• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7303edfa89f181ff1bd44dc34e029d5b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 20pt; color: #333399; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">                                ดาวพลูโต (</span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; color: #333399; font-family: \'Angsana New\'\">Pluto)  </span></b><span style=\"font-size: 20pt; color: #333399; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\">            </span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">เมื่อมีการค้นพบดาวเนปจูน ได้ประมาณขนาดและการหมุนรอบของมัน แต่ผลที่ออกมาไม่ได้เป็นไปตามที่คาดคิด ผลที่ได้ไม่สามารถอธิบายการหมุนที่ผิดปกติของดาวยูเรนัส บางทีอาจมีดาวเคราะห์อีกดวงที่อยู่ถัดจากดาวเนปจูน บางทีอาจเป็นแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ดวงนี้ดึงดูดดาวยูเรนัส ได้มีการเริ่มค้นหาดาวเคราะห์ดวงที่เก้าในระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ดวงใหม่นี้ถูกค้นพบในปี </span>1930 <span lang=\"TH\">ชาวอเมริกันชื่อ </span>Clyde Tombaugh <span lang=\"TH\">ได้ถ่ายภาพของมันบนท้องฟ้า ดาวเคราะห์ดวงนี้มีชื่อว่าดาวพูลโต สามารถมองเห็นได้โดยการใช้กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่เท่านั้น</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\">               <span lang=\"TH\">เวลาส่วนใหญ่แล้วดาวพูลโตจะเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างไกลดวงอาทิตย์มากที่สุด ในระหว่างการหมุนบางช่วงจะใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน และอยู่ห่างไกลที่สุดในปี</span> 1999 <span lang=\"TH\">ดาวพูลโตเป็นดาวขนาดเล็ก โดยมีขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ และยังเล็กกว่าดวงจันทร์ของโลก บนดาวมีความหนาวเย็นมากและอาจไม่มีชั้นบรรยากาศ พื้นผิวของมันอาจปกคลุมด้วยน้ำแข็งหรือก๊าซของแข็ง เราคิดว่าดาวพูลโตประกอบขึ้นด้วยน้ำแข็งโดยมีแกนเป็นหิน ลักษณะอาจจะเหมือนดาวบริวารของดาวยูเรนัส บางทีครั้งหนึ่ง ดาวพูลโตอาจเคยเป็นดาวบริวารของดาวเนปจูนซึ่งหนีการหมุนรอบดาวเนปจูน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><img border=\"0\" align=\"left\" width=\"306\" src=\"/files/u12957/pluto_charon.jpg\" height=\"120\" /> <img border=\"0\" width=\"160\" src=\"/files/u12957/plutoorbit_s.jpg\" height=\"120\" /></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รูปจากกล้องฮับเบิ้ล ดาวพลูโต</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"> (<span lang=\"TH\">ซ้าย) และดาวชารอน</span> <o:p></o:p></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\">              <span lang=\"TH\">ดาวพูลโตมีดาวบริวาร </span>1 <span lang=\"TH\">ดวงชื่อดาว </span>Charon <span lang=\"TH\">ซึ่งพบโดยการดูด้วยกล้องโทรทัศน์ในปี </span>1978 <span lang=\"TH\">ดาว </span>Charon <span lang=\"TH\">มีเส้นผ่าศูนย์กลางยาว </span><st1:metricconverter ProductID=\"725 ไมล์\" w:st=\"on\">725 <span lang=\"TH\">ไมล์</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ซึ่งเป็นครึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลางของดาวพูลโต ดาว </span>Charon <span lang=\"TH\">หมุนรอบดาวพูลโต โดยมีระยะทางห่างจากดางพูลโต </span><st1:metricconverter ProductID=\"12,125 ไมล์\" w:st=\"on\">12,125 <span lang=\"TH\">ไมล์</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> มันใช้เวลาหมุนรอบดาวพูลโต เท่ากับการหมุนรอบตัวเองของดาวพูลโต ดังนั้นถ้าหากเราอยู่บนดาวพูลโตเราจะมองไม่เห็นดาว </span>Charon <span lang=\"TH\">ปรากฏบนท้องฟ้า</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u12957/pluto2earth.jpg\" height=\"160\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อ้างอิง </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #cc99ff; font-family: \'Angsana New\'\">: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B9%82%E0%B8%95<o:p></o:p></span><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p> </p>\n', created = 1729497193, expire = 1729583593, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7303edfa89f181ff1bd44dc34e029d5b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1c944708fed2a0f24dd6a5a8cbaf673b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nครูวิรั=  ตรวจครั้งที่ 3\n</p>\n', created = 1729497193, expire = 1729583593, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1c944708fed2a0f24dd6a5a8cbaf673b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาวพลูโต

                                ดาวพลูโต (Pluto)              

 เมื่อมีการค้นพบดาวเนปจูน ได้ประมาณขนาดและการหมุนรอบของมัน แต่ผลที่ออกมาไม่ได้เป็นไปตามที่คาดคิด ผลที่ได้ไม่สามารถอธิบายการหมุนที่ผิดปกติของดาวยูเรนัส บางทีอาจมีดาวเคราะห์อีกดวงที่อยู่ถัดจากดาวเนปจูน บางทีอาจเป็นแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ดวงนี้ดึงดูดดาวยูเรนัส ได้มีการเริ่มค้นหาดาวเคราะห์ดวงที่เก้าในระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ดวงใหม่นี้ถูกค้นพบในปี 1930 ชาวอเมริกันชื่อ Clyde Tombaugh ได้ถ่ายภาพของมันบนท้องฟ้า ดาวเคราะห์ดวงนี้มีชื่อว่าดาวพูลโต สามารถมองเห็นได้โดยการใช้กล้องโทรทัศน์ขนาดใหญ่เท่านั้น

               เวลาส่วนใหญ่แล้วดาวพูลโตจะเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างไกลดวงอาทิตย์มากที่สุด ในระหว่างการหมุนบางช่วงจะใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าดาวเนปจูน และอยู่ห่างไกลที่สุดในปี 1999 ดาวพูลโตเป็นดาวขนาดเล็ก โดยมีขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ และยังเล็กกว่าดวงจันทร์ของโลก บนดาวมีความหนาวเย็นมากและอาจไม่มีชั้นบรรยากาศ พื้นผิวของมันอาจปกคลุมด้วยน้ำแข็งหรือก๊าซของแข็ง เราคิดว่าดาวพูลโตประกอบขึ้นด้วยน้ำแข็งโดยมีแกนเป็นหิน ลักษณะอาจจะเหมือนดาวบริวารของดาวยูเรนัส บางทีครั้งหนึ่ง ดาวพูลโตอาจเคยเป็นดาวบริวารของดาวเนปจูนซึ่งหนีการหมุนรอบดาวเนปจูน

 

รูปจากกล้องฮับเบิ้ล ดาวพลูโต (ซ้าย) และดาวชารอน

              ดาวพูลโตมีดาวบริวาร 1 ดวงชื่อดาว Charon ซึ่งพบโดยการดูด้วยกล้องโทรทัศน์ในปี 1978 ดาว Charon มีเส้นผ่าศูนย์กลางยาว 725 ไมล์ ซึ่งเป็นครึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลางของดาวพูลโต ดาว Charon หมุนรอบดาวพูลโต โดยมีระยะทางห่างจากดางพูลโต 12,125 ไมล์ มันใช้เวลาหมุนรอบดาวพูลโต เท่ากับการหมุนรอบตัวเองของดาวพูลโต ดังนั้นถ้าหากเราอยู่บนดาวพูลโตเราจะมองไม่เห็นดาว Charon ปรากฏบนท้องฟ้า 

 อ้างอิง : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B9%82%E0%B8%95 

รูปภาพของ virat

ครูวิรั=  ตรวจครั้งที่ 3

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 437 คน กำลังออนไลน์