ 9 ปีก่อนคริสตกาล

2. แทคซิตุส (Tacitus) ค.ศ. 55-117 เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตและความเป็นอยู่ของอารยชนเผ่าเยอรมาเนียและจดหมายเหตุกรุงโรม
ตั้งแต่สมัยออกัสตุสซีซาร์ถึงสมัยเนโร

 วิชาภูมิศาสตร์  ชาวโรมันชื่อไพลนี่ (Pliny The Elder) สังเกตเห็นเรือที่แล่นจากทะเลเข้าสู่ฝั่งมองเห็นเสากระโดงเรือก่อนส่วนอื่นของเรือ 
เป็นผู้ยืนยันว่าโลกมีสัณฐานโค้ง (กลม) ไม่ใช่แบนอย่างที่เชื่อกันมาก่อน

วิชาปรัชญา  โรมันถ่ายทอดเอาปรัชญากรีกมัยเฮเลนิสติคมาใช้                

อารยธรรมตะวันออก

อารยธรรมจีน

อารยธรรมจีนเกิดขึ้นครั้งแรกที่ลุ่มแม่น้ำฮวงโห  คือที่ราบตอนปลายของแม่น้ำฮวงโหและแม่น้ำแยงซีเกียง อารยธรรมจีนเจริญโดยได้รับอิทธิพลจากภายนอกน้อยเพราะทิศตะวันออกติดมหาสมุทรแปซิฟิก ทางตะวันตกและทิศเหนือเป็นทุ่งหญ้า ทะเลทราย และเทือกเขา จีนถือว่าตนเป็นศูนย์กลางของโลก เป็นแหล่งกำเนิดความเจริญ   แหล่งอารยธรรมยุคหินใหม่  ที่พบมีอายุประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสต์กาลที่ตำบล ยางเชา เรียกวัฒนธรรมยางเชา มณฑลเฮอหนาน  และวัฒนธรรมลุงชาน ที่เมือง ลุงชาน มณฑลชานตุง  พบ เครื่องมือ เครื่องใช้ทำด้วยหิน กระดูกสัตว์  เครื่องปั้นดินเผา กระดูกวัว กระดองเต่าเสี่ยงทาย

ราชวงศ์ที่สำคัญของจีนราชวงศ์ ชาง    เป็นราชวงศ์แรกของจีน ประมาณ 1,500 ปีก่อนค.ศ. ที่เมืองอันยาง มณฑลโฮนาน เริ่มมีการตั้งชุมชน และการปกครองแบบนครรัฐ ลักษณะเป็นสังคมเกษตรกรรม มีการประดิษฐ์อักษรภาพ 5,000 ตัวเขียนบนกระดองเต่า มีเทพเจ้าที่สำคัญคือเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ มีการประกอบพิธีบูชาบรรพบุรุษ เซ่นไหว้เทพเจ้าราชวงศ์นี้สิ้นสุด ประมาณ 1,000 ปีก่อนค.ศ.ราชวงศ์โจว 1,000-221 ปี ก่อน ค.ศ. ถือว่าเป็นจุดกำเนิดของสมัยศักดินา (ระบบเฟิงเจี้ยน)และถือว่าเป็นยุคคลาสิกของจีน1.       มีการมอบกรรมสิทธิ์ที่ดินให้แก่ผู้ที่สนับสนุนราชวงศ์ กำหนดสิทธิหน้าที่ตามลำดับชั้นฐานันดรศักดิ์2.       มีการแต่งตั้งผู้แทนกษัตริย์เป็นข้าหลวงประจำหัวเมือง3.       มีการกำหนดหลักเกณฑ์ เทียนมิ่ง(อาณัติสวรรค์) มอบอำนาจให้กษัตริย์ราชวงศ์โจวปกครอง กษัตริย์มีฐานะเป็นโอรสสวรรค์ ถ้าปกครองด้วยความยุติธรรม หากปกครองโดยไร้คุณธรรมกษัตริย์จะถูกเพิกถอนจากผู้ทรงคุณธรรม ถือเป็นแนวคิดที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของจีนตลอด 2 พันปี4.       เกิดนักปรัชญาเมธีที่ส่งผลให้ราชวงศ์โจวเป็นยุคทองของภูมิปัญญาที่ส่งผลต่อความเชื่อ ค่านิยม ปรัชญาของสังคมจีนในสมัยนี้ ระบบราชการจะยึดแนวอุดมการณ์ของขงจื๊อ  คือผู้ปกครองเป็นตัวแทนของกษัตริย์ต้องปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชน   แนวคิของขงจื๊อและเล่าจื๊อ มุ่งแสวงหาหลักของศีลธรรมจรรยาและความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม เน้นการทำหน้าที่ของตนระบบครอบครัว ของจีนยึดความกตัญญูและนับถือผู้อาวุโสตามหลักคำสอนของขงจื๊อหลักคำสอนของขงจื๊อ  ถือว่ามนุษย์ที่สมบูรณ์เพียบพร้อมที่สุดคือเพียบพร้อมด้วยคุณธรรมแนวคำสอนที่เป็นพื้นฐานของภูมิปัญญาจีนที่เชื่อว่าปัญหาต่างๆในสังคมเกิดจากคนแต่ละคน การแก้ปัญหาทางหนึ่งคือการฝึกฝนตนเองการอบรมตนเอง  และสามารถปกครองครอบครัวได้เมื่อปกครองครอบครัวได้ก็สามารถปกครองแค้วนได้ คุณธรรมประกอบด้วยหลัก 5 ประการ  ความสุภาพ  มีใจโอบอ้อมอารี  จริงใจ  ตั้งใจ  เมตตากรุณา   คุณธรรมที่สำคัญที่เป็นหัวใจของปรัชญาขงจื๊อคือ เหริน เพราะคำนี้ประกอบด้วย อักขระสองตัวคือ คน กับ สอง หมายถึงมนุษยสัมพันธ์เป็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์  เหรินคือความรัก ความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ เริ่มจากความรักในบิดา มารดา ความรักในความเป็นพี่น้อง                 ผลงานของขงจื๊อรวบรวมไว้เรียก ตำรับ 5 เล่มของขงจื๊อประกอบด้วย1.       อี้จิง ตำรับว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง2.       ชูจิง ตำรับว่าด้วยประวัติศาสตร์3.       ซือจิง ว่าด้วยกาพย์กลอน4.       หลี่จิ้ง ว่าด้วยพิธีการ5.       ชุนชิว พงศาวดารฤดูใบไม้ผลิและใบไม้ร่วงลัทธิเต๋า มีอิทธิพลต่อจีนทางด้านศิลปกรรม และมีการผสมกลมกลืนกันระหว่างลัทธิขงจื๊อและพุทธศาสนานิกายมหายานการแพทย์เริ่มในสมัยนี้ มีการตรวจรักษาโรค จับชีพจร ใช้ยาสมุนไพร  รู้คุณสมบัติของแม่เหล็ก (นำมาประดิษฐ์เข็มทิศในสมัยสามก๊ก)  ราชวงศ์ จิ๋น 221-207 ปี ก่อนค.ศ. จีนเริ่มเป็นจักรวรรดิ์ พระเจ้าชิวั่งตี่ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้     ยึดหลัก)ปกครองที่เข้มงวดตามหลักนิติธรรม(ฟาเจีย)ของ ซุนจื๊อ ที่เห็นว่ามนุษย์ชั่วร้ายมี กิเลส ตัณหาต้องใช้อำนาจและกฏหมายเป็นเครื่องควบคุม ยกเลิกระบบศักดินา แบ่งเขตการปกครองเป็น 36 มณฑล แต่งตั้งข้าราชการไปปกครอง    จัดระเบียบการเขียนหนังสือ   ทำลายขนบธรรมเนียมประเพณีเดิมและคำสอนของขงจื๊อเผาตำราต่างๆ   มีการสร้างกำแพงเมืองจีน ค้นพบ ดินปืนเป็นชาติแรก  มาตราชั่งตวง วัดราชวงศ์ ฮั่น202 ปีก่อน ค.ศ. ค.ศ.221 มีการฟื้นฟูปรัชญาและวรรณกรรมที่มีการเผาในสมัยราชวงศ์ ฉินหรือ จิ๋น นำหลักการของขงจื๊อมาใช้ในการปกครองประเทศ มีการสอบเข้ารับราชการหรือ ระบบจอหงวน  มีการทำกระดาษจากเปลือกไม้ คิดค้นการทำหมึกจากเขม่าต้นรัก ใช้พู่กันเขียนลงบนกระดาษ  การคำนวณหาอัตราส่วนเส้นผ่าศูนย์กลางกับเส้นรอบวง ประดิษฐ์ลูกคิด เครื่องตรวจแผ่นดินไหว  ในสมัยนี้มีการใช้เส้นทางแพรไหม (Silk Route) ในการติดต่อค้าขายกับทางตะวันตกเมื่อสิ้นราชวงศ์ฮั่นเกิดการรบแย่งชิงอำนาจนาน 50 ปี เรียกสมัยสามก๊กจีนแบ่งแยกเป็นแค้วนๆ ค.ศ. 220-265 และ สมัย หกราชวงศ์ ค.ศ.420-589 ราชวงศ์ ซุย ค.ศ.589-618     ราชวงศ์ถัง ค.ศ. 618 -907   ถือว่าเป็นยุคทองของวัฒนธรรมจีนทางกวี จิตรกรรมมีการส่งพระ ยวนชาง (พระถังซัมจั๋งไปสืบพระพุทธศาสนาที่อินเดีย)ราชวงศ์ซ้องหรือสุ้ง  ค.ศ. 960-1279  ฟื้นฟูลัทธิขงจื๊อและ ลัทธิเต๋า เกิดประเพณีรัดเท้าสตรี ต่อมาถูกเผ่ามองโกลรุกรานราชวงศ์หงวน ค.ศ. 1279 – 1368  เป็นเผ่ามองโกล มีผู้นำชื่อกุบไลข่าน  เป็นสมัยที่มีชาวต่างชาติเข้ามาติดต่อค้าขาย รับราชการ เช่น มาร์โค โปโล ราชวงศ์หมิง ค.ศ.1368-1644   นำโดยจู  ยวนชางขับไล่มองโกล มีความเจริญในการทำเครื่องเบญจรงค์ราชวงศ์ชิง ค.ศ.1644-1911 เป็นชนเผ่าแมนจู บังคับให้ผู้ชายจีนไว้หางเปีย ห้ามนำสตรีจีนเข้ามาเป็นนางใน มีวรรณกรรมที่เด่นเกิดขึ้นชื่อ ความฝันในหอแดง  สะท้อนสังคมศักดินาของจีนที่กำลังเสื่อมก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ยุคใหม่  ผู้แต่งคือ เฉาจัน

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 205 คน กำลังออนไลน์