กาพย์เห่เรือ

กาพย์เห่เรือ                                       ที่มา              ประเพณีการเห่เรือของไทยมี    ประเภท  คือ ๑.  เห่เรือหลวง  เป็นการเห่ในพระราชพิธี  ในสมัยโบราณสันนิษฐานว่าใช้ภาษาสันสกฤตของอินเดีย  ซึ่งเป็นมนต์ในตำราไสยศาสตร์  ต่อมาได้นำบทพระราชนิพน์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์มาใช้เห่เรือหลวง ๒.  เห่เรือเล่น  เห่ในเวลาแล่นเรือเที่ยวแตร่  เพื่อความรื่นเริงและให้ฝีพายพายพร้อมๆ  กัน  การเห่เรือเล่นใช้ภาษาไทย  การพายใช้สองจังหวะคือ  จังหวะจ้ำกับจังหวะปกติ     การเห่เรือหลวงมี    อย่างคือ  เห่โคลงนำกาพย์  หรือเกริ่นโครง  เมื่อพระเจ้าแผ่นดินลงประทับในเรือพระที่นั่ง  ขณะเรือพระที่นั่งแล่นระหว่างทางใช้ทำนอง  ช้าละวะเห่  ซึ่งเป็นทำนองเห่ช้าพลพายนกบินจังหวะช้า  พอจวนถึงที่ประทับใช้ทำนอง  สวะเห่  ระหว่างทางในการเดินทางกลับเป็นทำนอง  มูลเห่  เมื่อจบบทพายจ้ำสามทีส่งทุกบท              ๑.  อธิบายเนื้อเรื่องกาพย์เห่เรือได้           ๒.  พิจารณาคุณค่าวรรณศิลป์จากเรื่องกาพย์เห่เรือได้ ผู้แต่ง   เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์  (เจ้าฟ้ากุ้ง) เนื้อเรื่องย่อ                 กาพย์เห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์มี    ตอน  ตอนที่      ชมพยุหยาตราทางชลมารคตั้งแต  "พระเสด็จโดยแดนชล  ทรงเรือต้นงามเฉิดฉาย"  ต่อจากชมกระบวนเรือ  ว่าด้วยชมปลา  ชมไม้  ชทนก  เป็นลักษณะนิราศ  กาพย์เห่เรือเรื่องนี้เห็นได้ในสำนวนว่าเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ทรงนิพนธ์สำหรับเห่เรือของท่านเอง  เวลาตามเสด็จขึ้นพระพุทธบาทออกจากจังหวัดพระนครศรีอยุทธยาแต่เช้า  พอตกเย็นก็ถึงท่าเจ้าสนุก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 482 คน กำลังออนไลน์