• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cb46b41a25a949cef982e7d17c50c138' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table class=\"border\" bgcolor=\"#ffffff\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\" width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td colspan=\"3\" class=\"border\" bgcolor=\"#bff992\" valign=\"middle\">\n<div align=\"center\">\n<p align=\"left\">\n <span class=\"style9\"><span style=\"font-size: large\"> </span><span class=\"style13\"><span style=\"font-size: medium\">ตัวต้านทาน(Resistor)</span></span></span>\n </p>\n</div>\n</td>\n<td><span style=\"font-size: medium\"></span>\n </td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"24\"><span style=\"font-size: medium\"></span>\n </td>\n<td> </td>\n<td> </td>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"1215\"> </td>\n<td> </td>\n<td valign=\"top\">\n<div align=\"center\">\n <br />\n <span class=\"style2\">\n<p> ตัวต้านทานเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่มีสมบัติในการ<br />\n ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ </p>\n<p> </p></span>\n<p class=\"style2\">\n <b>1) ตัวต้านทานคงที่ ( Fixed Value Resistor )</b> เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานของการไหลของกระแสไฟฟ้าคงที่ มีสัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร คือ  ซึ่งสามารถอ่านค่าความต้านทาน<br />\n ได้จากแถบสีที่คาดอยู่บนตัวความต้านทาน มีหน่วยเป็นโอห์ม (<b> Ω </b>)\n </p>\n<p class=\"style2\">\n แถบสีที่อยู่บนตัวต้านทานโดยส่วนมากจะมี 4 แถบ และมีแถบสีที่ชิดกันอยู่ 3 สี อีกสีหนึ่งจะอยู่ห่างออกไปที่ปลายข้างหนึ่ง การอ่านค่าจะเริ่มจากแถบสีที่อยู่ชิดกันก่อนโดยแถบที่อยู่ด้านนอกสุดให้เป็นแถบสีที่ 1 และสีถัดไปเป็นสีที่ 2, 3 และ 4 ตามลำดับ สีแต่ละสีจะมีรหัสประจำแต่ละสี ดังตาราง\n </p>\n<p class=\"style2\">\n &nbsp;\n </p>\n<table bgcolor=\"#effbe1\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td rowspan=\"2\" class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <b></b>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <b>สี</b>\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <b>แถบสีที่ 1</b>\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <b>แถบสีที่ 2</b>\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <b>แถบสีที่ 3</b>\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <b>แถบสีที่ 4</b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <b>ค่าตัวแรก<br />\n </b><b>(หลักสิบ)</b>\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <b>ค่าตัวแรก<br />\n </b><b>(หลักหน่วย)</b>\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <b>ตัวคูณ</b>\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <b>% ความ<br />\n คลาดเคลื่อน </b>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n ดำ\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 0\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 0\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 1\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n น้ำตาล\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 1\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 1\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 10\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n แดง\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 2\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 2\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 100\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n ± 2 %\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n ส้ม\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 3\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 3\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 1,000\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n เหลือง\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 4\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 4\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 10,000\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n เขียว\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 5\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 5\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 100,000\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n ฟ้า\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 6\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 6\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 1,000,000\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n ม่วง\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 7\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 7\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 10,000,000\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n เทา\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 8\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 8\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 100,000,000\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n ขาว\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 9\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n 9\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 1,000,000,000\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n ทอง\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 0.1\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n ± 5 %\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n เงิน\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n 0.01\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n ± 10 %\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p>\n ไม่มีสี\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n -\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"right\">\n -\n </p>\n</td>\n<td class=\"style2\" width=\"108\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n ± 20 %\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p class=\"style2\">\n &nbsp;\n </p>\n<p class=\"style2\">\n <b>2) ตัวต้านทานที่เปลี่ยนค่าได้ ( Variable Value Resistor )</b> เป็นตัวต้านทานที่เมื่อหมุนแกนของตัวต้านทาน แล้วค่าความต้านทานจะเปลี่ยนแปลงไป นิยมใช้ในการควบคุมค่า<b>ความต่างศักย์ไฟฟ้า ( Voltage )</b> ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การเพิ่ม – ลดเสียงในวิทย์หรือโทรทัศน์ เป็นต้น สัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร คือ\n </p>\n<p class=\"style2\">\n &nbsp;\n </p>\n<p class=\"style2\">\n <b>3) ตัวต้านทานไวแสง หรือ แอลดีอาร์ ( LDR )</b> ย่อมาจาก <b>Light Dependent Resistor</b> เป็นตัวต้านทานปรับค่าได้ โดยค่าความต้านทานขึ้นอยู่กับปริมาณแสงที่ตกกระทบ ถ้าแสงที่ตกกระทบมีปริมาณมาก LDR จะมีค่าความต้านทานต่ำ ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร คือ\n </p>\n<p class=\"style2\">\n &nbsp;\n </p>\n<p> <span class=\"style2\"></span></p>\n<table class=\"border\" bgcolor=\"#ffffff\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\" width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td valign=\"top\">\n<div align=\"center\">\n<p>\n <span class=\"style2\"><img src=\"/images/c6.jpg\" border=\"1\" width=\"84\" height=\"63\" /></span>\n </p>\n<p class=\"style2\">\n ตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่สะสมประจุไฟฟ้าหรือ<br />\n คายประจุไฟฟ้าให้กับวงจรหรืออุปกรณ์อื่นๆ\n </p>\n<p class=\"style2\" align=\"left\">\n ตัวเก็บประจุบางชนิดจะมีขั้ว คือขั้วบวก และขั้วลบ ดังนั้นการต่อ<br />\n ตัวเก็บประจุในวงจร ต้องต่อให้ถูกขั้ว และต้องทราบค่าของตัวเก็บประจุด้วยว่าเหมาะสม<br />\n กับวงจรอิเล็กทรอนิกส์นั้นๆ หรือไม่ ซึ่ง<b>ค่าความจุของตัวเก็บประจุจะมีหน่วยเป็น<br />\n ฟารัด ( Farad ) ใช้ตัวอักษรย่อคือ F แต่ตัวเก็บประจุที่ใช้กันทั่วไปมักมี<br />\n หน่วยเป็นไมโครฟารัด ( µ F ) ซึ่ง 1 F มีค่าเท่ากับ 10 6 µ F</b> ตัวเก็บประจุ<br />\n มีด้วยกันหลายแบบหลายขนาด แต่ละแบบจะมีความเหมาะสมกับงานที่แตกต่างกัน ตัวเก็บประจุโดยทั่วไปแบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่\n </p>\n<p class=\"style2\" align=\"left\">\n <b>1) ตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่ ( Fixed Value Capacitor )</b> เป็นตัวเก็บประจุที่ได้รับการผลิตให้มีค่าคงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าความจุได้ แต่จะปรับค่าความจุให้เหมาะสมกับวงจรได้โดยนำตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวมาต่อกันแบบขนานหรืออนุกรม สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่<br />\n ในวงจรจะเป็น <img src=\"/images/capacitor_clip_image001_0000.gif\" width=\"33\" height=\"22\" /> หรือ <img src=\"/images/capacitor_clip_image002_0000.gif\" width=\"33\" height=\"22\" />\n </p>\n<p class=\"style2\" align=\"left\">\n <b>2 ) ตัวเก็บประจุเปลี่ยนค่าได้ ( Variable Value Capacitor )</b> เป็นตัวเก็บประจุที่สามารถปรับค่าความจุได้  โดยทั่วไปมักใช้ในวงจรปรับแต่งสัญญาณ<br />\n ทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือพบในเครื่องรับวิทยุซึ่งใช้เป็นตัวเลือกหาสถานีวิทยุ ตัวเก็บประจุ<br />\n ุชนิดนี้ส่วนมากเป็นตัวเก็บประจุชนิดใช้อากาศเป็นสาร ไดอิเล็กทริกและการปรับค่า<br />\n จะทำได้โดยการหมุนแกน ซึ่งมีโลหะหลายๆ แผ่นอยู่บนแกนนนั้น เมื่อหมุนแกน<br />\n แผ่นโลหะจะเลื่อนเข้าหากันทำให้ค่าประจุเปลี่ยนแปลง สัญลักษณ์ของตัวเก็บ<br />\n ประจุเปลี่ยนค่าได้ในวงจรจะเป็น <img src=\"/images/capacitor_clip_image003_0000.gif\" width=\"33\" height=\"22\" /> หรือ <img src=\"/images/capacitor_clip_image004_0000.gif\" width=\"33\" height=\"22\" />\n </p>\n</div>\n</td>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"162\"> </td>\n<td colspan=\"2\" valign=\"top\">\n<p align=\"center\">\n <br />\n <img src=\"/images/c4.jpg\" width=\"89\" height=\"63\" />  <img src=\"/images/c5.jpg\" width=\"90\" height=\"68\" />\n </p>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n<p align=\"center\">\n อ้างอิง <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C\" title=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%...</a>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> \n </p></div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1729412126, expire = 1729498526, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cb46b41a25a949cef982e7d17c50c138' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

รูปภาพของ knw_32293

 ตัวต้านทาน(Resistor)

       
   

ตัวต้านทานเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่มีสมบัติในการ
ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่

1) ตัวต้านทานคงที่ ( Fixed Value Resistor ) เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานของการไหลของกระแสไฟฟ้าคงที่ มีสัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร คือ  ซึ่งสามารถอ่านค่าความต้านทาน
ได้จากแถบสีที่คาดอยู่บนตัวความต้านทาน มีหน่วยเป็นโอห์ม ( Ω )

แถบสีที่อยู่บนตัวต้านทานโดยส่วนมากจะมี 4 แถบ และมีแถบสีที่ชิดกันอยู่ 3 สี อีกสีหนึ่งจะอยู่ห่างออกไปที่ปลายข้างหนึ่ง การอ่านค่าจะเริ่มจากแถบสีที่อยู่ชิดกันก่อนโดยแถบที่อยู่ด้านนอกสุดให้เป็นแถบสีที่ 1 และสีถัดไปเป็นสีที่ 2, 3 และ 4 ตามลำดับ สีแต่ละสีจะมีรหัสประจำแต่ละสี ดังตาราง

 

สี

แถบสีที่ 1

แถบสีที่ 2

แถบสีที่ 3

แถบสีที่ 4

ค่าตัวแรก
(หลักสิบ)

ค่าตัวแรก
(หลักหน่วย)

ตัวคูณ

% ความ
คลาดเคลื่อน

ดำ

0

0

1

-

น้ำตาล

1

1

10

-

แดง

2

2

100

± 2 %

ส้ม

3

3

1,000

-

เหลือง

4

4

10,000

-

เขียว

5

5

100,000

-

ฟ้า

6

6

1,000,000

-

ม่วง

7

7

10,000,000

-

เทา

8

8

100,000,000

-

ขาว

9

9

1,000,000,000

-

ทอง

-

-

0.1

± 5 %

เงิน

-

-

0.01

± 10 %

ไม่มีสี

-

-

-

± 20 %

 

2) ตัวต้านทานที่เปลี่ยนค่าได้ ( Variable Value Resistor ) เป็นตัวต้านทานที่เมื่อหมุนแกนของตัวต้านทาน แล้วค่าความต้านทานจะเปลี่ยนแปลงไป นิยมใช้ในการควบคุมค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า ( Voltage ) ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การเพิ่ม – ลดเสียงในวิทย์หรือโทรทัศน์ เป็นต้น สัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร คือ

 

3) ตัวต้านทานไวแสง หรือ แอลดีอาร์ ( LDR ) ย่อมาจาก Light Dependent Resistor เป็นตัวต้านทานปรับค่าได้ โดยค่าความต้านทานขึ้นอยู่กับปริมาณแสงที่ตกกระทบ ถ้าแสงที่ตกกระทบมีปริมาณมาก LDR จะมีค่าความต้านทานต่ำ ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร คือ

 

ตัวเก็บประจุเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่สะสมประจุไฟฟ้าหรือ
คายประจุไฟฟ้าให้กับวงจรหรืออุปกรณ์อื่นๆ

ตัวเก็บประจุบางชนิดจะมีขั้ว คือขั้วบวก และขั้วลบ ดังนั้นการต่อ
ตัวเก็บประจุในวงจร ต้องต่อให้ถูกขั้ว และต้องทราบค่าของตัวเก็บประจุด้วยว่าเหมาะสม
กับวงจรอิเล็กทรอนิกส์นั้นๆ หรือไม่ ซึ่งค่าความจุของตัวเก็บประจุจะมีหน่วยเป็น
ฟารัด ( Farad ) ใช้ตัวอักษรย่อคือ F แต่ตัวเก็บประจุที่ใช้กันทั่วไปมักมี
หน่วยเป็นไมโครฟารัด ( µ F ) ซึ่ง 1 F มีค่าเท่ากับ 10 6 µ F
ตัวเก็บประจุ
มีด้วยกันหลายแบบหลายขนาด แต่ละแบบจะมีความเหมาะสมกับงานที่แตกต่างกัน ตัวเก็บประจุโดยทั่วไปแบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่

1) ตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่ ( Fixed Value Capacitor ) เป็นตัวเก็บประจุที่ได้รับการผลิตให้มีค่าคงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าความจุได้ แต่จะปรับค่าความจุให้เหมาะสมกับวงจรได้โดยนำตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวมาต่อกันแบบขนานหรืออนุกรม สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่
ในวงจรจะเป็น หรือ

2 ) ตัวเก็บประจุเปลี่ยนค่าได้ ( Variable Value Capacitor ) เป็นตัวเก็บประจุที่สามารถปรับค่าความจุได้  โดยทั่วไปมักใช้ในวงจรปรับแต่งสัญญาณ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือพบในเครื่องรับวิทยุซึ่งใช้เป็นตัวเลือกหาสถานีวิทยุ ตัวเก็บประจุ
ุชนิดนี้ส่วนมากเป็นตัวเก็บประจุชนิดใช้อากาศเป็นสาร ไดอิเล็กทริกและการปรับค่า
จะทำได้โดยการหมุนแกน ซึ่งมีโลหะหลายๆ แผ่นอยู่บนแกนนนั้น เมื่อหมุนแกน
แผ่นโลหะจะเลื่อนเข้าหากันทำให้ค่าประจุเปลี่ยนแปลง สัญลักษณ์ของตัวเก็บ
ประจุเปลี่ยนค่าได้ในวงจรจะเป็น หรือ

   
 


  

 

อ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%...

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 482 คน กำลังออนไลน์