• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d48005a1f9fcec445874151d1f3129ce' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #333333; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ์กรรม<v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"> <v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1025\"></v:shape><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 0.75pt; height: 0.75pt\" id=\"_x0000_i1026\"></v:shape><br />\n</span><span style=\"color: #333333; font-size: 9pt\">         </span><span style=\"color: #333333; font-size: 13.5pt\" lang=\"TH\"> ลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอักรุ่นหนึ่งได้</span><span style=\"color: #333333; font-size: 13.5pt\">  <span lang=\"TH\">โดยทางยีน ซึ่งเป็นหน่วยพันธุกรรมซึ่งควบคุการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต</span> <span lang=\"TH\"> ยีนจะอยู่บนโครโมโซมและโคโมโซมจะอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์</span></span><span style=\"color: #333333; font-size: 9pt\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"color: #333333; font-size: 9pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #333333; font-size: 13.5pt\">           <span lang=\"TH\">ลักษณะทางพันธุกรรม</span> <span lang=\"TH\"> จำแนกได้เป็น</span>  <span lang=\"TH\">2</span>  <span lang=\"TH\">ประเภท</span>  <span lang=\"TH\">ดังนี้<br />\n</span> <span lang=\"TH\">1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง</span>  (continuous  variation) <span lang=\"TH\"> เป็นลักษณะทางพันธุกรรม ที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน</span>  <span lang=\"TH\">เช่น</span>  <span lang=\"TH\">สีผิว</span> <span lang=\"TH\"> ความสูง</span>  <span lang=\"TH\">น้ำหนัก</span>  <span lang=\"TH\">ไอคิวของคน<br />\n</span>        <span lang=\"TH\">ลักษณะเหล่านี้ถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่</span> <span lang=\"TH\"> ยีนจึงมีอิทธิพลต่อการควบคุมลักษณะดังกล่าวน้อย แต่สิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลมาก<br />\n</span> <span lang=\"TH\">2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง</span>  (discontinuous <span lang=\"TH\"> </span>variation)<span lang=\"TH\">เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแตกต่างกันอย่งชัดเจน</span>   <span lang=\"TH\">เช่น</span> <span lang=\"TH\"> ความสามารถในการห่อลิ้น</span>  <span lang=\"TH\">จำนวนชั้นของตา</span> <span lang=\"TH\">การถนัดมือขวาหรือมือซ้าย<br />\n</span>       <span lang=\"TH\"> ลักษณะเหล่านี้ถูกควบคุมด้วยยีนน้อยคู่</span> <span lang=\"TH\"> ยีนจึงมีอิทธิพลต่อการควบคุมลักษณะดังกล่าวมาก แต่สิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลน้อย</span></span><span style=\"color: #333333; font-size: 9pt\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span><span style=\"color: #333333; font-size: 13.5pt\">  <span lang=\"TH\"> การศึกษาแบบแผนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ์กรรมของพืชและสัตว์บางชนิดโดยทั่วไปจะศึกษาได้จากการทดลองลักษณะทางพันธุ์กรรมในพืชได้แก่</span>  <span lang=\"TH\"> ความสูง</span>   <span lang=\"TH\">ลักษณะรูปร่างของใบรูปร่างของดอก</span> <span lang=\"TH\">ขนาดของผล</span>  <span lang=\"TH\">สี</span>   <span lang=\"TH\">ขนาดของลำต้น</span>  <span lang=\"TH\"> ความหวาน</span>   <span lang=\"TH\">เป็นต้น<br />\n</span>                  <span lang=\"TH\">ฟีโนไทป์</span>  (phenotype)  <span lang=\"TH\">คือ</span> <span lang=\"TH\"> ลักษณะที่ปรากฏให้เห็นภายนอกซึ่งเป็นผลมาจากยีน</span>   <span lang=\"TH\">เช่น</span>   <span lang=\"TH\">ต้น</span>   <span lang=\"TH\">สูง</span>    <span lang=\"TH\">ต้นเตี้ย</span>    <span lang=\"TH\"> เมล็ดกลม</span>   <span lang=\"TH\">เมล็ดขรุขระ</span>   <span lang=\"TH\">เป็นต้น<br />\n</span>                  <span lang=\"TH\">จีโนไทป์</span>   (genotype)  <span lang=\"TH\"> คือ</span>    <span lang=\"TH\">ลักษณะของยีนที่อยู่ภายใน</span>   <span lang=\"TH\">จะอยู่กันเป็นคู่ ๆ นิยมใช้สัญลักษณ์เป็นอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมใหญ่แทนยีนที่ควบคุมลักษณะเด่น</span> <span lang=\"TH\"> และใช้อักษรตัวพิมเล็กแทนยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย</span> <span lang=\"TH\">เช่น</span>   TT,  Tt ,  tt  <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span> <span lang=\"TH\"> แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ</span>  <span lang=\"TH\">ได้แก่<br />\n</span>              <span lang=\"TH\">1.พันธุ์แท้</span>   (homozygous)   <span lang=\"TH\"> คือ</span>  <span lang=\"TH\"> ลักษณะของจีโนไทร์ที่มียีนทั้งคู่เหมือนกันซึ่งอาจเป็นยีนที่มีลักษณะเด่นทั้งคู่</span> <span lang=\"TH\"> เช่น</span>   TT, RR  <span lang=\"TH\">หรือแสดงลักษณะด้อย</span>  <span lang=\"TH\">เช่น</span>   tt , rr  <span lang=\"TH\">เป็นต้น<br />\n</span>             <span lang=\"TH\"> 2.พันธุ์ทาง (</span>heterozygous)    <span lang=\"TH\">คือ</span>   <span lang=\"TH\">ลักษณะของจีโนไทร์</span>  <span lang=\"TH\"> ที่มียีนทั้งคู่แตกต่างกัน</span>   <span lang=\"TH\">โดยมียีนแสดงลักษณะเด่น</span>  <span lang=\"TH\">1</span>  <span lang=\"TH\">ยีนแสดงลักษณะด้อย</span>  <span lang=\"TH\">1</span>  <span lang=\"TH\"> ยีน</span>  <span lang=\"TH\">เช่น</span>   Tt , Rr   <span lang=\"TH\">เป็นต้น</span> <span lang=\"TH\"> <br />\n</span>  <span lang=\"TH\"> สูตรในการหาจำนวนจีโนไทปและฟีโนไทป์<br />\n</span>          <span lang=\"TH\">ชนิดของเซลล์สืบพันธุ์</span>       =  <span lang=\"TH\"> 2</span><sup>n</sup><span lang=\"TH\"> <br />\n</span>          <span lang=\"TH\">จีโนไทป์ของลูกที่เกิดมา</span>    =   <span lang=\"TH\">3</span><sup>n</sup><span lang=\"TH\"> <br />\n</span>          <span lang=\"TH\">ฟีโนไทป์ของลูกที่เกิดมา</span>    =   <span lang=\"TH\">2</span><sup>n<span lang=\"TH\"> <br />\n</span></sup>  <span lang=\"TH\">โดยที่</span>  n  <span lang=\"TH\">คือ</span> <span lang=\"TH\"> จำนวนคู่ของเฮเทอโรไซกัสยีน<o:p></o:p></span></span> </p>\n', created = 1729410500, expire = 1729496900, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d48005a1f9fcec445874151d1f3129ce' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ์กรรม
          ลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยังอักรุ่นหนึ่งได้  โดยทางยีน ซึ่งเป็นหน่วยพันธุกรรมซึ่งควบคุการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต  ยีนจะอยู่บนโครโมโซมและโคโมโซมจะอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์            ลักษณะทางพันธุกรรม  จำแนกได้เป็น  2  ประเภท  ดังนี้
 1. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง  (continuous  variation)  เป็นลักษณะทางพันธุกรรม ที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน  เช่น  สีผิว  ความสูง  น้ำหนัก  ไอคิวของคน
        ลักษณะเหล่านี้ถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่  ยีนจึงมีอิทธิพลต่อการควบคุมลักษณะดังกล่าวน้อย แต่สิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลมาก
 2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง  (discontinuous  variation)เป็นลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแตกต่างกันอย่งชัดเจน   เช่น  ความสามารถในการห่อลิ้น  จำนวนชั้นของตา การถนัดมือขวาหรือมือซ้าย
        ลักษณะเหล่านี้ถูกควบคุมด้วยยีนน้อยคู่  ยีนจึงมีอิทธิพลต่อการควบคุมลักษณะดังกล่าวมาก แต่สิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลน้อย
   การศึกษาแบบแผนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุ์กรรมของพืชและสัตว์บางชนิดโดยทั่วไปจะศึกษาได้จากการทดลองลักษณะทางพันธุ์กรรมในพืชได้แก่   ความสูง   ลักษณะรูปร่างของใบรูปร่างของดอก ขนาดของผล  สี   ขนาดของลำต้น   ความหวาน   เป็นต้น
                  ฟีโนไทป์  (phenotype)  คือ  ลักษณะที่ปรากฏให้เห็นภายนอกซึ่งเป็นผลมาจากยีน   เช่น   ต้น   สูง    ต้นเตี้ย     เมล็ดกลม   เมล็ดขรุขระ   เป็นต้น
                  จีโนไทป์   (genotype)   คือ    ลักษณะของยีนที่อยู่ภายใน   จะอยู่กันเป็นคู่ ๆ นิยมใช้สัญลักษณ์เป็นอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมใหญ่แทนยีนที่ควบคุมลักษณะเด่น  และใช้อักษรตัวพิมเล็กแทนยีนที่ควบคุมลักษณะด้อย เช่น   TT,  Tt ,  tt  เป็นต้น  แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ  ได้แก่
              1.พันธุ์แท้   (homozygous)    คือ   ลักษณะของจีโนไทร์ที่มียีนทั้งคู่เหมือนกันซึ่งอาจเป็นยีนที่มีลักษณะเด่นทั้งคู่  เช่น   TT, RR  หรือแสดงลักษณะด้อย  เช่น   tt , rr  เป็นต้น
              2.พันธุ์ทาง (heterozygous)    คือ   ลักษณะของจีโนไทร์   ที่มียีนทั้งคู่แตกต่างกัน   โดยมียีนแสดงลักษณะเด่น  1  ยีนแสดงลักษณะด้อย  1   ยีน  เช่น   Tt , Rr   เป็นต้น 
   สูตรในการหาจำนวนจีโนไทปและฟีโนไทป์
          ชนิดของเซลล์สืบพันธุ์       =   2n
          จีโนไทป์ของลูกที่เกิดมา    =   3n
          ฟีโนไทป์ของลูกที่เกิดมา    =   2n
  โดยที่  n  คือ  จำนวนคู่ของเฮเทอโรไซกัสยีน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 392 คน กำลังออนไลน์