• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('เขียนBlogแว้ววววว.........', 'node/4613', '', '3.144.237.77', 0, '4bb8a3c184f5496ffc3534c8099e7941', 154, 1716078467) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:550dd8ee596fd0752a6d4aaca1c07a1e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">รายงาน</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ภูมปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนา</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เสนอ</span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                 </span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">    คุณครู วัชรี<span>  </span>กมลเสรีรัตน์</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\">                        </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">จัดทำโดย</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>            </span><span>                  </span></span></b></span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>          </span>1. นางสาว ลลิตา<span>  </span>ไพรสิงห์<span>  </span><span>    </span>เลที่ 20</span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>     </span></span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>          </span>2. นางสาว พิชญาภัค<span>  </span>นากุล <span>   </span>เลขที่<span> </span>26</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span></b></span> </p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>3. นางสาว วนัชพร<span>  </span>วงศ์สุวรรณ เลขที่ 27</span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                       </span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #0000ff\"></span></o:p></span></b><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ไทย</span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา</span></b><b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>  </span>2552<o:p></o:p></span></b></span> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์</span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span><strong> </strong></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span><strong> </strong></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span><strong> </strong></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span><strong>คำนำ<o:p></o:p></strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>          </span></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span></span>รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษา ภูมิปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนาของมนุษย์ และเป็นแหล่งความรู้อีกทางที่น่าค้นหา</span><span style=\"font-size: 14pt; color: #339966; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การบูรณาการแนวคิดทางศาสนามาใช้กับวิถีชีวิตประจำวัน จะเป็นสิ่งที่สอดคล้องกันไปได้อย่างดีเพียงแต่คนไทยทุกคนต้องมีความมุ่งมั่นในการดำเนินชีวิต</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>        </span>หากรายงานฉบับนี้ผิดพลาดประการต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย</span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: black\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span><span><span>                                                                </span><span>                  </span></span><span><span> </span></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 22pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><span><span></span></span></o:p></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>                                                                </span><span>                                                                </span><span>  </span><b>คณะผู้จัดทำ</b></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span><o:p><strong> </strong></o:p></span><span><o:p></o:p></span> <span><o:p></o:p></span> <span><o:p></o:p></span><span><o:p><span><strong>ภูมิปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนา<o:p></o:p></strong></span><span><strong>ภูมิปัญญาไทย</strong><span style=\"font-size: small\"> </span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #7030a0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #7030a0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Wisdom <span lang=\"TH\">หมายถึง ความรู้ความสามารถ วิธีการผลงานที่คนไทยได้ค้นคว้า รวบรวม และจัดเป็นความรู้ ถ่ายทอด ปรับปรุง จากคนรุ่นหนึ่งมาสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง จนเกิดผลิตผลที่ดี งดงาม มีคุณค่า มีประโยชน์ สามารถนำมาแก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตได้แต่ละหมู่บ้าน แต่ละชุมชนไทย ล้วนมีการทำมาหากินที่สอดคล้องกับภูมิประเทศ มีผู้นำที่มีความรู้ มีฝีมือทางช่าง สามารถคิดประดิษฐ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาของชาวบ้านได้ ผู้นำเหล่านี้ เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้ทรงภูมิปัญญาไทย</span><o:p></o:p></span><span class=\"mw-headline\"><span style=\"color: #7030a0\"><o:p><strong><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></strong></o:p></span></span><span class=\"mw-headline\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #7030a0\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"><strong> </strong><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span></span></o:p></span></span><span class=\"mw-headline\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #7030a0\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span class=\"mw-headline\"><b><span style=\"font-size: 16pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ลักษณะของภูมิปัญญาไทย</span></b></span><b><span style=\"font-size: 16pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">1. <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเป็นทั้งความรู้ ทักษะ ความเชื่อ และพฤติกรรม </span><b><o:p></o:p></b></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">2. <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">3. <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทยเป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิตของคน </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">4. <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทยเป็นเรื่องของการแก้ปัญหา การจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้ เพื่อความอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">5. <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทยเป็นพื้นฐานสำคัญในการมองชีวิต เป็นพื้นฐานความรู้ในเรื่องต่างๆ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">6. <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">7. <span lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทยมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม </span><o:p></o:p></span></span></span></span></o:p></span></span></o:p></span><span><o:p><span class=\"mw-headline\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #7030a0\"><o:p><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></o:p></span></span></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: 246.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span class=\"mw-headline\"><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: 246.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span class=\"mw-headline\"><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b></span>\n</p>\n<p><span class=\"mw-headline\"><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คุณสมบัติของผู้ทรงภูมิปัญญาไทย</span></b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: #548dd4; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ผู้ทรงภูมิปัญญาไทยเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ อย่างน้อยดังต่อไปนี้ </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #548dd4; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">1. <span lang=\"TH\">เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพต่างๆ มีผลงานด้านการพัฒนาท้องถิ่นของตน และได้รับการยอมรับจากบุคคลทั่วไปอย่างกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ที่ใช้หลักธรรมคำสอนทางศาสนาของตนเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวในการดำรงวิถีชีวิตโดยตลอด </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">2. <span lang=\"TH\">เป็นผู้คงแก่เรียนและหมั่นศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ผู้ทรงภูมิปัญญาจะเป็นผู้ที่หมั่นศึกษา แสวงหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอไม่หยุดนิ่ง เรียนรู้ทั้งในระบบและนอกระบบ เป็นผู้ลงมือทำโดยทดลองทำตามที่เรียนมา </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">3. <span lang=\"TH\">เป็นผู้นำของท้องถิ่น ผู้ทรงภูมิปัญญาส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่สังคม ในแต่ละท้องถิ่นยอมรับให้เป็นผู้นำ ทั้งผู้นำที่ได้รับการแต่งตั้งจากทางราชการ และผู้นำตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถเป็นผู้นำของท้องถิ่นและช่วยเหลือผู้อื่นได้เป็นอย่างดี </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">4. <span lang=\"TH\">เป็นผู้ที่สนใจปัญหาของท้องถิ่น ผู้ทรงภูมิปัญญาล้วนเป็นผู้ที่สนใจปัญหาของท้องถิ่น เอาใจใส่ ศึกษาปัญหา หาทางแก้ไข และช่วยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล้เคียงอย่างไม่ย่อท้อ จนประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับของสมาชิกและบุคคลทั่วไป </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">5. <span lang=\"TH\">เป็นผู้ขยันหมั่นเพียร ผู้ทรงภูมิปัญญาเป็นผู้ขยันหมั่นเพียร ลงมือทำงานและผลิตผลงานอยู่เสมอ ปรับปรุงและพัฒนาผลงานให้มีคุณภาพมากขึ้นอีกทั้งมุ่งทำงานของตนอย่างต่อเนื่อง </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">6. <span lang=\"TH\">เป็นนักปกครองและประสานประโยชน์ของท้องถิ่น ผู้ทรงภูมิปัญญา นอกจากเป็นผู้ที่ประพฤติตนเป็นคนดี จนเป็นที่ยอมรับนับถือจากบุคคลทั่วไปแล้ว ผลงานที่ท่านทำยังถือว่ามีคุณค่า จึงเป็นผู้ที่มีทั้ง &quot;ครองตน ครองคน และครองงาน&quot; </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">7. <span lang=\"TH\">มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เป็นเลิศ เมื่อผู้ทรงภูมิปัญญามีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เป็นเลิศ มีผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและบุคคลทั่วไป ทั้งชาวบ้าน นักวิชาการ นักเรียน นิสิต/นักศึกษา โดยอาจเข้าไปศึกษาหาความรู้ หรือเชิญท่านเหล่านั้นไป เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ได้ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">8. <span lang=\"TH\">เป็นผู้มีคู่ครองหรือบริวารดี ผู้ทรงภูมิปัญญา ถ้าเป็นคฤหัสถ์ จะพบว่า ล้วนมีคู่ครองที่ดีที่คอยสนับสนุน ช่วยเหลือ ให้กำลังใจ ให้ความร่วมมือในงานที่ท่านทำ ช่วยให้ผลิตผลงานที่มีคุณค่า ถ้าเป็นนักบวช ไม่ว่าจะเป็นศาสนาใด ต้องมีบริวารที่ดี จึงจะสามารถผลิตผลงานที่มีคุณค่าทางศาสนาได้ </span><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">9. <span lang=\"TH\">เป็นผู้มีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญจนได้รับการยกย่องว่าเป็นปราชญ์ ผู้ทรงภูมิปัญญา ต้องเป็นผู้มีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญ รวมทั้งสร้างสรรค์ผลงานพิเศษใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและมนุษยชาติอย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #00b050; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: 115%\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 16pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ภูมิปัญญาไทยในด้านความเชื่อทางศาสนา</span></b><span style=\"font-size: 16pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #002060; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นความ ความสามารถปรับปรุง ประยุกต์คำสอนทางศาสนาใช้กับวิถีชีวิตได้อย่างเหมาะสม คนไทยยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นส่วนใหญ่ โดยนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาปรับใช้ในวิถีชีวิตได้อย่างเหมาะสม ทำให้คนไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความอดทนให้อภัยแก่ผู้สำนึกผิด ดำรงชีวิตอย่างเรียบง่ายปกติสุข </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #002060; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #002060; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">      <span lang=\"TH\"> ความเชื่อ คือการยอมรับอันเกิดอยู่ในจิตสำนึกของมนุษย์ ต่อพลังอำนาจเหนือ ธรรมชาติ ความเชื่อเป็นธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ทุกรูปทุกนาม สิ่งที่มนุษย์ได้ สัมผัสทางใดทางหนึ่งจากอายตนะทั้ง ๖ ( ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ) เป็นต้นเหตุของ ความเชื่ออันเป็นสัญญเจตนา เมื่อเกิดการเพาะบ่มความเชื่อโดยอาศัยสิ่งแวดล้อมที่ได้สัมผัสเป็นประจำ เป็นเครื่องช่วยให้ความเชื่อเจริญเติบโต จึงเกิดรูปเกิดสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง จึงเกิดความเชื่อในรูปแบบความเชื่อที่เป็นรูปธรรม และความเชื่อที่เป็นนามธรรม <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #002060; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">      <span lang=\"TH\"> ความเชื่อทางพุทธศาสนา เช่น ความเชื่อเรื่องกฏแห่งกรรม ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ความเชื่อบาป บุญคุณโทษ ความเชื่อเรื่องชาติภพ ความเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ เป็นต้น โดยมีการผสมผสานความเชื่อแบบศาสนาพราหมณ์รวมอยู่ด้วย เช่น ความเชื่อเรื่องเทพเทวดา พระอินทร์ พระพรหมท้าวจตุโลกบาลผู้รักษาทิศทั้งสี่ เป็นต้น ซึ่งเห็นได้จากเมื่อมีการประกอบพิธีกรรมใด ๆ ก็ตามเมื่อมีการกล่าวถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์แล้ว มักจะมีกล่าวถึงเทพเทวดาต่างๆด้วย</span>              <span lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke></span></span></span><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 198.75pt; z-index: 251658240; margin-left: 53.3pt; width: 173.95pt; position: absolute; height: 154.5pt\" id=\"_x0000_s1027\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\aa\\LOCALS~1\\Temp\\msohtmlclip1\\01\\clip_image001.jpg\" o:href=\"http://statics.atcloud.com/files/comments/117/1176355/images/1_display.jpg\"> </v:imagedata></v:shape>        <img width=\"402\" src=\"http://www.thaitambon.com/OTOPFair2550/Tanghuaseng1_400.jpg\" height=\"346\" style=\"width: 251px; height: 200px\" />                                   <a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://share.psu.ac.th/file/aekkarak.f/Elderly%2Btradition7.jpg&amp;imgrefurl=http://share.psu.ac.th/blog/watershed/6574&amp;usg=__JyPRCC7bWddgNzAzkmzZ8o_jibU=&amp;h=502&amp;w=502&amp;sz=304&amp;hl=th&amp;start=13&amp;um=1&amp;tbnid=KXeIfTtHkTQKeM:&amp;tbnh=130&amp;tbnw=130&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B9%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%258D%25E0%25B8%25B2%25E0%25B9%2584%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25A2%26hl%3Dth%26sa%3DN%26um%3D1\">  <img width=\"130\" src=\"http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:KXeIfTtHkTQKeM:http://share.psu.ac.th/file/aekkarak.f/Elderly%2Btradition7.jpg\" height=\"130\" style=\"vertical-align: bottom; width: 262px; height: 210px; border: 1px solid\" /></a> \n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n           <img width=\"371\" src=\"http://statics.atcloud.com/files/comments/117/1176355/images/1_display.jpg\" height=\"342\" style=\"width: 187px; height: 247px\" />\n</p>\n<p></p>\n', created = 1716078477, expire = 1716164877, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:550dd8ee596fd0752a6d4aaca1c07a1e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภูมปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนา

รายงานภูมปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนา  เสนอ                     คุณครู วัชรี  กมลเสรีรัตน์                           จัดทำโดย                              

          1. นางสาว ลลิตา  ไพรสิงห์      เลที่ 20     

          2. นางสาว พิชญาภัค  นากุล    เลขที่ 26  

         3. นางสาว วนัชพร  วงศ์สุวรรณ เลขที่ 27

                       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1  รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ไทยภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา  2552

โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์

   คำนำ           รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษา ภูมิปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนาของมนุษย์ และเป็นแหล่งความรู้อีกทางที่น่าค้นหา การบูรณาการแนวคิดทางศาสนามาใช้กับวิถีชีวิตประจำวัน จะเป็นสิ่งที่สอดคล้องกันไปได้อย่างดีเพียงแต่คนไทยทุกคนต้องมีความมุ่งมั่นในการดำเนินชีวิต         หากรายงานฉบับนี้ผิดพลาดประการต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย                                                                                      

                                                                                                                                  คณะผู้จัดทำ

   ภูมิปัญญาไทยกับความเชื่อทางศาสนาภูมิปัญญาไทย ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Wisdom หมายถึง ความรู้ความสามารถ วิธีการผลงานที่คนไทยได้ค้นคว้า รวบรวม และจัดเป็นความรู้ ถ่ายทอด ปรับปรุง จากคนรุ่นหนึ่งมาสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง จนเกิดผลิตผลที่ดี งดงาม มีคุณค่า มีประโยชน์ สามารถนำมาแก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตได้แต่ละหมู่บ้าน แต่ละชุมชนไทย ล้วนมีการทำมาหากินที่สอดคล้องกับภูมิประเทศ มีผู้นำที่มีความรู้ มีฝีมือทางช่าง สามารถคิดประดิษฐ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาของชาวบ้านได้ ผู้นำเหล่านี้ เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน หรือผู้ทรงภูมิปัญญาไทย   ลักษณะของภูมิปัญญาไทย1. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเป็นทั้งความรู้ ทักษะ ความเชื่อ และพฤติกรรม 2. ภูมิปัญญาไทยแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ 3. ภูมิปัญญาไทยเป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิตของคน 4. ภูมิปัญญาไทยเป็นเรื่องของการแก้ปัญหา การจัดการ การปรับตัว และการเรียนรู้ เพื่อความอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภูมิปัญญาไทยเป็นพื้นฐานสำคัญในการมองชีวิต เป็นพื้นฐานความรู้ในเรื่องต่างๆ 6. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะ หรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง 7. ภูมิปัญญาไทยมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม

คุณสมบัติของผู้ทรงภูมิปัญญาไทยผู้ทรงภูมิปัญญาไทยเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ อย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1. เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพต่างๆ มีผลงานด้านการพัฒนาท้องถิ่นของตน และได้รับการยอมรับจากบุคคลทั่วไปอย่างกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ที่ใช้หลักธรรมคำสอนทางศาสนาของตนเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวในการดำรงวิถีชีวิตโดยตลอด 2. เป็นผู้คงแก่เรียนและหมั่นศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ผู้ทรงภูมิปัญญาจะเป็นผู้ที่หมั่นศึกษา แสวงหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอไม่หยุดนิ่ง เรียนรู้ทั้งในระบบและนอกระบบ เป็นผู้ลงมือทำโดยทดลองทำตามที่เรียนมา 3. เป็นผู้นำของท้องถิ่น ผู้ทรงภูมิปัญญาส่วนใหญ่จะเป็นผู้ที่สังคม ในแต่ละท้องถิ่นยอมรับให้เป็นผู้นำ ทั้งผู้นำที่ได้รับการแต่งตั้งจากทางราชการ และผู้นำตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถเป็นผู้นำของท้องถิ่นและช่วยเหลือผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 4. เป็นผู้ที่สนใจปัญหาของท้องถิ่น ผู้ทรงภูมิปัญญาล้วนเป็นผู้ที่สนใจปัญหาของท้องถิ่น เอาใจใส่ ศึกษาปัญหา หาทางแก้ไข และช่วยเหลือสมาชิกในชุมชนของตนและชุมชนใกล้เคียงอย่างไม่ย่อท้อ จนประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับของสมาชิกและบุคคลทั่วไป 5. เป็นผู้ขยันหมั่นเพียร ผู้ทรงภูมิปัญญาเป็นผู้ขยันหมั่นเพียร ลงมือทำงานและผลิตผลงานอยู่เสมอ ปรับปรุงและพัฒนาผลงานให้มีคุณภาพมากขึ้นอีกทั้งมุ่งทำงานของตนอย่างต่อเนื่อง 6. เป็นนักปกครองและประสานประโยชน์ของท้องถิ่น ผู้ทรงภูมิปัญญา นอกจากเป็นผู้ที่ประพฤติตนเป็นคนดี จนเป็นที่ยอมรับนับถือจากบุคคลทั่วไปแล้ว ผลงานที่ท่านทำยังถือว่ามีคุณค่า จึงเป็นผู้ที่มีทั้ง "ครองตน ครองคน และครองงาน" 7. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เป็นเลิศ เมื่อผู้ทรงภูมิปัญญามีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เป็นเลิศ มีผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและบุคคลทั่วไป ทั้งชาวบ้าน นักวิชาการ นักเรียน นิสิต/นักศึกษา โดยอาจเข้าไปศึกษาหาความรู้ หรือเชิญท่านเหล่านั้นไป เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ได้  8. เป็นผู้มีคู่ครองหรือบริวารดี ผู้ทรงภูมิปัญญา ถ้าเป็นคฤหัสถ์ จะพบว่า ล้วนมีคู่ครองที่ดีที่คอยสนับสนุน ช่วยเหลือ ให้กำลังใจ ให้ความร่วมมือในงานที่ท่านทำ ช่วยให้ผลิตผลงานที่มีคุณค่า ถ้าเป็นนักบวช ไม่ว่าจะเป็นศาสนาใด ต้องมีบริวารที่ดี จึงจะสามารถผลิตผลงานที่มีคุณค่าทางศาสนาได้

9. เป็นผู้มีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญจนได้รับการยกย่องว่าเป็นปราชญ์ ผู้ทรงภูมิปัญญา ต้องเป็นผู้มีปัญญารอบรู้และเชี่ยวชาญ รวมทั้งสร้างสรรค์ผลงานพิเศษใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและมนุษยชาติอย่างต่อเนื่องอยู่เสมอ

ภูมิปัญญาไทยในด้านความเชื่อทางศาสนา เป็นความ ความสามารถปรับปรุง ประยุกต์คำสอนทางศาสนาใช้กับวิถีชีวิตได้อย่างเหมาะสม คนไทยยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นส่วนใหญ่ โดยนำหลักธรรมคำสอนทางศาสนามาปรับใช้ในวิถีชีวิตได้อย่างเหมาะสม ทำให้คนไทยเป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ประนีประนอม รักสงบ ใจเย็น มีความอดทนให้อภัยแก่ผู้สำนึกผิด ดำรงชีวิตอย่างเรียบง่ายปกติสุข        ความเชื่อ คือการยอมรับอันเกิดอยู่ในจิตสำนึกของมนุษย์ ต่อพลังอำนาจเหนือ ธรรมชาติ ความเชื่อเป็นธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ทุกรูปทุกนาม สิ่งที่มนุษย์ได้ สัมผัสทางใดทางหนึ่งจากอายตนะทั้ง ๖ ( ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ) เป็นต้นเหตุของ ความเชื่ออันเป็นสัญญเจตนา เมื่อเกิดการเพาะบ่มความเชื่อโดยอาศัยสิ่งแวดล้อมที่ได้สัมผัสเป็นประจำ เป็นเครื่องช่วยให้ความเชื่อเจริญเติบโต จึงเกิดรูปเกิดสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง จึงเกิดความเชื่อในรูปแบบความเชื่อที่เป็นรูปธรรม และความเชื่อที่เป็นนามธรรม        ความเชื่อทางพุทธศาสนา เช่น ความเชื่อเรื่องกฏแห่งกรรม ทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ความเชื่อบาป บุญคุณโทษ ความเชื่อเรื่องชาติภพ ความเชื่อเรื่องนรกสวรรค์ เป็นต้น โดยมีการผสมผสานความเชื่อแบบศาสนาพราหมณ์รวมอยู่ด้วย เช่น ความเชื่อเรื่องเทพเทวดา พระอินทร์ พระพรหมท้าวจตุโลกบาลผู้รักษาทิศทั้งสี่ เป็นต้น ซึ่งเห็นได้จากเมื่อมีการประกอบพิธีกรรมใด ๆ ก็ตามเมื่อมีการกล่าวถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์แล้ว มักจะมีกล่าวถึงเทพเทวดาต่างๆด้วย              

                                                

 

 

           

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 245 คน กำลังออนไลน์