• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7458bd209ddbebbf9070de0cca9a22a9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nก่อนที่จะมีความรู้ทางด้านไฟฟ้า มีผู้คนตระหนักถึงภัยของ<a href=\"/wiki/ปลาไฟฟ้า\" title=\"ปลาไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ปลาไฟฟ้า</span></u></a> ในสมัย<a href=\"/wiki/อียิปต์โบราณ\" title=\"อียิปต์โบราณ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อียิปต์โบราณ</span></u></a>พบข้อความที่จารึกในช่วงประมาณ <a href=\"/w/index.php?title=250_%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"250 ปีก่อนพุทธศักราช (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">250 ปีก่อนพุทธศักราช</span></u></a> ว่า<a href=\"/wiki/ปลาไฟฟ้า\" title=\"ปลาไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ปลาไฟฟ้า</span></u></a>เป็น &quot;สายฟ้าแห่ง<a href=\"/wiki/แม่น้ำไนล์\" title=\"แม่น้ำไนล์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แม่น้ำไนล์</span></u></a>&quot; และพรรณนาว่ามันเป็น &quot;ผู้พิทักษ์&quot; แก่ปลาอื่นๆ ทั้งมวล ทั้งนี้ยังค้นพบบันทึกอื่นๆ ทั้งใน<a href=\"/wiki/กรีกโบราณ\" title=\"กรีกโบราณ\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">กรีกโบราณ</span></u></a> <a href=\"/wiki/โรมัน\" title=\"โรมัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โรมัน</span></u></a> <a href=\"/wiki/อาหรับ\" title=\"อาหรับ\"><span style=\"color: #0000ff\"><u>อาหรับ</u></span></a><sup id=\"cite_ref-0\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-0\"><u><span style=\"color: #800080\">[1]</span></u></a></sup> ว่าการที่ถูกไฟช็อตโดย<a href=\"/wiki/วงศ์ปลาดุกไฟฟ้า\" title=\"วงศ์ปลาดุกไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ปลาดุกไฟฟ้า</span></u></a> (Electric catfish) และ<a href=\"/wiki/ปลากระเบนไฟฟ้า\" title=\"ปลากระเบนไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ปลากระเบนไฟฟ้า</span></u></a> (torpedo ray หรือ Electric ray) จะทำให้รู้สึกตัวชา และยังทราบว่าการช็อตเช่นนั้น สามารถทำให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่ได้ด้วย<sup id=\"cite_ref-Electroreception_1-0\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-Electroreception-1\"><u><span style=\"color: #800080\">[2]</span></u></a></sup> <a href=\"/wiki/ผู้ป่วย\" title=\"ผู้ป่วย\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ผู้ป่วย</span></u></a>ที่ได้รับความเจ็บปวดจากการเป็น<a href=\"/wiki/โรคเกาต์\" title=\"โรคเกาต์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เกาต์</span></u></a>หรือ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ปวดหัว (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ปวดหัว</span></u></a> จะได้รับการรักษาโดยการสัมผัส<a href=\"/wiki/ปลาไฟฟ้า\" title=\"ปลาไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ปลาไฟฟ้า</span></u></a> ซึ่งหวังว่าจะทำให้<a href=\"/wiki/ผู้ป่วย\" title=\"ผู้ป่วย\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ผู้ป่วย</span></u></a>กระตุกเป็นการรักษาฟื้นฟูอาการ ด้วยความบังเอิญจากการช็อตทำให้ค้นพบแหล่งกำเนิดแสงสว่าง\n</p>\n<p>\nวัตถุที่เฉพาะเจาะจงอย่างมากคือแท่ง<a href=\"/wiki/อำพัน\" title=\"อำพัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อำพัน</span></u></a> ที่นำมาขัดถูกับขน<a href=\"/wiki/แมว\" title=\"แมว\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แมว</span></u></a> ทำให้เกิดแสงเหมือนปกคลุมด้วยขนนก ซึ่งพบโดยอารยธรรมโบราณแถบ<a href=\"/wiki/เมดิเตอร์เรเนียน\" title=\"เมดิเตอร์เรเนียน\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เมดิเตอร์เรเนียน</span></u></a> <a href=\"/wiki/เธลีส\" title=\"เธลีส\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เธลีส แห่ง มิเลทัส</span></u></a> ได้จัดลำดับการเกิด<a href=\"/wiki/ไฟฟ้าสถิต\" title=\"ไฟฟ้าสถิต\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ไฟฟ้าสถิต</span></u></a>ใน<a href=\"/wiki/สมัยพุทธกาล\" title=\"สมัยพุทธกาล\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สมัยพุทธกาล</span></u></a> ซึ่งเป็นสิ่งที่เขาเชื่อว่าเมื่อเสียดสีกับ<a href=\"/wiki/อำพัน\" title=\"อำพัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อำพัน</span></u></a>แล้ว จะทำให้<a href=\"/wiki/อำพัน\" title=\"อำพัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อำพัน</span></u></a>แสดง<a href=\"/wiki/ความเป็นแม่เหล็ก\" title=\"ความเป็นแม่เหล็ก\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ความเป็นแม่เหล็ก</span></u></a>ออกมา ซึ่งในทางกลับกัน <a href=\"/wiki/แร่\" title=\"แร่\"><u><span style=\"color: #0000ff\">หินแร่</span></u></a> (minerals) กลับแสดง<a href=\"/wiki/ความเป็นแม่เหล็ก\" title=\"ความเป็นแม่เหล็ก\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ความเป็นแม่เหล็ก</span></u></a>โดยไม่ต้องขัดถู <sup id=\"cite_ref-stewart_2-0\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-stewart-2\"><u><span style=\"color: #800080\">[3]</span></u></a></sup><sup id=\"cite_ref-3\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-3\"><u><span style=\"color: #800080\">[4]</span></u></a></sup> แต่ความเขื่อของ<a href=\"/wiki/เธลีส\" title=\"เธลีส\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เธลีส</span></u></a>นั้นผิดที่การขัดสี<a href=\"/wiki/อำพัน\" title=\"อำพัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อำพัน</span></u></a>ไม่ได้แสดง<a href=\"/wiki/ความเป็นแม่เหล็ก\" title=\"ความเป็นแม่เหล็ก\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ความเป็นแม่เหล็ก</span></u></a>ของ<a href=\"/wiki/อำพัน\" title=\"อำพัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อำพัน</span></u></a>เลย แต่ภายหลัง<a href=\"/wiki/วิทยาศาสตร์\" title=\"วิทยาศาสตร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">วิทยาศาสตร์</span></u></a>ก็พิสูจน์ได้ว่าเป็นความเชื่อมต่อระหว่าง<a href=\"/wiki/ความเป็นแม่เหล็ก\" title=\"ความเป็นแม่เหล็ก\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ความเป็นแม่เหล็ก</span></u></a>กับ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ความเป็นไฟฟ้า (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ความเป็นไฟฟ้า</span></u></a> เป็นที่ยอมรับกันว่าใน<a href=\"/wiki/ตะวันออกกลาง\" title=\"ตะวันออกกลาง\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ตะวันออกกลาง</span></u></a> สมัย<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ราชวงศ์ปาร์เธีย (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ราชวงศ์ปาร์เธีย</span></u></a> (Parthia) อาจจะมีความรู้ทางด้าน<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แผ่นโลหะไฟฟ้า (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แผ่นโลหะไฟฟ้า</span></u></a> (Electroplating) เพราะในปี <a href=\"/wiki/พ.ศ._2479\" title=\"พ.ศ. 2479\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2479</span></u></a> มีการค้นพบ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%94&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แบตเตอรี่แบกแดด (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แบตเตอรี่แบกแดด</span></u></a> ซึ่งคล้ายคลึงกับ<a href=\"/wiki/เซลล์ไฟฟ้าเคมี\" title=\"เซลล์ไฟฟ้าเคมี\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เซลล์ไฟฟ้าเคมี</span></u></a> ถึงแม้จะยังไม่ทราบแน่ใจว่าทั้งคู่จะใช่ไฟฟ้าจากธรรมชาติชนิดเดียวกันหรือไม่<sup id=\"cite_ref-4\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-4\"><u><span style=\"color: #800080\">[5]</span></u></a></sup>\n</p>\n<p>\nความรู้ทางด้านไฟฟ้ายังมีเล็กน้อยนับพันปีให้หลัง จนกระทั่งพุทธศตวรรษที่ 22 เมื่อ<a href=\"/wiki/วิลเลียม_กิลเบิร์ต\" title=\"วิลเลียม กิลเบิร์ต\"><u><span style=\"color: #0000ff\">วิลเลียม กิลเบิร์ต</span></u></a> <a href=\"/wiki/นักฟิสิกส์\" title=\"นักฟิสิกส์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">นักฟิสิกส์</span></u></a>ชาว<a href=\"/wiki/อังกฤษ\" title=\"อังกฤษ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อังกฤษ</span></u></a>ได้ศึกษา<a href=\"/wiki/แม่เหล็ก\" title=\"แม่เหล็ก\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แม่เหล็ก</span></u></a>และไฟฟ้าอย่างละเอียด ผลกระทบของ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แร่เหล็ก (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แร่เหล็ก</span></u></a>จาก<a href=\"/wiki/ไฟฟ้าสถิต\" title=\"ไฟฟ้าสถิต\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ไฟฟ้าสถิต</span></u></a>นั้นเกิดขึ้นจากการขัดสีของ<a href=\"/wiki/อำพัน\" title=\"อำพัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อำพัน</span></u></a> <sup id=\"cite_ref-stewart_2-1\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-stewart-2\"><u><span style=\"color: #800080\">[3]</span></u></a></sup> เขาบัญญัติศัพท์จากการค้นพบใหม่เป็น<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ภาษาละตินใหม่ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ภาษาละตินใหม่</span></u></a>ว่า &quot;electricus&quot; (แปลว่า<a href=\"/wiki/อำพัน\" title=\"อำพัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อำพัน</span></u></a>ใน<a href=\"/wiki/ภาษากรีก\" title=\"ภาษากรีก\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ภาษากรีก</span></u></a>) ซึ่งก็หมายถึงคุณสมบัติของการดึงดูดวัตถุเล็กๆหลังจากการขัดสี .<sup id=\"cite_ref-5\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-5\"><u><span style=\"color: #800080\">[6]</span></u></a></sup> ในภาษาอังกฤษเรียกว่า &quot;electric&quot; และ &quot;electricity&quot; ปรากฏขึ้นครั้งแรกใน Pseudodoxia Epidemica ของ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%98%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%AA_%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"โธมัส บราวน์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โธมัส บราวน์</span></u></a> เมื่อปี <a href=\"/wiki/พ.ศ._2189\" title=\"พ.ศ. 2189\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2189</span></u></a> <sup id=\"cite_ref-6\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-6\"><u><span style=\"color: #800080\">[7]</span></u></a></sup>\n</p>\n<div class=\"thumb tleft\">\n<div style=\"width: 152px\" class=\"thumbinner\">\n<a href=\"/wiki/ไฟล์:Faraday-Millikan-Gale-1913.jpg\" class=\"image\"><u><span style=\"color: #800080\"><img src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/5/5b/Faraday-Millikan-Gale-1913.jpg/150px-Faraday-Millikan-Gale-1913.jpg\" class=\"thumbimage\" width=\"150\" height=\"212\" /></span></u></a> \n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n<a href=\"/wiki/ไฟล์:Faraday-Millikan-Gale-1913.jpg\" title=\"ขยาย\" class=\"internal\"><span style=\"border-color: #0000ff; border-width: 2px; display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle\"><span style=\"display: inline-block; width: 1px; height: 1px\"></span></span></a>\n</div>\n<p><a href=\"/wiki/ไมเคิล_ฟาราเดย์\" title=\"ไมเคิล ฟาราเดย์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ไมเคิล ฟาราเดย์</span></u></a>\n</p></div>\n</div>\n</div>\n<p>\nชิ้นงานที่ให้การสนับสนุนต่อๆ มานำโดย<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%95%E0%B9%82%E0%B8%95_%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%99_%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อ็อตโต ฟอน เกียริก (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อ็อตโต ฟอน เกียริก</span></u></a>, <a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%95_%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%A5%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"โรเบิร์ต บอยล์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โรเบิร์ต บอยล์</span></u></a>, <a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%99_%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"สตีเฟน เกรย์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สตีเฟน เกรย์</span></u></a> และ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A5_%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%9F._%E0%B8%94%E0%B8%B9_%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%A2%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ชาร์ล เอฟ. ดู เฟย์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ชาร์ล เอฟ. ดู เฟย์</span></u></a> ในพุทธศตวรรษที่ 23 <a href=\"/wiki/เบนจามิน_แฟรงคลิน\" title=\"เบนจามิน แฟรงคลิน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เบนจามิน แฟรงคลิน</span></u></a> ทำการวิจัยเรื่องไฟฟ้าอย่างกว้างขวาง เขาขายทรัพย์สมบัติที่มีเพื่อเป็นทุนวิจัยของเขา ใน<a href=\"/wiki/เดือนมิถุนายน\" title=\"เดือนมิถุนายน\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เดือนมิถุนายน</span></u></a> <a href=\"/wiki/พ.ศ._2295\" title=\"พ.ศ. 2295\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2295</span></u></a> เขาได้ติด<a href=\"/wiki/ลูกกุญแจ\" title=\"ลูกกุญแจ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ลูกกุญแจ</span></u></a><a href=\"/wiki/โลหะ\" title=\"โลหะ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โลหะ</span></u></a>ไว้ที่หาง<a href=\"/wiki/ว่าว\" title=\"ว่าว\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ว่าว</span></u></a> แล้วปล่อยลอยขึ้นในวันที่ท้องฟ้ามีลมพายุรุนแรง <sup id=\"cite_ref-7\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-7\"><u><span style=\"color: #800080\">[8]</span></u></a></sup> เขาสังเกตประกายไฟที่ประโดดจาก<a href=\"/wiki/ลูกกุญแจ\" title=\"ลูกกุญแจ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ลูกกุญแจ</span></u></a><a href=\"/wiki/โลหะ\" title=\"โลหะ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โลหะ</span></u></a>สู่หลังมือของเขา มันมี<a href=\"/wiki/แสง\" title=\"แสง\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แสง</span></u></a>ซึ่งก็คือไฟฟ้าใน<a href=\"/wiki/ธรรมชาติ\" title=\"ธรรมชาติ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ธรรมชาติ</span></u></a>อย่างแท้จริง <sup id=\"cite_ref-8\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-8\"><u><span style=\"color: #800080\">[9]</span></u></a></sup>\n</p>\n<p>\nในปี<a href=\"/wiki/พ.ศ._2334\" title=\"พ.ศ. 2334\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2334</span></u></a> <a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%A2%E0%B8%88%E0%B8%B4_%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B5&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ลุยจิ กัลวานี (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ลุยจิ กัลวานี</span></u></a> <a href=\"/wiki/นักฟิสิกส์\" title=\"นักฟิสิกส์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">นักฟิสิกส์</span></u></a>ชาว<a href=\"/wiki/อิตาลี\" title=\"อิตาลี\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อิตาลี</span></u></a>ได้ตีพิมพ์การค้นพบ<a href=\"/wiki/ไฟฟ้าชีวภาพ\" title=\"ไฟฟ้าชีวภาพ\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ไฟฟ้าชีวภาพ</span></u></a> พิสูจน์ให้เห็นว่าไฟฟ้าอยู่ระหว่าง<a href=\"/wiki/เซลล์ประสาท\" title=\"เซลล์ประสาท\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เซลล์ประสาท</span></u></a>ผ่านสัญญาณไปสู่<a href=\"/wiki/กล้ามเนื้อ\" title=\"กล้ามเนื้อ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">กล้ามเนื้อ</span></u></a> <sup id=\"cite_ref-kirby_9-0\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-kirby-9\"><u><span style=\"color: #800080\">[10]</span></u></a></sup> <a href=\"/wiki/แบตเตอรี่\" title=\"แบตเตอรี่\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แบตเตอรี่</span></u></a>ของ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A3_%E0%B9%82%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อเล็กซานโดร โวลต้า (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อเล็กซานโดร โวลต้า</span></u></a>ในพุทธศตวรรษที่ 24 ทำมาจากชั้นที่สลับซ้อกันของ<a href=\"/wiki/สังกะสี\" title=\"สังกะสี\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สังกะสี</span></u></a>และ<a href=\"/wiki/ทองแดง\" title=\"ทองแดง\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ทองแดง</span></u></a> ซึ่งได้รับความเห็นจาก<a href=\"/wiki/นักวิทยาศาสตร์\" title=\"นักวิทยาศาสตร์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">นักวิทยาศาสตร์</span></u></a>ว่าเป็น<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แหล่งจ่ายไฟฟ้า (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แหล่งจ่ายไฟฟ้า</span></u></a>ที่เชื่อถือได้มากกว่า<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%95&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสถิต (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสถิต</span></u></a> (Electrostatic Generator) <sup id=\"cite_ref-kirby_9-1\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-kirby-9\"><u><span style=\"color: #800080\">[10]</span></u></a></sup> ที่เคยใช้กันมาก่อนหน้านี้ มีการจำแนก<a href=\"/wiki/ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า\" title=\"ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า</span></u></a> (Electromagnetism) เป็นสาขาของปรากฏการณ์ไฟฟ้าและ<a href=\"/wiki/แม่เหล็ก\" title=\"แม่เหล็ก\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แม่เหล็ก</span></u></a> โดย<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%8C_%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99_%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%94&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ฮันส์ คริสเทียน เออสเตด (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ฮันส์ คริสเตียน เออสเตด</span></u></a> และ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A3_%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B5_%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อังเดร มารี แอมแปร์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อังเดร มารี แอมแปร์</span></u></a>ในปี<a href=\"/wiki/พ.ศ._2362\" title=\"พ.ศ. 2362\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2362</span></u></a>-<a href=\"/wiki/พ.ศ._2363\" title=\"พ.ศ. 2363\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2363</span></u></a> ในปี<a href=\"/wiki/พ.ศ._2364\" title=\"พ.ศ. 2364\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2364</span></u></a> <a href=\"/wiki/ไมเคิล_ฟาราเดย์\" title=\"ไมเคิล ฟาราเดย์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ไมเคิล ฟาราเดย์</span></u></a>ได้ประดิษฐ์<a href=\"/wiki/มอเตอร์ไฟฟ้า\" title=\"มอเตอร์ไฟฟ้า\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">มอเตอร์ไฟฟ้า</span></u></a> (ไดนาโม) และ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%88_%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%99_%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%A1&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"จอร์จ ไซมอน โอห์ม (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">จอร์จ ไซมอน โอห์ม</span></u></a>ได้ใช้คณิตศาสตร์วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ &quot;<a href=\"/wiki/กฎของโอห์ม\" title=\"กฎของโอห์ม\"><u><span style=\"color: #0000ff\">กฎของโอห์ม</span></u></a>&quot; ในปี<a href=\"/wiki/พ.ศ._2370\" title=\"พ.ศ. 2370\"><u><span style=\"color: #0000ff\">พ.ศ. 2370</span></u></a> <sup id=\"cite_ref-kirby_9-2\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-kirby-9\"><u><span style=\"color: #800080\">[10]</span></u></a></sup>\n</p>\n<p>\nในศตววรษต่อมาวิทยาศาสตร์ด้านไฟฟ้าเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะเห็นความก้าวหน้าของ<a href=\"/wiki/วิศวกรรมไฟฟ้า\" title=\"วิศวกรรมไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">วิศวกรรมไฟฟ้า</span></u></a>อย่างมาก ดังจะเห็นได้จากปูชนียบุคคลสำคัญเฉกเช่น <a href=\"/wiki/นิโคลา_เทสลา\" title=\"นิโคลา เทสลา\"><u><span style=\"color: #0000ff\">นิโคลา เทสลา</span></u></a>, <a href=\"/wiki/โทมัส_อัลวา_เอดิสัน\" title=\"โทมัส อัลวา เอดิสัน\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โทมัส อัลวา เอดิสัน</span></u></a>, <a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%95%E0%B9%82%E0%B8%95_%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B5&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อ็อตโต บราธี (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อ็อตโต บราธี</span></u></a>, <a href=\"/wiki/จอร์จ_สตีเฟนสัน\" title=\"จอร์จ สตีเฟนสัน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">จอร์จ สตีเฟนสัน</span></u></a>, <a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%97%E0%B9%8C_%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%AD_%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%99_%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เอินสท์ เวอเทอ ฟอน ซีเมนส์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เอินสท์ เวอเทอ ฟอน ซีเมนส์</span></u></a>, <a href=\"/wiki/อเล็กซานเดอร์_เกรแฮม_เบลล์\" title=\"อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์</span></u></a> และ<a href=\"/wiki/วิลเลียม_ทอมสัน_บารอนเคลวินที่_1\" title=\"วิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1\"><u><span style=\"color: #0000ff\">วิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1</span></u></a> ไฟฟ้าได้แปลงโฉมหน้าวิถีชีวิตของคน<a href=\"/wiki/สมัยใหม่\" title=\"สมัยใหม่\"><u><span style=\"color: #0000ff\">สมัยใหม่</span></u></a> มีความจำเป็นและสมควรกับการเป็นแรงขับเคลื่อนใน<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><span style=\"color: #0000ff\"><u>การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2</u></span></a><sup id=\"cite_ref-10\" class=\"reference\"><a href=\"#cite_note-10\"><u><span style=\"color: #800080\">[11]</span></u></a></sup>\n</p>\n<h2><span class=\"editsection\">[<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;section=2\" title=\"แก้ไขส่วน: สาขาทางไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แก้</span></u></a>]</span> <span id=\".E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B8.82.E0.B8.B2.E0.B8.97.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B9.84.E0.B8.9F.E0.B8.9F.E0.B9.89.E0.B8.B2\" class=\"mw-headline\">สาขาทางไฟฟ้า</span></h2>\n<h3><span class=\"editsection\">[<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;section=3\" title=\"แก้ไขส่วน: ประจุไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แก้</span></u></a>]</span> <span id=\".E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.88.E0.B8.B8.E0.B9.84.E0.B8.9F.E0.B8.9F.E0.B9.89.E0.B8.B2\" class=\"mw-headline\">ประจุไฟฟ้า</span></h3>\n<dl>\n<dd>\n<div class=\"detail\">\n<i>ดูบทความหลักที่ <a href=\"/wiki/ประจุไฟฟ้า\" title=\"ประจุไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ประจุไฟฟ้า</span></u></a></i>\n</div>\n</dd>\n</dl>\n<div class=\"thumb tright\">\n<div style=\"width: 202px\" class=\"thumbinner\">\n<a href=\"/wiki/ไฟล์:Lightning_over_Oradea_Romania_2.jpg\" class=\"image\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><img src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/b/b5/Lightning_over_Oradea_Romania_2.jpg/200px-Lightning_over_Oradea_Romania_2.jpg\" class=\"thumbimage\" width=\"200\" height=\"300\" /></span></u></a> \n<div class=\"thumbcaption\">\n<div class=\"magnify\">\n<a href=\"/wiki/ไฟล์:Lightning_over_Oradea_Romania_2.jpg\" title=\"ขยาย\" class=\"internal\"><span style=\"border-color: #0000ff; border-width: 2px; display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle\"><span style=\"display: inline-block; width: 1px; height: 1px\"></span></span></a>\n</div>\n<p><a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ฟ้าผ่า (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ฟ้าผ่า</span></u></a>เป็นตัวอย่างปรากฏการณ์ที่เกิดจากประจุไฟฟ้า\n</p></div>\n</div>\n</div>\n<p>\nประจุไฟฟ้าเป็นคุณสมบัติของ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%8B%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A1&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อนุภาคซึ่งเล็กกว่าอะตอม (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อนุภาคซึ่งเล็กกว่าอะตอม</span></u></a> (Subatomic particle) ที่ชัดเจน ซึ่งแสดงให้เห็นและมีผลกระทบต่อ<a href=\"/wiki/แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\" title=\"แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงแม่เหล็กไฟฟ้า</span></u></a> ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"แรงพื้นฐาน (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงพื้นฐาน</span></u></a> (Fundamential Interaction) ในธรรมชาติ (แรงมูลฐานประกอบด้วย<a href=\"/wiki/แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\" title=\"แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงแม่เหล็กไฟฟ้า</span></u></a>, <a href=\"/wiki/แรงโน้มถ่วง\" title=\"แรงโน้มถ่วง\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงโน้มถ่วง</span></u></a>, <a href=\"/wiki/แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน\" title=\"แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน</span></u></a> และ<a href=\"/wiki/แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม\" title=\"แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม</span></u></a>) ประจุไฟฟ้าเกิดจาก<a href=\"/wiki/อะตอม\" title=\"อะตอม\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อะตอม</span></u></a>ซึ่งมีปริมาณของ<a href=\"/wiki/อิเล็กตรอน\" title=\"อิเล็กตรอน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อิเล็กตรอน</span></u></a>และ<a href=\"/wiki/โปรตอน\" title=\"โปรตอน\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โปรตอน</span></u></a> มันจะ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B8&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อนุรักษ์ประจุ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อนุรักษ์ประจุ</span></u></a>ของมันเอาไว้ เพราะกลุ่มประจุจะอยู่ใน<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ระบบโดดเดี่ยว (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ระบบโดดเดี่ยว</span></u></a> (Isolated system) ซึ่งจะทำให้ประจุยังคงอยู่ในระบบของมันตลอดเวลา ในระบบประจุสามารถถ่านเทกันได้ระหว่าง<a href=\"/wiki/อะตอม\" title=\"อะตอม\"><u><span style=\"color: #0000ff\">อะตอม</span></u></a> ถ้าไม่เกิดจากการสัมผัสกันโดยตรงก็เกิดจากการนำประจุของ<a href=\"/wiki/โลหะ\" title=\"โลหะ\"><u><span style=\"color: #0000ff\">โลหะ</span></u></a>อย่างเช่นเส้น<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%94&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ลวด (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ลวด</span></u></a> อาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมของประจุเหล่านี้เป็น<a href=\"/wiki/ไฟฟ้าสถิต\" title=\"ไฟฟ้าสถิต\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ไฟฟ้าสถิต</span></u></a>ก็ได้ โดยทั่วไปจะเกิดจากการขัดถูของวัตถุที่แตกต่างกันสองชนิด จะเกิดการถ่ายเทประจุจากวัตถุชนิดหนึ่งไปยังอีกชนิดหนึ่ง\n</p>\n<p>\nพฤติกรรมของประจุจะทำให้เกิด<a href=\"/wiki/แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\" title=\"แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงแม่เหล็กไฟฟ้า</span></u></a>ขึ้น แรงของมันเป็นที่รู้กันในอดีต แต่ในช่วงเวลานั้นยังไม่มีใครเข้าใจปรากฏการณ์ดังกล่าว\n</p>\n<p>\nลูกบอลน้ำหนักเบาที่ถูกแขวนสามารถมีประจุไฟฟ้าได้จากการกระตุ้นโดยแท่งแก้วที่ขัดถูกับผ้ามาแล้ว ในทำนองเดียวกันลูกบอลที่มีประจุไฟฟ้าโดยการกระตุ้นจากแท่งแก้วเหมือนกันกับลูกบอลลูกแรก เมื่อมาเจอกันก็จะผลักกัน สามารถกล่าวได้ว่าวัตถุที่มีประจุเหมือนกันจะผลักกัน อย่างไรก็ตามถ้าลูกบอลลูกหนึ่งถูกกระตุ้นโดยแท่งแก้ว ส่วนอีกลูกหนึ่งถูกกระตุ้นโดยแท่งอำพัน ลูกบอลสองลูกนั้นจะดึงดูดกัน นั่นคือวัตถุที่มีประจุต่างกันจะดูดกัน ปรากฏการณ์นี้ค้นพบโดย<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B9%8C_%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%99_%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%AD_%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ชาร์ลส์ ออกัสติน เดอ คูลอมป์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ชาร์ลส์ ออกัสติน เดอ คูลอมป์</span></u></a>\n</p>\n<p>\nหลักการก็คือจะเกิดแรงที่ประจุด้วยตัวของมันเอง ดังนั้นประจุจึงมีแนวโน้มที่จะกระจายไปทั่วบริเวณและเป็นไปได้ที่จะกรัจาบไปทั่วผิวหน้าวัตถุ ส่วนสำคัญของเรื่อง<a href=\"/wiki/แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\" title=\"แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงแม่เหล็กไฟฟ้า</span></u></a>ไม่ว่าจะดูดหรือผลักกัน จะเป็นไปตาม<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"กฎของคูลอมป์ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">กฎของคูลอมป์</span></u></a>ซึ่งเกี่ยวข้องกับแรงที่เกิดจากประจุและมีความเกี่ยวข้องกับ<a href=\"/w/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A1&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"กฎจัตุรัสตรงข้าม (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">กฎจัตุรัสตรงข้าม</span></u></a> (Inverse-square Law) ระหว่างประจุที่เกิดแรงซึ่งกันและกัน <a href=\"/wiki/แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\" title=\"แรงแม่เหล็กไฟฟ้า\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงแม่เหล็กไฟฟ้า</span></u></a>นี้แข็งแรงมาก เป็นรองแค่<a href=\"/wiki/แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม\" title=\"แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม</span></u></a>เท่านั้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nอ้างอิง <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2\" title=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2</a>\n</p>\n', created = 1729412412, expire = 1729498812, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7458bd209ddbebbf9070de0cca9a22a9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a6c23a0e57ab5c3e3cc44e4cca45dc70' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>อาจารย์มีแหล่งที่มาข้อมูลแล้ว</p>\n', created = 1729412412, expire = 1729498812, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a6c23a0e57ab5c3e3cc44e4cca45dc70' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไฟฟ้า...น่ารู้

รูปภาพของ knw_32293

ก่อนที่จะมีความรู้ทางด้านไฟฟ้า มีผู้คนตระหนักถึงภัยของปลาไฟฟ้า ในสมัยอียิปต์โบราณพบข้อความที่จารึกในช่วงประมาณ 250 ปีก่อนพุทธศักราช ว่าปลาไฟฟ้าเป็น "สายฟ้าแห่งแม่น้ำไนล์" และพรรณนาว่ามันเป็น "ผู้พิทักษ์" แก่ปลาอื่นๆ ทั้งมวล ทั้งนี้ยังค้นพบบันทึกอื่นๆ ทั้งในกรีกโบราณ โรมัน อาหรับ[1] ว่าการที่ถูกไฟช็อตโดยปลาดุกไฟฟ้า (Electric catfish) และปลากระเบนไฟฟ้า (torpedo ray หรือ Electric ray) จะทำให้รู้สึกตัวชา และยังทราบว่าการช็อตเช่นนั้น สามารถทำให้วัตถุเกิดการเคลื่อนที่ได้ด้วย[2] ผู้ป่วยที่ได้รับความเจ็บปวดจากการเป็นเกาต์หรือปวดหัว จะได้รับการรักษาโดยการสัมผัสปลาไฟฟ้า ซึ่งหวังว่าจะทำให้ผู้ป่วยกระตุกเป็นการรักษาฟื้นฟูอาการ ด้วยความบังเอิญจากการช็อตทำให้ค้นพบแหล่งกำเนิดแสงสว่าง

วัตถุที่เฉพาะเจาะจงอย่างมากคือแท่งอำพัน ที่นำมาขัดถูกับขนแมว ทำให้เกิดแสงเหมือนปกคลุมด้วยขนนก ซึ่งพบโดยอารยธรรมโบราณแถบเมดิเตอร์เรเนียน เธลีส แห่ง มิเลทัส ได้จัดลำดับการเกิดไฟฟ้าสถิตในสมัยพุทธกาล ซึ่งเป็นสิ่งที่เขาเชื่อว่าเมื่อเสียดสีกับอำพันแล้ว จะทำให้อำพันแสดงความเป็นแม่เหล็กออกมา ซึ่งในทางกลับกัน หินแร่ (minerals) กลับแสดงความเป็นแม่เหล็กโดยไม่ต้องขัดถู [3][4] แต่ความเขื่อของเธลีสนั้นผิดที่การขัดสีอำพันไม่ได้แสดงความเป็นแม่เหล็กของอำพันเลย แต่ภายหลังวิทยาศาสตร์ก็พิสูจน์ได้ว่าเป็นความเชื่อมต่อระหว่างความเป็นแม่เหล็กกับความเป็นไฟฟ้า เป็นที่ยอมรับกันว่าในตะวันออกกลาง สมัยราชวงศ์ปาร์เธีย (Parthia) อาจจะมีความรู้ทางด้านแผ่นโลหะไฟฟ้า (Electroplating) เพราะในปี พ.ศ. 2479 มีการค้นพบแบตเตอรี่แบกแดด ซึ่งคล้ายคลึงกับเซลล์ไฟฟ้าเคมี ถึงแม้จะยังไม่ทราบแน่ใจว่าทั้งคู่จะใช่ไฟฟ้าจากธรรมชาติชนิดเดียวกันหรือไม่[5]

ความรู้ทางด้านไฟฟ้ายังมีเล็กน้อยนับพันปีให้หลัง จนกระทั่งพุทธศตวรรษที่ 22 เมื่อวิลเลียม กิลเบิร์ต นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษได้ศึกษาแม่เหล็กและไฟฟ้าอย่างละเอียด ผลกระทบของแร่เหล็กจากไฟฟ้าสถิตนั้นเกิดขึ้นจากการขัดสีของอำพัน [3] เขาบัญญัติศัพท์จากการค้นพบใหม่เป็นภาษาละตินใหม่ว่า "electricus" (แปลว่าอำพันในภาษากรีก) ซึ่งก็หมายถึงคุณสมบัติของการดึงดูดวัตถุเล็กๆหลังจากการขัดสี .[6] ในภาษาอังกฤษเรียกว่า "electric" และ "electricity" ปรากฏขึ้นครั้งแรกใน Pseudodoxia Epidemica ของโธมัส บราวน์ เมื่อปี พ.ศ. 2189 [7]

ชิ้นงานที่ให้การสนับสนุนต่อๆ มานำโดยอ็อตโต ฟอน เกียริก, โรเบิร์ต บอยล์, สตีเฟน เกรย์ และชาร์ล เอฟ. ดู เฟย์ ในพุทธศตวรรษที่ 23 เบนจามิน แฟรงคลิน ทำการวิจัยเรื่องไฟฟ้าอย่างกว้างขวาง เขาขายทรัพย์สมบัติที่มีเพื่อเป็นทุนวิจัยของเขา ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2295 เขาได้ติดลูกกุญแจโลหะไว้ที่หางว่าว แล้วปล่อยลอยขึ้นในวันที่ท้องฟ้ามีลมพายุรุนแรง [8] เขาสังเกตประกายไฟที่ประโดดจากลูกกุญแจโลหะสู่หลังมือของเขา มันมีแสงซึ่งก็คือไฟฟ้าในธรรมชาติอย่างแท้จริง [9]

ในปีพ.ศ. 2334 ลุยจิ กัลวานี นักฟิสิกส์ชาวอิตาลีได้ตีพิมพ์การค้นพบไฟฟ้าชีวภาพ พิสูจน์ให้เห็นว่าไฟฟ้าอยู่ระหว่างเซลล์ประสาทผ่านสัญญาณไปสู่กล้ามเนื้อ [10] แบตเตอรี่ของอเล็กซานโดร โวลต้าในพุทธศตวรรษที่ 24 ทำมาจากชั้นที่สลับซ้อกันของสังกะสีและทองแดง ซึ่งได้รับความเห็นจากนักวิทยาศาสตร์ว่าเป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าที่เชื่อถือได้มากกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสถิต (Electrostatic Generator) [10] ที่เคยใช้กันมาก่อนหน้านี้ มีการจำแนกทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetism) เป็นสาขาของปรากฏการณ์ไฟฟ้าและแม่เหล็ก โดยฮันส์ คริสเตียน เออสเตด และอังเดร มารี แอมแปร์ในปีพ.ศ. 2362-พ.ศ. 2363 ในปีพ.ศ. 2364 ไมเคิล ฟาราเดย์ได้ประดิษฐ์มอเตอร์ไฟฟ้า (ไดนาโม) และจอร์จ ไซมอน โอห์มได้ใช้คณิตศาสตร์วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ "กฎของโอห์ม" ในปีพ.ศ. 2370 [10]

ในศตววรษต่อมาวิทยาศาสตร์ด้านไฟฟ้าเจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะเห็นความก้าวหน้าของวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากปูชนียบุคคลสำคัญเฉกเช่น นิโคลา เทสลา, โทมัส อัลวา เอดิสัน, อ็อตโต บราธี, จอร์จ สตีเฟนสัน, เอินสท์ เวอเทอ ฟอน ซีเมนส์, อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ และวิลเลียม ทอมสัน บารอนเคลวินที่ 1 ไฟฟ้าได้แปลงโฉมหน้าวิถีชีวิตของคนสมัยใหม่ มีความจำเป็นและสมควรกับการเป็นแรงขับเคลื่อนในการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2[11]

[แก้] สาขาทางไฟฟ้า

[แก้] ประจุไฟฟ้า

ดูบทความหลักที่ ประจุไฟฟ้า

ฟ้าผ่าเป็นตัวอย่างปรากฏการณ์ที่เกิดจากประจุไฟฟ้า

ประจุไฟฟ้าเป็นคุณสมบัติของอนุภาคซึ่งเล็กกว่าอะตอม (Subatomic particle) ที่ชัดเจน ซึ่งแสดงให้เห็นและมีผลกระทบต่อแรงแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่แรงพื้นฐาน (Fundamential Interaction) ในธรรมชาติ (แรงมูลฐานประกอบด้วยแรงแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงโน้มถ่วง, แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน และแรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม) ประจุไฟฟ้าเกิดจากอะตอมซึ่งมีปริมาณของอิเล็กตรอนและโปรตอน มันจะอนุรักษ์ประจุของมันเอาไว้ เพราะกลุ่มประจุจะอยู่ในระบบโดดเดี่ยว (Isolated system) ซึ่งจะทำให้ประจุยังคงอยู่ในระบบของมันตลอดเวลา ในระบบประจุสามารถถ่านเทกันได้ระหว่างอะตอม ถ้าไม่เกิดจากการสัมผัสกันโดยตรงก็เกิดจากการนำประจุของโลหะอย่างเช่นเส้นลวด อาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมของประจุเหล่านี้เป็นไฟฟ้าสถิตก็ได้ โดยทั่วไปจะเกิดจากการขัดถูของวัตถุที่แตกต่างกันสองชนิด จะเกิดการถ่ายเทประจุจากวัตถุชนิดหนึ่งไปยังอีกชนิดหนึ่ง

พฤติกรรมของประจุจะทำให้เกิดแรงแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้น แรงของมันเป็นที่รู้กันในอดีต แต่ในช่วงเวลานั้นยังไม่มีใครเข้าใจปรากฏการณ์ดังกล่าว

ลูกบอลน้ำหนักเบาที่ถูกแขวนสามารถมีประจุไฟฟ้าได้จากการกระตุ้นโดยแท่งแก้วที่ขัดถูกับผ้ามาแล้ว ในทำนองเดียวกันลูกบอลที่มีประจุไฟฟ้าโดยการกระตุ้นจากแท่งแก้วเหมือนกันกับลูกบอลลูกแรก เมื่อมาเจอกันก็จะผลักกัน สามารถกล่าวได้ว่าวัตถุที่มีประจุเหมือนกันจะผลักกัน อย่างไรก็ตามถ้าลูกบอลลูกหนึ่งถูกกระตุ้นโดยแท่งแก้ว ส่วนอีกลูกหนึ่งถูกกระตุ้นโดยแท่งอำพัน ลูกบอลสองลูกนั้นจะดึงดูดกัน นั่นคือวัตถุที่มีประจุต่างกันจะดูดกัน ปรากฏการณ์นี้ค้นพบโดยชาร์ลส์ ออกัสติน เดอ คูลอมป์

หลักการก็คือจะเกิดแรงที่ประจุด้วยตัวของมันเอง ดังนั้นประจุจึงมีแนวโน้มที่จะกระจายไปทั่วบริเวณและเป็นไปได้ที่จะกรัจาบไปทั่วผิวหน้าวัตถุ ส่วนสำคัญของเรื่องแรงแม่เหล็กไฟฟ้าไม่ว่าจะดูดหรือผลักกัน จะเป็นไปตามกฎของคูลอมป์ซึ่งเกี่ยวข้องกับแรงที่เกิดจากประจุและมีความเกี่ยวข้องกับกฎจัตุรัสตรงข้าม (Inverse-square Law) ระหว่างประจุที่เกิดแรงซึ่งกันและกัน แรงแม่เหล็กไฟฟ้านี้แข็งแรงมาก เป็นรองแค่แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มเท่านั้น

 

อ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2

รูปภาพของ virat

ครูวิรัช แม้ไม่อาจเทียบ 1 ใน ล้าน ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป ไม่มีวันท้อ

ขอที่มาข้อมูลด้วย

รูปภาพของ knw_32293

อาจารย์มีแหล่งที่มาข้อมูลแล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 481 คน กำลังออนไลน์