• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f9e796519c7e280c9e420c5b9d188452' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: navy\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ตำแหน่งดาวเคราะห์ ปี พศ.</span></span></b><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: navy\">2552</span></b></span></p>\n<p>   <span style=\"font-family: Tahoma; color: #0000cc\"> </span><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เนื่องจากดาวเคราะห์เป็นดาวที่ไม่อยู่นิ่งกับที่จึงไม่สามารถแสดงตำแหน่งที่แน่นอนบนแผนที่ดาวได้</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\">  <b> </b><span lang=\"TH\">การสังเกตดาวเคราะห์จะใช้ควบคู่ไปกับแผนที่ดาว เมื่อรู้บริเวณกลุ่มดาวที่ดาวเคราะห์อยู่ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มดาวในแนวจักราศี เราก็จะทราบตำแหน่งและเวลาที่เหมาะสมในการสังเกตดาวเคราะห์ได้</span></span></span><span style=\"color: #0000cc\"><br />\n<span style=\"font-size: small\">    </span><a target=\"_blank\" href=\"http://www.darasart.com/startonight/planet/planet.htm\"><span style=\"color: #0000cc; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"font-size: small\">(<span lang=\"TH\">อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้เรื่องดาวเคราะห์)</span></span></span></a></span><br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"> <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></p>\n<div align=\"center\">\n<table cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" border=\"0\" style=\"border-collapse: collapse\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 523.5pt; border: #ece9d8; padding: 0cm\" vAlign=\"top\" width=\"698\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape o:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"z-index: 1; position: absolute; margin-top: -187.9pt; width: 90pt; height: 90pt; margin-left: -90pt\" id=\"_x0000_s1026\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><v:imagedata o:title=\"mercury\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\com_de\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.gif\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></span></span></v:shape><b><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">  </span><span style=\"color: teal\" lang=\"TH\">ดาวพุธ (</span><span style=\"color: teal\">Mercury)</span></span></span></b><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">  <span lang=\"TH\">ดาวเคราะห์วงในสุดของระบบสุริยะที่มีการเปลี่ยนตำแหน่งเร็วที่สุด </span></span></span><span style=\"color: red\"><br />\n </span><span style=\"color: #000000; font-size: small\">  <span lang=\"TH\">ดังนั้นการเลือกช่วงเวลาที่จะดูดาวพุธควรอยู่ระหว่างตำแหน่ง </span>Greatest Elongation <span lang=\"TH\">กับตำแหน่ง </span>Conjunction <span lang=\"TH\">ยิ่งเราสังเกตดาวพุธช่วงใกล้ตำแหน่ง </span>Conjunction <span lang=\"TH\">มากเท่าไร่ก็จะเห็นดาวพุธอยู่ใกล้ขอบฟ้ามากขึ้นเช่นกัน เราจึงควรเลือกวันที่จะดูดาวพุธในวันที่ใกล้กับช่วง </span>Greatest Elongation </span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">จึงดีที่สุด<br />\n </span>      <span lang=\"TH\"> </span><br />\n        <b><span lang=\"TH\">ตารางตำแหน่งที่สำคัญๆของดาวพุธ และกลุ่มดาวที่ดาวพุธอยู่</span></b></span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span>\n<table cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" border=\"1\" style=\"width: 100%; border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoNormalTable\" width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal; font-size: 10pt\">Greatest Elongation East<br />\n <span lang=\"TH\">สูงสุดทางขอบฟ้าตะวันตก</span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: maroon 1pt inset; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal; font-size: 10pt\">Inferier conjunction<br />\n <span lang=\"TH\">ด้านหน้าดวงอาทิตย์</span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: maroon 1pt inset; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal; font-size: 10pt\">Greatest Elongation West<br />\n <span lang=\"TH\">สูงสุดทางขอบฟ้าตะวันออก</span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: maroon 1pt inset; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal; font-size: 10pt\">Superier conjunction<br />\n <span lang=\"TH\">ด้านหลังดวงอาทิตย์</span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: maroon 1pt inset; background-color: transparent; width: 25%; border-top: #ece9d8; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">** 4 ม.ค 52 แพะทะเล</span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><br />\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">24 เมย.52</span>       <span lang=\"TH\">แกะ</span><br />\n <span lang=\"TH\">26</span> <span lang=\"TH\"> สค.52</span>    </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">หญิงสาว<br />\n 20</span>  <span lang=\"TH\">ธค.52</span>    <span lang=\"TH\">คนยิงธนู</span></span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: #ece9d8; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\">  <span lang=\"TH\">20</span>  <span lang=\"TH\">มค. 52</span> <span lang=\"TH\"> แพะทะเล</span><br />\n   <span lang=\"TH\">19 พค.52</span>       <span lang=\"TH\">วัว</span><br />\n  <span lang=\"TH\"> 21 กย.52</span>    <span lang=\"TH\">หญิงสาว</span><br />\n  </span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: #ece9d8; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\">12 กพ.52 แพะทะเล </span><br />\n  <span lang=\"TH\">14 มิย.52</span>   <span lang=\"TH\">วัว</span><br />\n    <span lang=\"TH\">6 ตค.52</span>  <span lang=\"TH\">หญิงสาว</span><br />\n  </span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: #ece9d8; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"> <span lang=\"TH\">31 มีค.52</span> <span lang=\"TH\"> ปลาคู่</span><br />\n  <span lang=\"TH\">14 กค. 52</span>  </span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">คนคู่<br />\n </span>   <span lang=\"TH\">5 พย.52</span> </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> คันชั่ง<br />\n </span> </span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> <span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">    </span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> <br />\n ** เป็นตำแหน่งเริ่มต้นของปี 2552 แล้วไล่ลำดับในตารางจากซ้ายไปขวา</span><br />\n <span lang=\"TH\">หมายเหตุ วันเวลาตามตารางข้างบนอาจคลาดเคลื่อนเล็กน้อย +- 1 วัน </span></span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></p></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 523.5pt; border: #ece9d8; padding: 0cm\" vAlign=\"top\" width=\"698\"><v:shape o:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"z-index: 2; position: absolute; margin-top: -596.6pt; width: 90pt; height: 91.5pt; margin-left: -90pt\" id=\"_x0000_s1027\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:title=\"venus\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\com_de\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image002.gif\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">     </span><b><span style=\"color: teal\" lang=\"TH\">ดาวศุกร์(</span><span style=\"color: teal\">Venus) </span></b><span style=\"color: #000000\"> <br />\n  <span lang=\"TH\">ดาวเคราะห์วงในที่มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งช้ากว่าดาวพุธ ทำให้ในรอบ </span>1 <span lang=\"TH\">ปีเราจะเห็นการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของดาวศุกร์ช้า</span></span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">  <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\">  <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\">  <b><span lang=\"TH\">ตารางตำแหน่งที่สำคัญๆของดาวศุกร์ และกลุ่มดาว</span></b></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"> <o:p></o:p></span></span>\n<div align=\"center\">\n<table cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" border=\"1\" style=\"width: 100%; border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoNormalTable\" width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 25%; border: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal; font-size: 10pt\">Greatest Elongation East<br />\n <span lang=\"TH\">สูงสุดทางขอบฟ้าตะวันตก</span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: maroon 1pt inset; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal; font-size: 10pt\">Inferier conjunction<br />\n <span lang=\"TH\">ด้านหน้าดวงอาทิตย์</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 10pt\"> </span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: maroon 1pt inset; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal; font-size: 10pt\">Greatest Elongation West<br />\n <span lang=\"TH\">สูงสุดทางขอบฟ้าตะวันออก</span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: maroon 1pt inset; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal; font-size: 10pt\">Superier conjunction<br />\n <span lang=\"TH\">ด้านหลังดวงอาทิตย์</span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: maroon 1pt inset; background-color: transparent; width: 25%; border-top: #ece9d8; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">** 14 มค. 52 <br />\n </span><span style=\"font-family: Tahoma\"> <span lang=\"TH\">คนแบกหม้อน้ำ</span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: #ece9d8; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"> </span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"> 28 มีค.52 ปลาคู่<br />\n </span> </span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: #ece9d8; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">    <span lang=\"TH\">14 มิย.52</span> <span lang=\"TH\"> แกะ</span><br />\n  </span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n<td style=\"border-bottom: maroon 1pt inset; border-left: #ece9d8; background-color: transparent; width: 25%; border-top: #ece9d8; border-right: maroon 1pt inset; padding: 3.75pt\" vAlign=\"top\" width=\"25%\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><br />\n </span><span style=\"color: #000000; font-size: small\"> </span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">** เป็นตำแหน่งเริ่มต้นของปี 2552 แล้วไล่ลำดับในตารางจากซ้ายไปขวา<br />\n </span><span style=\"font-family: Tahoma\">  <span lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span></span></p></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 523.5pt; border: #ece9d8; padding: 0cm\" width=\"698\"><v:shape o:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"z-index: 3; position: absolute; text-align: left; margin-top: -185.35pt; width: 90pt; height: 90pt; margin-left: -90pt; left: 0px\" id=\"_x0000_s1028\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><v:imagedata o:title=\"mars\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\com_de\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image003.gif\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></span></span></v:shape><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">      </span><b><span style=\"color: teal\" lang=\"TH\">ดาวอังคาร</span><span style=\"color: teal\"> (Mars) </span></b><span style=\"color: #000000\">  <span lang=\"TH\"> </span><br />\n       <span lang=\"TH\">เข้าช่วงต้นปี 52 ดาวอังคาร ยังคงอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์อยู่ เนื่องจากดาวอังคารพึ่งจะ</span> Conjunction <span lang=\"TH\">หรืออยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์เมื่อเดือนธันวาม </span>51 <span lang=\"TH\">ที่ผ่านมา และจะค่อยๆออกห่างจากดวงอาทิตย์เรื่อยๆ โดยจะมาปรากฏให้เห็นก่อนรุ่งเช้าในกลุ่มดาวคนยิงธนูช่วงต้นเดือนมกราคม </span>52 <span lang=\"TH\">เป็นต้นไป ความสว่าง</span> 1.5  <span lang=\"TH\">แล้วเคลื่อนตัวเปลี่ยนตำแหน่งจักราศีไปทาง แพะทะเล</span> <span lang=\"TH\"> คนแบกหม้อน้ำ</span>  <span lang=\"TH\">ปลาคู่ ... ไปเรื่อยๆ</span>  <span lang=\"TH\"> ซึ่งเราจะเห็นดาวอังคารทางขอบฟ้าตะวันออกเร็วขึ้นทุกวัน จากเดิมช่วงต้นปี 52 จะเห็นตอนใกล้รุ่ง ก็จะมาเริ่มเห็นตอน ตี4 ตี3.. เร็วขึ้นเรื่อยๆ จน ถึงช่วงปลายปี 52 ในเดือนธันวาคม</span>  <span lang=\"TH\">ดาวอังคารจะมาอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต และเห็นได้ตอนประมาณ 22 น. และมีความสว่างเพิ่มขึ้น เป็น -0.5</span>  </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> <br />\n </span>    <span lang=\"TH\">ดาวอังคารจะมาอยู่ที่ตำแหน่ง </span>Opposition <span lang=\"TH\">อีกครั้งประมาณวันที่ 29 มกราคม 2553 ซึ่งเราจะเห็นดาวอังคารสว่างสุกใส </span>(mag -1.2) <span lang=\"TH\">ทางขอบฟ้าตะวันออกตั้งแต่หัวค่ำ</span></span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><span style=\"color: #000000\"> <o:p></o:p></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 523.5pt; border: #ece9d8; padding: 0cm\" width=\"698\"><v:shape o:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"z-index: 4; position: absolute; margin-top: -399.1pt; width: 97.5pt; height: 97.5pt; margin-left: -90pt\" id=\"_x0000_s1029\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:title=\"jupiter\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\com_de\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image004.gif\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">    </span><b><span style=\"color: teal\" lang=\"TH\">ดาวพฤหัสบดี</span><span style=\"color: teal\"> (Jupiter) </span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">ดาวเคราะห์ยักษ์ใหญ่ มีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ </span>1 <span lang=\"TH\">รอบกินเวลา </span> <span lang=\"TH\">1</span>1 <span lang=\"TH\">ปี </span>11 <span lang=\"TH\">เดือน หรือ ราว 12 ปี ทำให้ดาวพฤหัสมีการเปลี่ยนตำแหน่งไปอย่างช้าๆปีละ </span>1 <span lang=\"TH\">จักราศี</span> <br />\n    <span lang=\"TH\"> เริ่มเข้าต้นปีพศ.2552 เราจะเห็นดาวพฤหัสอยู่ทางขอบฟ้าทิศตะวันตก หลังอาทิตย์ตกดินไปแล้ว และอยู่ใกล้ขอบฟ้ามากๆ จนบางแห่งอาจจะมองไม่เห็นเลย</span> <span lang=\"TH\"> ดาวพฤหัสจะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ไปเรื่อยๆจนอยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ในวันที่ 24 มกราคม 2552</span>   <span lang=\"TH\">หลังจากนั้นดาวพฤหัสก็จะเริ่มออกห่างจากดวงอาทิตย์เรื่อยๆ</span> </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"> โดยย้ายมาอยู่บริเวณกลุ่มดาวแพะทะเลจักราศีมกร ตลอด 1 ปี<br />\n </span>    <span lang=\"TH\"> เราจะเห็นดาวพฤหัสทางขอบฟ้าตะวันออกเร็วขึ้นเรื่อยๆจากตอนใกล้รุ่ง เป็น ตี4 ตี3 ตี2.... 23น. 22น. จนกระทั่ง เห็นตอนหัวค่ำประมาณเดือนสิงหาคม เพราะดาวพฤหัสจะอยู่ที่ตำแหน่ง </span>Opposition <span lang=\"TH\">อีกครั้งในวันที่ 14 สิงหาคม 2552</span>  </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">มีความสว่างปรากฏ -2.86<br />\n </span>   <span lang=\"TH\"> หลังจากนั้นโลกก็จะออกห่างดาวพฤหัสอีก ความสว่างก็จะเริ่มลดลง จนถึงปลายปี เราจะเห็นดาวพฤหัสทางขอบฟ้าตะวันตกในตอนหัวค่ำ</span> </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"> <br />\n </span>     <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 523.5pt; border: #ece9d8; padding: 0cm\" width=\"698\"><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal\">         </span></b><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 523.5pt; border: #ece9d8; padding: 0cm\" vAlign=\"top\" width=\"698\"><v:shape o:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"z-index: 5; position: absolute; margin-top: -659.85pt; width: 90pt; height: 90pt; margin-left: -90pt\" id=\"_x0000_s1030\"><span style=\"font-size: small\"><v:imagedata o:title=\"saturn\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\com_de\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.gif\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal\">     <span lang=\"TH\">ดาวเสาร์ (</span>Saturn) </span></b><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ดาวเคราะห์วงนอกลำดับถัดมาต่อจากดาวพฤหัส และเป็นดาวเคราะห์ดวงสุดท้ายที่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์นาน 29.5 ปี จึงมีการเปลี่ยนตำแหน่งในกลุ่มดาวจักราศีอย่างช้าประมาณ 2 ปี ต่อ 1 จักราศีขึ้นอยู่กับอาณาเขตของจักราศีกว้างแค่ไหน</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"> </span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> <br />\n </span>      <span lang=\"TH\">เริ่มต้นปี 2552 ดาวเสาร์ยังคงอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต </span>(Leo)<span lang=\"TH\"> เห็นขึ้นจากขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกตั้งแต่ 22.00 น.เป็นต้นไป และจะเร็วขึ้นจนมองเห็นได้ในตอนหัวค่ำช่วงดาวเสาร์เข้าใกล้โลก </span>(Opposition) <span lang=\"TH\">ในวันที่ 9 มีนาคม 2552 ซึ่งมีระยะห่างจากโลกขณะนั้นประมาณ 8.2 </span>au. <span lang=\"TH\">หรือราว 1</span>,<span lang=\"TH\">220 ล้านกิโลเมตร มีค่าความสว่างปรากฏ</span> </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">0.85<br />\n </span>       <span lang=\"TH\"> หลังจากนั้นโลกก็จะเคลื่อนออกห่างจากดาวเสาร์ไปเรื่อยๆ ความสว่างก็ยิ่งลดลงไปเรื่อยๆ</span> <span lang=\"TH\"> เราจะกลับมาเห็นดาวเสาร์อีกครั้งตอนหัวค่ำทางขอบฟ้าตะวันตก ช่วงใกล้เดือนกันยายน ดาวเสาร์เองก็ย้ายตำแหน่งจักราศีมาอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว </span>(Virgo) <span lang=\"TH\">ช่วงที่ดาวเสาร์ไปอยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ในวันที่ 18 กันยายน 2552</span> </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> และเมื่อผ่านเดือนกันยายนไปแล้ว เราจะมาเห็นดาวเสาร์อีกครั้งทางขอบฟ้าตะวันออกก่อนใกล้รุ่งจนถึงปลายปี <br />\n </span>       <span lang=\"TH\"> สิ่งที่น่าสนใจของดาวเสาร์ในปี พศ.2552 นี้คือวงแหวนดาวเสาร์จะบางมากๆ โดยจะเริ่มบางตั้งแต่ต้นปี 2552 เนื่องจากดาวเสาร์หันระนาบของวงแหวนเข้าหาโลกพอดี</span> <span lang=\"TH\"> ซึ่งวงแหวนจะบางที่สุดประมาณวันที่ 4 กันยายน 2552</span> </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> แต่ก็เป็นช่วงที่ดาวเสาร์อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ทางขอบฟ้าตะวันตกมากด้วยเช่นกัน <br />\n </span>  </span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> <br />\n </span> </span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 525.75pt; border: #ece9d8; padding: 0cm\" width=\"701\"><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 523.5pt; border: #ece9d8; padding: 0cm\" width=\"698\"><v:shape o:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"z-index: 6; position: absolute; text-align: left; margin-top: -300.75pt; width: 90pt; height: 90pt; margin-left: -90pt; left: 0px\" id=\"_x0000_s1031\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata o:title=\"uranus\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\com_de\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image006.gif\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal\">       <span lang=\"TH\">ดาวยูเรนัส(</span>Uranus) <br />\n </span></b><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal\">     <span lang=\"TH\"> </span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\"> <span lang=\"TH\">ดาวยูเรนัสอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ </span>(Aquarius) <span lang=\"TH\">มาตั้งแต่ปีคศ. 2003 มีการเปลี่ยนตำแหน่งไปทางทิศตะวันออกไปทางกลุ่มดาวปลาคู่จักราศีมีน ปีละ 3 องศา ปัจจุบันนี้ก็ยังอยุ่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำและจะอยู่ไปอีกนานจนถึงปลายปี 2009</span> </span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"> <br />\n </span>       <span lang=\"TH\">ดาวยูเรนัสจะเคลื่อนไปอยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ก่อนในวันที่ 13 มีนาคม 2552</span>  <span lang=\"TH\">หลังจากนั้นเราจะเริ่มเห็นดาวยูเรนัสได้ก่อนรุ่งเช้า และจะเร็วขึ้นจนกระทั่งมาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ </span>(Oppostion)<span lang=\"TH\">อีกครั้ง ในวันที่ 17 กันยายน 2552 แต่เป็นระยะทางที่ไกลมากคือ 19 </span>au.<span lang=\"TH\"> หรือราว 2</span>,<span lang=\"TH\">800 ล้านกิโลเมตร</span>  <span lang=\"TH\">ความสว่างปรากฏ 5.72 เราจึงไม่ค่อยให้ความสำคัญกับตำแหน่ง </span>Oppostion <span lang=\"TH\">ของดาวยูเรนัสมากนัก</span><br />\n   </span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; width: 523.5pt; border: #ece9d8; padding: 0cm\" width=\"698\"><v:shape o:allowoverlap=\"f\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"z-index: 7; position: absolute; margin-top: -474.6pt; width: 90pt; height: 90pt; margin-left: -90pt\" id=\"_x0000_s1032\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><v:imagedata o:title=\"neptune\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\com_de\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image007.gif\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></span></span></v:shape><b><span style=\"font-family: Tahoma; color: teal\"><span style=\"font-size: small\">       <span lang=\"TH\">ดาวเนปจูน(</span>Neptune)</span></span></b><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000; font-size: small\">  </span><span lang=\"TH\"><br />\n </span><span style=\"color: #000000; font-size: small\">      </span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> ดาวเนปจูนอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลมาตั้งแต่ปี คศ 1998 และจะอยู่ในกลุ่มดาวนี้จนถึงปลายปี คศ 2010 มีการเปลี่ยนตำแหน่งไปทางกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำปีละ 2 องศา <br />\n </span>       <span lang=\"TH\">ดาวเนปจูนจะไปอยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์</span> <span lang=\"TH\">2552 และจะเริ่มเห็นดาวเนปจูนอีกครั้งทางขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกก่อนรุ่งเช้าช่วงปลายเดือนมีนาคม</span> <span lang=\"TH\"> หลังจากนั้นดาวเนปจูนจะอยู่ตรงข้ามดวงอาทิตย์ </span>Opposition <span lang=\"TH\">ในวันที่ 18 สิงหาคม 2552 มีระยะห่างจากโลก 29 </span>au. <span lang=\"TH\">หรือราว 4</span>,<span lang=\"TH\">320 ล้านกิโลเมตร มีความสว่างปรากฏ 7.8</span></span></span></span><span style=\"font-family: \'MS Sans Serif\'; font-size: 10pt\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman; color: #000000; font-size: small\"> </span></o:p> </p>\n', created = 1729410736, expire = 1729497136, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f9e796519c7e280c9e420c5b9d188452' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ตำแหน่งดาวเคราะห์

ตำแหน่งดาวเคราะห์ ปี พศ.2552

    เนื่องจากดาวเคราะห์เป็นดาวที่ไม่อยู่นิ่งกับที่จึงไม่สามารถแสดงตำแหน่งที่แน่นอนบนแผนที่ดาวได้   การสังเกตดาวเคราะห์จะใช้ควบคู่ไปกับแผนที่ดาว เมื่อรู้บริเวณกลุ่มดาวที่ดาวเคราะห์อยู่ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มดาวในแนวจักราศี เราก็จะทราบตำแหน่งและเวลาที่เหมาะสมในการสังเกตดาวเคราะห์ได้
    (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้เรื่องดาวเคราะห์)

 

  ดาวพุธ (Mercury)  ดาวเคราะห์วงในสุดของระบบสุริยะที่มีการเปลี่ยนตำแหน่งเร็วที่สุด
  ดังนั้นการเลือกช่วงเวลาที่จะดูดาวพุธควรอยู่ระหว่างตำแหน่ง Greatest Elongation กับตำแหน่ง Conjunction ยิ่งเราสังเกตดาวพุธช่วงใกล้ตำแหน่ง Conjunction มากเท่าไร่ก็จะเห็นดาวพุธอยู่ใกล้ขอบฟ้ามากขึ้นเช่นกัน เราจึงควรเลือกวันที่จะดูดาวพุธในวันที่ใกล้กับช่วง Greatest Elongation จึงดีที่สุด
      
       ตารางตำแหน่งที่สำคัญๆของดาวพุธ และกลุ่มดาวที่ดาวพุธอยู่
Greatest Elongation East
สูงสุดทางขอบฟ้าตะวันตก
Inferier conjunction
ด้านหน้าดวงอาทิตย์
Greatest Elongation West
สูงสุดทางขอบฟ้าตะวันออก
Superier conjunction
ด้านหลังดวงอาทิตย์
** 4 ม.ค 52 แพะทะเล
24 เมย.52       แกะ
26  สค.52   
หญิงสาว
20
  ธค.52    คนยิงธนู
  20  มค. 52  แพะทะเล
  19 พค.52       วัว
  21 กย.52    หญิงสาว
 
 12 กพ.52 แพะทะเล
 14 มิย.52   วัว
   6 ตค.52  หญิงสาว
 
 31 มีค.52  ปลาคู่
 14 กค. 52 
คนคู่
   5 พย.52 
คันชั่ง
 

    
** เป็นตำแหน่งเริ่มต้นของปี 2552 แล้วไล่ลำดับในตารางจากซ้ายไปขวา

หมายเหตุ วันเวลาตามตารางข้างบนอาจคลาดเคลื่อนเล็กน้อย +- 1 วัน
 

     ดาวศุกร์(Venus) 
 ดาวเคราะห์วงในที่มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งช้ากว่าดาวพุธ ทำให้ในรอบ 1 ปีเราจะเห็นการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของดาวศุกร์ช้า
      ตารางตำแหน่งที่สำคัญๆของดาวศุกร์ และกลุ่มดาว
Greatest Elongation East
สูงสุดทางขอบฟ้าตะวันตก
Inferier conjunction
ด้านหน้าดวงอาทิตย์
 
Greatest Elongation West
สูงสุดทางขอบฟ้าตะวันออก
Superier conjunction
ด้านหลังดวงอาทิตย์
** 14 มค. 52
 คนแบกหม้อน้ำ
  28 มีค.52 ปลาคู่
 
    14 มิย.52  แกะ
 

 

** เป็นตำแหน่งเริ่มต้นของปี 2552 แล้วไล่ลำดับในตารางจากซ้ายไปขวา
  

      ดาวอังคาร (Mars)   
      เข้าช่วงต้นปี 52 ดาวอังคาร ยังคงอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์อยู่ เนื่องจากดาวอังคารพึ่งจะ Conjunction หรืออยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์เมื่อเดือนธันวาม 51 ที่ผ่านมา และจะค่อยๆออกห่างจากดวงอาทิตย์เรื่อยๆ โดยจะมาปรากฏให้เห็นก่อนรุ่งเช้าในกลุ่มดาวคนยิงธนูช่วงต้นเดือนมกราคม 52 เป็นต้นไป ความสว่าง 1.5  แล้วเคลื่อนตัวเปลี่ยนตำแหน่งจักราศีไปทาง แพะทะเล  คนแบกหม้อน้ำ  ปลาคู่ ... ไปเรื่อยๆ   ซึ่งเราจะเห็นดาวอังคารทางขอบฟ้าตะวันออกเร็วขึ้นทุกวัน จากเดิมช่วงต้นปี 52 จะเห็นตอนใกล้รุ่ง ก็จะมาเริ่มเห็นตอน ตี4 ตี3.. เร็วขึ้นเรื่อยๆ จน ถึงช่วงปลายปี 52 ในเดือนธันวาคม  ดาวอังคารจะมาอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต และเห็นได้ตอนประมาณ 22 น. และมีความสว่างเพิ่มขึ้น เป็น -0.5  

    ดาวอังคารจะมาอยู่ที่ตำแหน่ง Opposition อีกครั้งประมาณวันที่ 29 มกราคม 2553 ซึ่งเราจะเห็นดาวอังคารสว่างสุกใส (mag -1.2) ทางขอบฟ้าตะวันออกตั้งแต่หัวค่ำ
 
    ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) ดาวเคราะห์ยักษ์ใหญ่ มีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบกินเวลา  11 ปี 11 เดือน หรือ ราว 12 ปี ทำให้ดาวพฤหัสมีการเปลี่ยนตำแหน่งไปอย่างช้าๆปีละ 1 จักราศี 
    เริ่มเข้าต้นปีพศ.2552 เราจะเห็นดาวพฤหัสอยู่ทางขอบฟ้าทิศตะวันตก หลังอาทิตย์ตกดินไปแล้ว และอยู่ใกล้ขอบฟ้ามากๆ จนบางแห่งอาจจะมองไม่เห็นเลย  ดาวพฤหัสจะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ไปเรื่อยๆจนอยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ในวันที่ 24 มกราคม 2552   หลังจากนั้นดาวพฤหัสก็จะเริ่มออกห่างจากดวงอาทิตย์เรื่อยๆ 
โดยย้ายมาอยู่บริเวณกลุ่มดาวแพะทะเลจักราศีมกร ตลอด 1 ปี
     เราจะเห็นดาวพฤหัสทางขอบฟ้าตะวันออกเร็วขึ้นเรื่อยๆจากตอนใกล้รุ่ง เป็น ตี4 ตี3 ตี2.... 23น. 22น. จนกระทั่ง เห็นตอนหัวค่ำประมาณเดือนสิงหาคม เพราะดาวพฤหัสจะอยู่ที่ตำแหน่ง Opposition อีกครั้งในวันที่ 14 สิงหาคม 2552 
มีความสว่างปรากฏ -2.86
    หลังจากนั้นโลกก็จะออกห่างดาวพฤหัสอีก ความสว่างก็จะเริ่มลดลง จนถึงปลายปี เราจะเห็นดาวพฤหัสทางขอบฟ้าตะวันตกในตอนหัวค่ำ 

     
        
     ดาวเสาร์ (Saturn) ดาวเคราะห์วงนอกลำดับถัดมาต่อจากดาวพฤหัส และเป็นดาวเคราะห์ดวงสุดท้ายที่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์นาน 29.5 ปี จึงมีการเปลี่ยนตำแหน่งในกลุ่มดาวจักราศีอย่างช้าประมาณ 2 ปี ต่อ 1 จักราศีขึ้นอยู่กับอาณาเขตของจักราศีกว้างแค่ไหน 
      เริ่มต้นปี 2552 ดาวเสาร์ยังคงอยู่ในกลุ่มดาวสิงโต (Leo) เห็นขึ้นจากขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกตั้งแต่ 22.00 น.เป็นต้นไป และจะเร็วขึ้นจนมองเห็นได้ในตอนหัวค่ำช่วงดาวเสาร์เข้าใกล้โลก (Opposition) ในวันที่ 9 มีนาคม 2552 ซึ่งมีระยะห่างจากโลกขณะนั้นประมาณ 8.2 au. หรือราว 1,220 ล้านกิโลเมตร มีค่าความสว่างปรากฏ 
0.85
        หลังจากนั้นโลกก็จะเคลื่อนออกห่างจากดาวเสาร์ไปเรื่อยๆ ความสว่างก็ยิ่งลดลงไปเรื่อยๆ  เราจะกลับมาเห็นดาวเสาร์อีกครั้งตอนหัวค่ำทางขอบฟ้าตะวันตก ช่วงใกล้เดือนกันยายน ดาวเสาร์เองก็ย้ายตำแหน่งจักราศีมาอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว (Virgo) ช่วงที่ดาวเสาร์ไปอยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ในวันที่ 18 กันยายน 2552 
และเมื่อผ่านเดือนกันยายนไปแล้ว เราจะมาเห็นดาวเสาร์อีกครั้งทางขอบฟ้าตะวันออกก่อนใกล้รุ่งจนถึงปลายปี
        สิ่งที่น่าสนใจของดาวเสาร์ในปี พศ.2552 นี้คือวงแหวนดาวเสาร์จะบางมากๆ โดยจะเริ่มบางตั้งแต่ต้นปี 2552 เนื่องจากดาวเสาร์หันระนาบของวงแหวนเข้าหาโลกพอดี  ซึ่งวงแหวนจะบางที่สุดประมาณวันที่ 4 กันยายน 2552 
แต่ก็เป็นช่วงที่ดาวเสาร์อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ทางขอบฟ้าตะวันตกมากด้วยเช่นกัน
  

 
 
       ดาวยูเรนัส(Uranus) 
     
 ดาวยูเรนัสอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ (Aquarius) มาตั้งแต่ปีคศ. 2003 มีการเปลี่ยนตำแหน่งไปทางทิศตะวันออกไปทางกลุ่มดาวปลาคู่จักราศีมีน ปีละ 3 องศา ปัจจุบันนี้ก็ยังอยุ่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำและจะอยู่ไปอีกนานจนถึงปลายปี 2009 
       ดาวยูเรนัสจะเคลื่อนไปอยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ก่อนในวันที่ 13 มีนาคม 2552  หลังจากนั้นเราจะเริ่มเห็นดาวยูเรนัสได้ก่อนรุ่งเช้า และจะเร็วขึ้นจนกระทั่งมาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ (Oppostion)อีกครั้ง ในวันที่ 17 กันยายน 2552 แต่เป็นระยะทางที่ไกลมากคือ 19 au. หรือราว 2,800 ล้านกิโลเมตร  ความสว่างปรากฏ 5.72 เราจึงไม่ค่อยให้ความสำคัญกับตำแหน่ง Oppostion ของดาวยูเรนัสมากนัก
 
       ดาวเนปจูน(Neptune) 
       ดาวเนปจูนอยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเลมาตั้งแต่ปี คศ 1998 และจะอยู่ในกลุ่มดาวนี้จนถึงปลายปี คศ 2010 มีการเปลี่ยนตำแหน่งไปทางกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำปีละ 2 องศา
       ดาวเนปจูนจะไปอยู่ด้านหลังดวงอาทิตย์ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2552 และจะเริ่มเห็นดาวเนปจูนอีกครั้งทางขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกก่อนรุ่งเช้าช่วงปลายเดือนมีนาคม  หลังจากนั้นดาวเนปจูนจะอยู่ตรงข้ามดวงอาทิตย์ Opposition ในวันที่ 18 สิงหาคม 2552 มีระยะห่างจากโลก 29 au. หรือราว 4,320 ล้านกิโลเมตร มีความสว่างปรากฏ 7.8

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 423 คน กำลังออนไลน์