• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9e17d0c0657a5e07b09844aaa52e44cf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1><span style=\"color: #008000; font-size: medium\">ไฟฟ้าสถิต (Static electricity)</span></h1>\n<div class=\"div_content\">\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากัน ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด, การผลักกัน และเกิดประกายไฟ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><strong>การเกิดไฟฟ้าสถิต</strong><br />\n          การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุต่างชนิดกัน หรือเกิดแรงผลักกันเมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกัน เราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยาง, พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้นโอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยากแต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น กรณีที่ผิวโลหะถูกกระแทกด้วยของแข็งหรือของเหลวที่ไม่เป็นตัวนำ ประจุที่เกิดการเคลื่อนย้ายระหว่างการสัมผัสจะถูกเก็บบนผิวของวัสดุทั้ง 2 ชิ้น</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          ไฟฟ้าสถิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่คุ้นเคยสำหรับประเทศที่มีอากาศหนาว ในฤดูหนาวสำหรับประเทศเหล่านี้ความชื้นในอากาศจะต่ำมาก การเกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนังจะเกิดขึ้นง่ายมาก ดังนั้นเมื่อเกิดการสัมผัสกับวัสดุประเภทตัวนำจะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไปยังตัวนำอย่างรวดเร็วทำให้เกิดอาการสะดุ้งได้ และนอกจากนั้นยังสามารถทำความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><strong>วิชาไฟฟ้าสถิต</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>วิชาไฟฟ้าสถิต</strong> คือความรู้ที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์อันเกิดจากประจุไฟฟ้าที่อยู่นิ่ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>แรงระหว่างประจุไฟฟ้า</strong> เป็นแรงมูลฐานที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ เช่นเดียวกับแรงดึงดูดระหว่างมวล แรงแม่เหล็ก และ แรงนิวเคลียร์</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>กฎว่าด้วยแรงระหว่างประจุไฟฟ้า</strong>  ประจุชนิดเดียวกัน ผลักกัน ประจุต่างชนิด ดึงดูดกัน แรงผลักหรือแรงดูดระหว่างประจุ เป็นแรงคู่กริยา        <br />\n        <br />\n </span><span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"> </span></span><span> </span></p>\n<table cellPadding=\"7\" cellSpacing=\"1\" border=\"1\" style=\"width: 642px; height: 193px\" width=\"642\">\n<tbody>\n<tr>\n<td vAlign=\"top\" height=\"22\" width=\"18%\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><strong>อนุภาค</strong></span>\n </p>\n</td>\n<td vAlign=\"top\" height=\"22\" width=\"19%\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><strong>สัญลักษณ์</strong></span>\n </p>\n</td>\n<td vAlign=\"top\" height=\"22\" width=\"20%\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><strong>ประจุ</strong></span>\n </p>\n</td>\n<td vAlign=\"top\" height=\"22\" width=\"43%\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><strong>มวล ( kg )</strong></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td vAlign=\"top\" height=\"52\" width=\"18%\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">โปรตอน</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">อิเล็กตรอน</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">นิวตรอน</span>\n </p>\n</td>\n<td vAlign=\"top\" height=\"52\" width=\"19%\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">p</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\">e<sup>-</sup></span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">n</span>\n </p>\n</td>\n<td vAlign=\"top\" height=\"52\" width=\"20%\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">+e</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">-e</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">0</span>\n </p>\n</td>\n<td vAlign=\"top\" height=\"52\" width=\"43%\">\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\">1.67252 x 10<sup>-27</sup></span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\">9.1091 x 10<sup>-31</sup></span></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\">1.67482 x 10<sup>-27</sup></span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ตาราง แสดงสมบัติของ โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>ตัวนำไฟฟ้า</strong>    คือสารที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าถ่ายเทไป – มาได้โดยง่ายทั่วถึงกันทั้งก้อน</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>ฉนวนไฟฟ้า</strong>   คือสารที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนผ่านได้เพียงเล็กน้อย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>สารกึ่งตัวนำ</strong>   คือสารที่มีสมบัติทางไฟฟ้าอยู่ในระหว่างตัวนำไฟฟ้ากับฉนวนไฟฟ้า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>การทำให้วัตถุมีประจุ</strong>  ปกติวัตถุทั้งหลายมีโปรตอนและอิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบในจำนวนที่เท่าๆ กัน  ดังนั้นจำนวนประจุบวก ประจุลบ ในวัตถุจึงมีอยู่เท่ากัน </span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">เรียกวัตถุอยู่ในสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          กรณีที่วัตถุได้รับพลังงาน ( ไฟฟ้า เคมี ความร้อน แสง และอื่นๆ ) จะทำให้อิเล็กตรอน หรือ อิออน</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">เคลื่อนที่ ประจุลบบนวัตถุนั้นอาจมีมากกว่า หรือน้อยกว่าประจุบวก ถ้ามีมากกว่าวัตถุดังกล่าวมี</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ประจุลบอิสระ ถ้ามีน้อยกว่าวัตถุดังกล่าวมีประจุบวกอิสระ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>การกระจายของประจุ</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>บนฉนวน</strong> ประจุปรากฎเฉพาะบางส่วน เพราะประจุเคลื่อนที่ผ่านฉนวนได้ยาก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">          <strong>บนตัวนำ</strong> ประจุกระจายแต่เฉพาะผิวนอกของตัวนำ * ความหนาแน่นประจุต่อพื้นที่บริเวณ</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ปลายแหลมหรือขอบ มีมากกว่าบริเวณผิวราบเรียบ </span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ในกรณี ตัวนำทรงกลม ประจุกระจายทั่วถึงกัน   ความหนาแน่นประจุสม่ำเสมอ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"> ให้  Q  =  ปริมาณประจุไฟฟ้าอิสระบนทรงกลม  หน่วยคูลอมบ์<br />\n       R  =  รัศมีทรงกลม  หน่วยเมตร<br />\n       D  =  ความหนาแน่นประจุต่อพื้นที่ผิวของตัวนำทรงกลม  หน่วยคูลอมบ์ต่อตารางเมตร<br />\n ตัวอย่างเช่น  ตัวนำทรงกลมรัศมี  1.0  เซนติเมตร  ได้รับอิเล็กตรอน  103 อนุภาค  หากไม่มีการรั่วไหลของประจุ   ความหนาแน่นของประจุต่อพื้นที่  = 1.3x10-13 คูลอมบ์ต่อตารางเมตร</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ขอบคุณสาระดีดีจาก : <a href=\"http://variety.teenee.com/science/6979.html\">http://variety.teenee.com/science/6979.html</a></span>\n</p>\n</div>\n', created = 1729543622, expire = 1729630022, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9e17d0c0657a5e07b09844aaa52e44cf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไฟฟ้าสถิต(Static electricity)

ไฟฟ้าสถิต (Static electricity)

          ไฟฟ้าสถิต (Static electricity) เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากัน ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด, การผลักกัน และเกิดประกายไฟ

การเกิดไฟฟ้าสถิต
          การที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันทำให้เกิดแรงดึงดูดเมื่อวัตถุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุต่างชนิดกัน หรือเกิดแรงผลักกันเมื่อวัสดุทั้ง 2 ชิ้นมีประจุชนิดเดียวกัน เราสามารถสร้างไฟฟ้าสถิตโดยการนำผิวสัมผัสของวัสดุ 2 ชิ้นมาขัดสีกัน พลังงานที่เกิดจากการขัดสีกันทำให้ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุจะเกิดการแลกเปลี่ยนกัน โดยจะเกิดกับวัสดุประเภทที่ไม่นำไฟฟ้า หรือที่เรียกว่า ฉนวน ตัวอย่างเช่น ยาง, พลาสติก และแก้ว สำหรับวัสดุประเภทที่นำไฟฟ้านั้นโอกาสเกิดปรากฏการณ์ประจุไฟฟ้าบนผิววัสดุไม่เท่ากันนั้นยากแต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น กรณีที่ผิวโลหะถูกกระแทกด้วยของแข็งหรือของเหลวที่ไม่เป็นตัวนำ ประจุที่เกิดการเคลื่อนย้ายระหว่างการสัมผัสจะถูกเก็บบนผิวของวัสดุทั้ง 2 ชิ้น

          ไฟฟ้าสถิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่คุ้นเคยสำหรับประเทศที่มีอากาศหนาว ในฤดูหนาวสำหรับประเทศเหล่านี้ความชื้นในอากาศจะต่ำมาก การเกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนังจะเกิดขึ้นง่ายมาก ดังนั้นเมื่อเกิดการสัมผัสกับวัสดุประเภทตัวนำจะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไปยังตัวนำอย่างรวดเร็วทำให้เกิดอาการสะดุ้งได้ และนอกจากนั้นยังสามารถทำความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

วิชาไฟฟ้าสถิต

          วิชาไฟฟ้าสถิต คือความรู้ที่เกี่ยวข้องกับปรากฎการณ์อันเกิดจากประจุไฟฟ้าที่อยู่นิ่ง

          แรงระหว่างประจุไฟฟ้า เป็นแรงมูลฐานที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ เช่นเดียวกับแรงดึงดูดระหว่างมวล แรงแม่เหล็ก และ แรงนิวเคลียร์

          กฎว่าด้วยแรงระหว่างประจุไฟฟ้า  ประจุชนิดเดียวกัน ผลักกัน ประจุต่างชนิด ดึงดูดกัน แรงผลักหรือแรงดูดระหว่างประจุ เป็นแรงคู่กริยา        
        
 
 

อนุภาค

สัญลักษณ์

ประจุ

มวล ( kg )

โปรตอน

อิเล็กตรอน

นิวตรอน

p

e-

n

+e

-e

0

1.67252 x 10-27

9.1091 x 10-31

1.67482 x 10-27

ตาราง แสดงสมบัติของ โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน


          ตัวนำไฟฟ้า    คือสารที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าถ่ายเทไป – มาได้โดยง่ายทั่วถึงกันทั้งก้อน

          ฉนวนไฟฟ้า   คือสารที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนผ่านได้เพียงเล็กน้อย

          สารกึ่งตัวนำ   คือสารที่มีสมบัติทางไฟฟ้าอยู่ในระหว่างตัวนำไฟฟ้ากับฉนวนไฟฟ้า

          การทำให้วัตถุมีประจุ  ปกติวัตถุทั้งหลายมีโปรตอนและอิเล็กตรอนเป็นองค์ประกอบในจำนวนที่เท่าๆ กัน  ดังนั้นจำนวนประจุบวก ประจุลบ ในวัตถุจึงมีอยู่เท่ากัน เรียกวัตถุอยู่ในสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า

          กรณีที่วัตถุได้รับพลังงาน ( ไฟฟ้า เคมี ความร้อน แสง และอื่นๆ ) จะทำให้อิเล็กตรอน หรือ อิออนเคลื่อนที่ ประจุลบบนวัตถุนั้นอาจมีมากกว่า หรือน้อยกว่าประจุบวก ถ้ามีมากกว่าวัตถุดังกล่าวมีประจุลบอิสระ ถ้ามีน้อยกว่าวัตถุดังกล่าวมีประจุบวกอิสระ

          การกระจายของประจุ

          บนฉนวน ประจุปรากฎเฉพาะบางส่วน เพราะประจุเคลื่อนที่ผ่านฉนวนได้ยาก

          บนตัวนำ ประจุกระจายแต่เฉพาะผิวนอกของตัวนำ * ความหนาแน่นประจุต่อพื้นที่บริเวณปลายแหลมหรือขอบ มีมากกว่าบริเวณผิวราบเรียบ ในกรณี ตัวนำทรงกลม ประจุกระจายทั่วถึงกัน   ความหนาแน่นประจุสม่ำเสมอ

 ให้  Q  =  ปริมาณประจุไฟฟ้าอิสระบนทรงกลม  หน่วยคูลอมบ์
       R  =  รัศมีทรงกลม  หน่วยเมตร
       D  =  ความหนาแน่นประจุต่อพื้นที่ผิวของตัวนำทรงกลม  หน่วยคูลอมบ์ต่อตารางเมตร
 ตัวอย่างเช่น  ตัวนำทรงกลมรัศมี  1.0  เซนติเมตร  ได้รับอิเล็กตรอน  103 อนุภาค  หากไม่มีการรั่วไหลของประจุ   ความหนาแน่นของประจุต่อพื้นที่  = 1.3x10-13 คูลอมบ์ต่อตารางเมตร

ขอบคุณสาระดีดีจาก : http://variety.teenee.com/science/6979.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 389 คน กำลังออนไลน์