• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:56a0d11c3426776bfe225d5b945b748e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #800080\">  <img border=\"0\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/news/ccc.jpg\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<a target=\"_blank\" href=\"http://www.kapook.com/\"><span style=\"color: #0000ff\">เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม</span></a> <br />\nขอขอบคุณภาพประกอบจาก<a target=\"_blank\" href=\"http://thairath.com/news.php?section=politics03&amp;content=52416\"><span style=\"color: #0000ff\"> หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ</span></a>  <a href=\"http://www.aksorn.com/library/library_detail.php?content_id=1232&amp;Type_id=22\"><span style=\"color: #0000ff\">aksorn.com</span></a>  และทางอินเทอร์เน็ต </p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">          วันรัฐธรรมนูญ เป็นวันสำคัญทางประวัติศาสตร์อีกวันหนึ่ง ซึ่งตรงกับวันที่ 10 ธันวาคม ของทุกปี <br />\n</span><br />\n<strong><img border=\"0\" width=\"31\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/giftzaalovetet_20060723144458.gif\" height=\"31\" />ความหมายของรัฐธรรมนูญ</strong> </p>\n<p>          <strong>รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายว่าด้วยระเบียบการปกครองประเทศ <br />\n</strong><br />\n          วันรัฐธรรมนูญ ตรงกับ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"http://null/img_cms/other/d1012_2.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญ\" height=\"287\" style=\"width: 400px; height: 287px\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<strong><img border=\"0\" width=\"31\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/giftzaalovetet_20060723144458.gif\" height=\"31\" />ประวัติความเป็นมา</strong> </p>\n<p>          การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์การปกครองของชาติไทย เนื่องจากเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ </p>\n<p><strong><img border=\"0\" width=\"31\" src=\"http://hilight.kapook.com/admin_hilight/spaw2/imghilight4/fashion/giftzaalovetet_20060723144458.gif\" height=\"31\" />สาเหตุที่เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง  <br />\n</strong><br />\n          <img border=\"0\" width=\"11\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/d3415eef.gif\" height=\"11\" /> <span style=\"color: #800080\">พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศ์จักรีทรงมีพระราชประสงค์ที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย  </span></p>\n<p>          <img border=\"0\" width=\"11\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/d3415eef.gif\" height=\"11\" /> หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ผลอันนี้ได้กระทบมาถึงไทยด้วย พระองค์ได้แก้ไขเศรษฐกิจโดยปลดข้าราชการออก ยังความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ  </p>\n<p>          <img border=\"0\" width=\"11\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/d3415eef.gif\" height=\"11\" /> อิทธิพลจากตะวันตกเกี่ยวกับอุดมการทางการเมือง ทำให้กลุ่มคนหนุ่มต้องการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน  </p>\n<p>          <img border=\"0\" width=\"11\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/d3415eef.gif\" height=\"11\" /> รัฐบาลได้ออกกฏหมายเก็บภาษี อาทิ ภาษีโรงเรือน ภาษีที่ดิน จากราษฎร  </p>\n<p>          จากสาเหตุดังกล่าวข้างต้น ทำให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการทหาร และราษฎรทั่วไปจึงทำให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยการปฏิวัติ มีคณะผู้รักษาการพระนครฝ่ายทหาร ซึ่งประกอบด้วยพันเอก พระยาพหลพยุหเสนา พันเอกพระยาทรงสุรเด และพันเอกพระฤทธิอาคเนย์ เป็นผู้บริหารประเทศ </p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"250\" src=\"http://null/img_cms/politic/s_po1.jpg\" height=\"168\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n</p><p>          วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวเรียกว่า <strong>&quot;พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว&quot; </strong>สาระสำคัญของธรรมนูญการปกครองฉบับนี้ได้แก่ การที่กำหนดว่าอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศหรืออำนาจอธิปไตยเป็นของราษฎรทั้งหลาย การใช้อำนาจสูงสุดก็ให้มีบุคคลคณะบุคคลเป็นผู้ใช้อำนาจแทนราษฎรดังนี้ คือ </p>\n<p>          <img border=\"0\" width=\"13\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/ann-154.gif\" height=\"13\" /> พระมหากษัตริย์ <br />\n          <img border=\"0\" width=\"13\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/ann-154.gif\" height=\"13\" /> สภาผู้แทนราษฎร <br />\n          <img border=\"0\" width=\"13\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/ann-154.gif\" height=\"13\" /> คณะกรรมการราษฎร <br />\n          <img border=\"0\" width=\"13\" src=\"http://null/img_cms/dookdik/ann-154.gif\" height=\"13\" /> ศาล </p>\n<p>          <span style=\"color: #0000ff\">ลักษณะการปกครองแม้จะเปลี่ยนระบอบการปกครองมาเป็นประชาธิปไตยแต่ก็ถือว่าพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ เป็นสถาบันที่ถาวรและมีการสืบราชสมบัติต่อไปในพระราชวงศ์ การปฏิบัติราชการต่างๆ จะต้องมีกรรมการราษฎรผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ โดยได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการราษฎรจึงจะใช้ได้</span> </p>\n<p>          <strong>สถาบันที่เกิดใหม่คือ สภาผู้แทนราษฎร</strong><strong>ซึ่งมีอำนาจทางนิติบัญญัติออกกฎหมายต่างๆ ซึ่งเมื่อพระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้แล้วจึงมีผลบังคับได้</strong> เหตุนี้ในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สภาผู้แทนจึงเป็นสถาบันที่มีอำนาจสูงสุดในทางการเมือง ส่วนการใช้อำนาจตุลาการยังคงให้ศาลยุติธรรมที่มีอยู่แล้วพิจารณาพิพากษาคดีให้เป็นไปตามกฎหมายได้ตามเดิม </p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"180\" src=\"http://null/img_cms/politic/scooper1.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญ\" height=\"250\" style=\"width: 180px; height: 250px\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n          <span style=\"color: #800080\">กระทั่งถึง วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร ซึ่งมีหลักการต่างกับฉบับแรกในวาระสำคัญหลายประการ อาทิได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบรัฐสภา ทั้งนี้เนื่องจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2475 ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นประมุขไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมืองเป็นผู้ใช้อำนาจทางคณะรัฐมนตรี <br />\n</span><br />\n          ซึ่งพระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งให้บริหารราชการแผ่นดิน แต่คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทน รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติมิได้ใช้แต่เพียงอำนาจนิติบัญญัติเท่านั้น แต่มีอำนาจที่จะควบคุมคณะรัฐมนตรีในการบริหารแผ่นดินด้วย แต่อย่างไรก็ตาม คณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาลก็มีอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนได้ </p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"http://hilight.kapook.com/imghilight4/democracy_200.jpg\" alt=\"รัฐธรรมนูญ\" height=\"200\" style=\"width: 200px; height: 200px\" />\n</p>\n<p>          หากเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐที่มีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์นั้นได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้้ </p>\n<p>          <span style=\"color: #0000ff\">รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ เป็นเครื่องกำหนดระเบียบแบบแผนของสังคม เพื่อเป็นการระลึกถึงรัฐธรรมนูญฉบับแรก อันเป็นฉบับถาวร และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานให้กับปวงชนชาวไทย ทางราชการจึงกำหนด วันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันรัฐธรรมนูญ </span><span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<div>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><strong>วันพ่อแห่งชาติ <br />\n</strong>5 ธันวาคม ของทุกปี</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20080821122224.jpg\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong>ความเป็นมาของวันพ่อแห่งชาติ</strong><br />\n         วันพ่อแห่งชาติ ได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2523 โดยคุณหญิงเนื้อทิพย์ เสมรสุต นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาเป็นผู้ริเริ่ม </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong>หลักการและเหตุผลในการจัดตั้งวันพ่อแห่งชาติ<br />\n</strong></span><span style=\"font-size: x-small\">         โดยที่พ่อเป็นผู้มีพระคุณมีบทบาทสำคัญต่อครอบครัวและ สังคม สมควรที่ผู้เป็นลูกจะเคารพเทิดทูนตอบแทนพระคุณด้วยความกตัญญู และสมควรที่สังคมจะยกย่องให้เกียรติรำลึกถึงผู้เป็นพ่อ จึงถือเอาวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาเป็น “วันพ่อแห่งชาติ” ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยอย่างนานัปการ ทรงเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรสและพระราชธิดาทรงรักใคร่และห่วงใยตั้งแต่พระเยาว์จนถึงปัจจุบันรวมทั้งพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ เรืออากาศเอกวีรยุทธ ดิษยศริน พระสวามีในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์วลัยลักษณ์และพระเจ้าหลาน เธอทุกพระองค์ ต่างซาบซึ้งและปลาบปลื้มในพระมหากรุณาธิคุณอย่างมิรู้ลืม พระองค์ทรงเป็น “พ่อ” ตัวอย่างของปวงชนชาวไทยที่เปี่ยมล้นด้วยพระเมตตากรุณา ทรวงห่วงใยอย่างหาที่เปรียบมิได้ ดังบทร้อยกรองเทิดพระเกียรติว่า</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"font-size: x-small\"> “อันราชาเลี้ยงรักษาซึ่งทวยราษฎร์           ประดุจเป็นปิตุราชอยู่ทุกเมื่อ<br />\n ควรที่บุตรสุดรักจักจุนเจือ          พระคุณนั้นให้อะเคื้อด้วยภักดี </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\">และอีกบทหนึ่งเทิดพระเกียรติว่า</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"font-size: x-small\">“ทุกบุปผามาลัยคือใจราษฎร์          ภักดีบาทองค์บพิตรเป็นนิจสิน<br />\nพระคือบิดาข้าแผ่นดิน          ร่วมร้อยรินมาลัยถวายพระพร<br />\nลุ 5 ธันวามหาราช          “วันพ่อแห่งชาติ” คือองค์อดิเรก<br />\nพระเปี่ยมล้นด้วยเมตตาเอื้ออาทร          พสกนิกรเป็นสุขทุกคืนวัน” </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"font-size: x-small\">ซึ่งนอกจากพระองค์จะเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรสและพระราชธิดา ทรงทะนุบำรุงพระราชโอรสธิดาด้วยความรัก และทรงอบรมอนุศาสน์ให้ทรงเจริญวัยสมบูรณ์ และทรงบำเพ็ญคุณานุประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชน เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทแล้ว พระองค์ยังทรงพระมหากรุณาทะนุบำรุงจัดทุกข์ผดุงสุขพสกนิกรถ้วนหน้า พระองค์ทรงเป็น “พ่อแห่งชาติ” ที่อาณาประชาราษฎร์เทิดทูนด้วยความจงรักภักดี สำนักในพระมหากรุณาธิคุณ และยึดมั่นในการเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการทะนุบำรุงชาติบ้านเมืองให้วัฒนาถาวรสืบไป</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong>ดอกพุทธรักษา สัญลักษณ์วันพ่อแห่งชาติ</strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"><img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20080821122246.jpg\" /></span><span style=\"font-size: x-small\"> </span></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\nคณะกรรมการจัดงานวันพ่อแห่งชาติได้กำหนดให้ดอกพุทธรักษาดอกไม้ที่มีนามเป็นมงคลนี้เป็นสัญลักษณ์\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong>วัตถุประสงค์ของการจัดวันพ่อแห่งชาติ</strong></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\">1. เพื่อเทิดทูนพระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว<br />\n2. เพื่อเทิดทูนพระคุณของพ่อ และยกย่องบทบาทของพ่อที่มีต่อครอบครัวและสังคม<br />\n3. เพื่อให้ลูกได้แสดงความกตัญญูต่อพ่อ<br />\n4. เพื่อให้ผู้เป็นพ่อได้สำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบของตน </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong>กิจกรรมที่ควรปฎิบัติในวันพ่อแห่งชาติ</strong><br />\n1. ประดับธงชาติที่อาคารบ้านเรือน<br />\n2. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการบำเพ็ญประโยชน์หรือทำบุญใส่บาตร เพื่ออุทิศส่วนกุศลและระลึกถึงพระคุณพ่อ<br />\n3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมยกย่องผู้ที่ สมควร ได้รับการยกย่องว่าเป็นพ่อ ตัวอย่าง </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong>สำหรับคุณสมบัติของพ่อตัวอย่าง</strong> คณะกรรมการได้กำหนดไว้ดังนี้<br />\n1. มีอายุตั้งแต่ 40 ปี ขึ้นไป<br />\n2. ส่งเสริมการศึกษาแกบุตรและธิดา<br />\n3. นับถือศาสนาโดยเคร่งครัด<br />\n4. งดเว้นอบายมุขทุกชนิด<br />\n5. อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อประชาชน<br />\n6. มีภรรยาเพียงคนเดียว </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong>หน้าที่ของบิดา มารดาพึงมีต่อบุตร</strong> </span>\n</p>\n<ul>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">ห้ามมิให้ทำความชั่ว - ป้องกัน, ห้ามปราม มิให้ประพฤติเสียหาย </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">ให้ตั้งอยู่ในความดี - ปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม วัฒนธรรมประเพณี และกฎหมายบ้านเมือง </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">ให้ศึกษาศิลปวิทยา - ส่งเสริมให้ได้รับการศึกษาทั้งคดีโลก และคดีธรรม </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">หาคู่ครองที่สมควรให้ - เลือกคู่ครองที่คู่ควร, เหมาะสมให้ในเวลาอันเหมาะสม </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">มอบทรัพย์สมบัติให้ดูแลเมื่อถึงเวลาอันสมควร - มอบภาระหน้าที่การงานให้บริหาร และมอบมรดกให้ครอบครอง  </span>\n </div>\n</li>\n</ul>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong>หน้าที่ของบุตรพึงมีต่อบิดามารดา</strong> </span>\n</p>\n<ul>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">เลี้ยงดูบิดามารดาเป็นการตอบแทน - เลี้ยงดูพ่อแม่ยามแก่เฒ่าอย่าปล่อยให้ท่านอดรันทดใจในวัยชรา </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">ช่วยทำกิจการงานของท่าน - ไม่นิ่งดูดายเป็นคนไร้น้ำใจเข้าไปช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่ </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">ดำรงวงศ์ตระกูล - ไม่ทำตระกูลให้เสื่อมและเสียหาย </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">ประพฤติตนให้สมควรได้รับทรัพย์มรดก - ประพฤติตนให้ท่านไว้ใจและวางใจ ที่จะครอบครองสมบัติ </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"font-size: x-small\">ท่านเจ็บป่วยต้องรักษา ท่านมรณาต้องทำศพให้ - ทำความปรารถนาของพ่อแม่มิให้พังทลาย</span> \n </div>\n</li>\n</ul>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\">วันที่ 5 ธันวาคม นอกจากจะเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และเป็นวันพ่อแห่งชาติแล้ว ยังถือว่าว่าวันนี้ เป็น “วันชาติของไทย” อีกด้วย</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: x-small\"><strong><u></u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><u><span style=\"font-size: x-small\">Link ที่เกี่ยวข้อง</span></u></strong>\n</p>\n<ul>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span class=\"topic\"><a href=\"http://www.tlcthai.com/webboard/view_topic.php?table_id=1&amp;cate_id=109&amp;post_id=37661\"><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\">วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ</span></a></span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span class=\"topic\"><a href=\"http://www.tlcthai.com/webboard/view_topic.php?table_id=1&amp;cate_id=4&amp;post_id=6721\"><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\">พระราชประวัติพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี  </span></a></span><span class=\"topic\"></span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span class=\"topic\"><a href=\"http://www.tlcthai.com/webboard/view_topic.php?table_id=1&amp;cate_id=129&amp;post_id=37658\"><span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\">กลอนวันพ่อ</span></a></span>\n </div>\n</li>\n</ul>\n<p align=\"right\">\n<span class=\"topic\"><span class=\"topic\"><a href=\"http://www.tlcthai.com/webboard/view_topic.php?table_id=1&amp;cate_id=109&amp;post_id=37661\"><strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ff6600\">วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ </span></strong></a><strong><span style=\"font-size: x-small; color: #ff6600\">&gt;&gt;</span></strong></span></span>\n</p>\n</div>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1718652650, expire = 1718739050, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:56a0d11c3426776bfe225d5b945b748e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานครั้งที่ 3 จักรพันธ์ กันธิยะ

  


เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
ขอขอบคุณภาพประกอบจาก หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ  aksorn.com  และทางอินเทอร์เน็ต

          วันรัฐธรรมนูญ เป็นวันสำคัญทางประวัติศาสตร์อีกวันหนึ่ง ซึ่งตรงกับวันที่ 10 ธันวาคม ของทุกปี

ความหมายของรัฐธรรมนูญ

          รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายว่าด้วยระเบียบการปกครองประเทศ

          วันรัฐธรรมนูญ ตรงกับ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย

รัฐธรรมนูญ


ประวัติความเป็นมา

          การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์การปกครองของชาติไทย เนื่องจากเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ

สาเหตุที่เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง  

           พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศ์จักรีทรงมีพระราชประสงค์ที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย  

           หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ผลอันนี้ได้กระทบมาถึงไทยด้วย พระองค์ได้แก้ไขเศรษฐกิจโดยปลดข้าราชการออก ยังความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ  

           อิทธิพลจากตะวันตกเกี่ยวกับอุดมการทางการเมือง ทำให้กลุ่มคนหนุ่มต้องการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน  

           รัฐบาลได้ออกกฏหมายเก็บภาษี อาทิ ภาษีโรงเรือน ภาษีที่ดิน จากราษฎร 

          จากสาเหตุดังกล่าวข้างต้น ทำให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการทหาร และราษฎรทั่วไปจึงทำให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยการปฏิวัติ มีคณะผู้รักษาการพระนครฝ่ายทหาร ซึ่งประกอบด้วยพันเอก พระยาพหลพยุหเสนา พันเอกพระยาทรงสุรเด และพันเอกพระฤทธิอาคเนย์ เป็นผู้บริหารประเทศ

          วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวเรียกว่า "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว" สาระสำคัญของธรรมนูญการปกครองฉบับนี้ได้แก่ การที่กำหนดว่าอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศหรืออำนาจอธิปไตยเป็นของราษฎรทั้งหลาย การใช้อำนาจสูงสุดก็ให้มีบุคคลคณะบุคคลเป็นผู้ใช้อำนาจแทนราษฎรดังนี้ คือ 

           พระมหากษัตริย์ 
           สภาผู้แทนราษฎร 
           คณะกรรมการราษฎร 
           ศาล

          ลักษณะการปกครองแม้จะเปลี่ยนระบอบการปกครองมาเป็นประชาธิปไตยแต่ก็ถือว่าพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ เป็นสถาบันที่ถาวรและมีการสืบราชสมบัติต่อไปในพระราชวงศ์ การปฏิบัติราชการต่างๆ จะต้องมีกรรมการราษฎรผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ โดยได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการราษฎรจึงจะใช้ได้

          สถาบันที่เกิดใหม่คือ สภาผู้แทนราษฎรซึ่งมีอำนาจทางนิติบัญญัติออกกฎหมายต่างๆ ซึ่งเมื่อพระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้แล้วจึงมีผลบังคับได้ เหตุนี้ในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สภาผู้แทนจึงเป็นสถาบันที่มีอำนาจสูงสุดในทางการเมือง ส่วนการใช้อำนาจตุลาการยังคงให้ศาลยุติธรรมที่มีอยู่แล้วพิจารณาพิพากษาคดีให้เป็นไปตามกฎหมายได้ตามเดิม

รัฐธรรมนูญ


          กระทั่งถึง วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร ซึ่งมีหลักการต่างกับฉบับแรกในวาระสำคัญหลายประการ อาทิได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบรัฐสภา ทั้งนี้เนื่องจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2475 ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นประมุขไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมืองเป็นผู้ใช้อำนาจทางคณะรัฐมนตรี

          ซึ่งพระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งให้บริหารราชการแผ่นดิน แต่คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทน รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติมิได้ใช้แต่เพียงอำนาจนิติบัญญัติเท่านั้น แต่มีอำนาจที่จะควบคุมคณะรัฐมนตรีในการบริหารแผ่นดินด้วย แต่อย่างไรก็ตาม คณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาลก็มีอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนได้

รัฐธรรมนูญ

          หากเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐที่มีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์นั้นได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้้

          รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ เป็นเครื่องกำหนดระเบียบแบบแผนของสังคม เพื่อเป็นการระลึกถึงรัฐธรรมนูญฉบับแรก อันเป็นฉบับถาวร และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานให้กับปวงชนชาวไทย ทางราชการจึงกำหนด วันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันรัฐธรรมนูญ

วันพ่อแห่งชาติ
5 ธันวาคม ของทุกปี

ความเป็นมาของวันพ่อแห่งชาติ
         วันพ่อแห่งชาติ ได้จัดให้มีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2523 โดยคุณหญิงเนื้อทิพย์ เสมรสุต นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาเป็นผู้ริเริ่ม


หลักการและเหตุผลในการจัดตั้งวันพ่อแห่งชาติ
         โดยที่พ่อเป็นผู้มีพระคุณมีบทบาทสำคัญต่อครอบครัวและ สังคม สมควรที่ผู้เป็นลูกจะเคารพเทิดทูนตอบแทนพระคุณด้วยความกตัญญู และสมควรที่สังคมจะยกย่องให้เกียรติรำลึกถึงผู้เป็นพ่อ จึงถือเอาวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี ซึ่งเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาเป็น “วันพ่อแห่งชาติ” ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทยอย่างนานัปการ ทรงเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรสและพระราชธิดาทรงรักใคร่และห่วงใยตั้งแต่พระเยาว์จนถึงปัจจุบันรวมทั้งพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ เรืออากาศเอกวีรยุทธ ดิษยศริน พระสวามีในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์วลัยลักษณ์และพระเจ้าหลาน เธอทุกพระองค์ ต่างซาบซึ้งและปลาบปลื้มในพระมหากรุณาธิคุณอย่างมิรู้ลืม พระองค์ทรงเป็น “พ่อ” ตัวอย่างของปวงชนชาวไทยที่เปี่ยมล้นด้วยพระเมตตากรุณา ทรวงห่วงใยอย่างหาที่เปรียบมิได้ ดังบทร้อยกรองเทิดพระเกียรติว่า


 “อันราชาเลี้ยงรักษาซึ่งทวยราษฎร์           ประดุจเป็นปิตุราชอยู่ทุกเมื่อ
 ควรที่บุตรสุดรักจักจุนเจือ          พระคุณนั้นให้อะเคื้อด้วยภักดี

และอีกบทหนึ่งเทิดพระเกียรติว่า


“ทุกบุปผามาลัยคือใจราษฎร์          ภักดีบาทองค์บพิตรเป็นนิจสิน
พระคือบิดาข้าแผ่นดิน          ร่วมร้อยรินมาลัยถวายพระพร
ลุ 5 ธันวามหาราช          “วันพ่อแห่งชาติ” คือองค์อดิเรก
พระเปี่ยมล้นด้วยเมตตาเอื้ออาทร          พสกนิกรเป็นสุขทุกคืนวัน”


ซึ่งนอกจากพระองค์จะเป็นพระราชบิดาของพระราชโอรสและพระราชธิดา ทรงทะนุบำรุงพระราชโอรสธิดาด้วยความรัก และทรงอบรมอนุศาสน์ให้ทรงเจริญวัยสมบูรณ์ และทรงบำเพ็ญคุณานุประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชน เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทแล้ว พระองค์ยังทรงพระมหากรุณาทะนุบำรุงจัดทุกข์ผดุงสุขพสกนิกรถ้วนหน้า พระองค์ทรงเป็น “พ่อแห่งชาติ” ที่อาณาประชาราษฎร์เทิดทูนด้วยความจงรักภักดี สำนักในพระมหากรุณาธิคุณ และยึดมั่นในการเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการทะนุบำรุงชาติบ้านเมืองให้วัฒนาถาวรสืบไป

ดอกพุทธรักษา สัญลักษณ์วันพ่อแห่งชาติ


คณะกรรมการจัดงานวันพ่อแห่งชาติได้กำหนดให้ดอกพุทธรักษาดอกไม้ที่มีนามเป็นมงคลนี้เป็นสัญลักษณ์

วัตถุประสงค์ของการจัดวันพ่อแห่งชาติ

1. เพื่อเทิดทูนพระเกียรติคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2. เพื่อเทิดทูนพระคุณของพ่อ และยกย่องบทบาทของพ่อที่มีต่อครอบครัวและสังคม
3. เพื่อให้ลูกได้แสดงความกตัญญูต่อพ่อ
4. เพื่อให้ผู้เป็นพ่อได้สำนึกในหน้าที่และความรับผิดชอบของตน

กิจกรรมที่ควรปฎิบัติในวันพ่อแห่งชาติ
1. ประดับธงชาติที่อาคารบ้านเรือน
2. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการบำเพ็ญประโยชน์หรือทำบุญใส่บาตร เพื่ออุทิศส่วนกุศลและระลึกถึงพระคุณพ่อ
3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมยกย่องผู้ที่ สมควร ได้รับการยกย่องว่าเป็นพ่อ ตัวอย่าง

สำหรับคุณสมบัติของพ่อตัวอย่าง คณะกรรมการได้กำหนดไว้ดังนี้
1. มีอายุตั้งแต่ 40 ปี ขึ้นไป
2. ส่งเสริมการศึกษาแกบุตรและธิดา
3. นับถือศาสนาโดยเคร่งครัด
4. งดเว้นอบายมุขทุกชนิด
5. อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อประชาชน
6. มีภรรยาเพียงคนเดียว

หน้าที่ของบิดา มารดาพึงมีต่อบุตร 

  • ห้ามมิให้ทำความชั่ว - ป้องกัน, ห้ามปราม มิให้ประพฤติเสียหาย
  • ให้ตั้งอยู่ในความดี - ปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม วัฒนธรรมประเพณี และกฎหมายบ้านเมือง
  • ให้ศึกษาศิลปวิทยา - ส่งเสริมให้ได้รับการศึกษาทั้งคดีโลก และคดีธรรม
  • หาคู่ครองที่สมควรให้ - เลือกคู่ครองที่คู่ควร, เหมาะสมให้ในเวลาอันเหมาะสม
  • มอบทรัพย์สมบัติให้ดูแลเมื่อถึงเวลาอันสมควร - มอบภาระหน้าที่การงานให้บริหาร และมอบมรดกให้ครอบครอง 

หน้าที่ของบุตรพึงมีต่อบิดามารดา 

  • เลี้ยงดูบิดามารดาเป็นการตอบแทน - เลี้ยงดูพ่อแม่ยามแก่เฒ่าอย่าปล่อยให้ท่านอดรันทดใจในวัยชรา
  • ช่วยทำกิจการงานของท่าน - ไม่นิ่งดูดายเป็นคนไร้น้ำใจเข้าไปช่วยแบ่งเบาภาระหน้าที่
  • ดำรงวงศ์ตระกูล - ไม่ทำตระกูลให้เสื่อมและเสียหาย
  • ประพฤติตนให้สมควรได้รับทรัพย์มรดก - ประพฤติตนให้ท่านไว้ใจและวางใจ ที่จะครอบครองสมบัติ
  • ท่านเจ็บป่วยต้องรักษา ท่านมรณาต้องทำศพให้ - ทำความปรารถนาของพ่อแม่มิให้พังทลาย 

วันที่ 5 ธันวาคม นอกจากจะเป็นวันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และเป็นวันพ่อแห่งชาติแล้ว ยังถือว่าว่าวันนี้ เป็น “วันชาติของไทย” อีกด้วย

Link ที่เกี่ยวข้อง

วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ >>

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 702 คน กำลังออนไลน์