• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('คอมพิวเตอร์น่ารู้...', 'node/18236', '', '3.22.79.94', 0, 'd975541955529e22b0a917ed05e4c72e', 243, 1716004086) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2399a6dcfd36a30123336849e46a928f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"background-color: #0000ff\"><span style=\"color: #00ccff\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ccff\">วิธีการทางประวัติศาสตร์</span></span></b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">     คือกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนำไปใช้อย่างถูกต้อง ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริงที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอย</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">      <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">การศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการตั้งคำถามพื้นฐานหลัก 5 คำถาม คือ &quot;เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในอดีต&quot; (</span><span style=\"font-family: Tahoma\">What), &quot;<span lang=\"TH\">เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่&quot; (</span>When),<span lang=\"TH\"> &quot;เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน&quot; (</span>Where), &quot;<span lang=\"TH\">ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น&quot; (</span>Why), <span lang=\"TH\">และ &quot;เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร&quot; (</span>How)<span lang=\"TH\"> วิธิการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ได้แก่<o:p></o:p></span></span></span></span> </p>\n<p style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">   </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">   1. การรวบรวมหลักฐาน</span></span></span> \n</p>\n<p>\n   2. การคัดเลือกหลักฐาน\n</p>\n<p>\n   3. การวิเคราะห์ ตีความ หลักฐาน\n</p>\n<p>\n   4. การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหลักฐาน\n</p>\n<p>\n   5. การนำเสนอข้อเท็จจริง\n</p>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><strong></strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: 15pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff00\"></span></span></b>\n </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: 15pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff00\"></span></span></span></span></b>\n </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: 15pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n <b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff00\">หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ไทย</span></span></span></span></b>\n </p>\n<p> <b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></b><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> </span></span></p></span></span></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ไทยที่สำคัญได้แก่</span></span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff6600\"> </span></span></span></span></strong></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span><span><o:p></o:p></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">1.</span></strong> <strong><span style=\"color: #ff0000\">จารึก</span></strong></span></span></span></span> เป็นหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรที่เก่าแก่ที่สุดของไทย เพราะวัสดุที่ใช้จารึกมีความคงทนถาวร เช่น แท่งหิน แผ่นเงิน แผ่นทองคำ หรือทองแดง และไม่ถูกดัดแปลงแก้ไขข้อความได้ง่ายๆ  <span lang=\"TH\">ในดินแดนประเทศไทยได้พบจารึกเป็นจำนวนมาก เช่น ศิลาจารึก ฐานพระพุทธรูป ปูชนียสถานต่างๆ และจารึกด้วยอักษรและภาษาต่างๆ เช่น เขมร มอญ อินเดียใต้ และไทย บางจารึกเป็นของอาณาจักรที่มีอิทธิพลอยู่ในดินแดนไทย เช่น อาณาจักรทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย ล้านนา อยุธยา บางจารึกไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าอยู่ที่ใด เช่น จารึก </span>“<span lang=\"TH\">ศรีจนาศะ</span>”<span lang=\"TH\"> เป็นต้น</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">           <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\">      </span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\">     ข้อความในศิลาจารึกส่วนใหญ่เป็นเรื่องของความเชื่อทางศาสนา เช่นจารึก </span>“<span lang=\"TH\">เย ธัมมา...</span>”<span lang=\"TH\"> ซึ่งเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาที่พบในภาคกลางของประเทศไทย จารึกที่ต้องการประกาศบุญของผู้ที่บูรณะพระพุทธศาสนา เช่น จารึกปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา จารึกวัดเสมาเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นต้น</span>  <span lang=\"TH\"> นอกจากนี้ก็มีจารึกที่จัดทำขึ้นเพื่อประโยชน์ทางการเมือง และการปกครอง เช่น</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span><strong>             </strong></span></span></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span><strong>      </strong></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span><strong>     <span lang=\"TH\">จารึกสุโขทัยหลักที่ 38</span></strong> ซึ่งเป็นกฎหมายลักษณะลักพาที่อาณาจักรอยุธยาประกาศใช้ในดินแดนที่เป็นอาณาจักรสุโขทัย <strong>จารึกเจดีย์ศรีสองรักที่จังหวัดเลย</strong> ประกาศความเป็นพันธมิตรของกษัตริย์อยุธยากับล้านช้าง <strong>จารึกหลักที่ 45 (จารึกปู่ขุนจิตขุนจอด)</strong>  <span lang=\"TH\">เป็นการประกาศการเป็นพันธมิตรระหว่างเมืองน่าน กับสุโขทัย <strong>ศิลาจารึกหลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคำแหง</strong> เป็นจารึกที่สรรเสริญพระเกียรติคุณของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชในด้านต่างๆ <strong>จารึกวัดศรีชุม</strong> เป็นจารึกที่เป็นเรื่องราวของมหาเถรศรีศรัทธาจุฬามุนีศรีรัตนลังกาทวีป ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย เป็นต้น</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">           <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #00ff00\">2. จดหมายเหตุชาวต่างชาติ</span></span></span></span></span></strong> เนื่องจากดินแดนไทยเป็นเส้นทางการค้ามาตั้งแต่สมัยโบราณทำให้มีเอกสารต่างชาติบันทึกเรื่องราวของดินแดนไทยไว้ เช่น วรรณคดีอินเดียที่เรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">คัมภีร์นิเทสะ และมิลินท-ปัญหา</span>”<span lang=\"TH\"> ในราวพุทธศตวรรษที่ 6 นับเป็นเอกสารต่างชาติที่เก่าที่สุด </span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\">     </span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ในพุทธศตวรรษที่ 8 มีนักภูมิศาสตร์ชาวกรีกเดินทางมาถึงดินแดนแถบประเทศไทย และบันทึกไว้ในหนังสือภูมิศาสตร์ของพโทเลมี </span><span style=\"font-family: Tahoma\">(Ptolemy’s Geography) <span lang=\"TH\">เอกสารจีนโบราณ เช่น จดหมายเหตุของหลวงจีนอี้จิง ในพุทธศตวรรษที่ 13</span> <span lang=\"TH\"> รายงานของคณะทูตจีน </span>“<span lang=\"TH\">โจวตากวน</span>”<span lang=\"TH\"> ในพุทธศตวรรษที่ 19</span>  <span lang=\"TH\">พ่อค้าชาวอาหรับและ</span> <span lang=\"TH\">เปอร์เซีย ที่กล่าวถึง เมืองท่า หรือรัฐโบราณในดินแดนไทย ส่วนเอกสารชาวตะวันตกมีมากในพุทธศตวรรษที่ 21 เช่น </span> </span></span></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">     </span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">    </span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ชาวโปรตุเกส ได้แก่ จดหมายเหตุของโทเม ปิเรส์ </span><span style=\"font-family: Tahoma\">(Tome Pires) <span lang=\"TH\">จดหมายเหตุของบรัซ อัลบูแคร์ก </span>(Braz d’ <st1:city w:st=\"on\"><st1:place w:st=\"on\">Albuquerque</st1:place></st1:city>) <span lang=\"TH\">จดหมายเหตุการณ์เดินทางของเฟอร์นันด์ เมนเดส ปินโต </span>(Fernand Mendes Pinto) </span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ชาวฮอลันดา เช่น จดหมายเหตุของนายสเคาเตน </span><span style=\"font-family: Tahoma\">(Joost Schouten) <span lang=\"TH\">นาย<st1:personname ProductID=\"เยเรเมียส ฟาน\" w:st=\"on\">เยเรเมียส ฟาน</st1:personname> ฟลีท </span>(Jeremias Van Vliet) <span lang=\"TH\">จดหมายเหตุของหมอแกมป์เฟอร์ </span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">            </span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">    </span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">    <span lang=\"TH\">ชาวอังกฤษ เช่น จดหมายของนายยอร์ช ไวท์ เอกสารการติดต่อของพนักงานบริษัทกับพ่อค้าอังกฤษ เรื่อง </span>“<span lang=\"TH\">เอกสารบันทึกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย และต่างประเทศในคริสต์ศตวรรษที่ <st1:metricconverter ProductID=\"17”\" w:st=\"on\">17<span lang=\"EN-US\">”</span></st1:metricconverter> จดหมายเหตุของนายจอห์น ครอเฟิร์ด เอกสารของนายเฮนรี เบอร์นี และเซอร์จอห์น เบาว์ริง</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">            </span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">    </span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">    <span lang=\"TH\">ชาวฝรั่งเศส เช่น จดหมายเหตุลาลูแบร์ จดหมายเหตุนิโคลาส แชร์แวส จดหมายเหตุเล่าเรื่องกรุงสยามของสังฆราชปัลเลกัวซ์ ชาวอเมริกัน เช่น บันทึกของหมอบรัดเลย์ เป็นต้น</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">           <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #ff0000\"><span lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #ff6600\">3. </span></strong></span><span style=\"color: #ff6600\">  </span></span></span></span></span></span><span><strong><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #ff0000\">จดหมายเหตุ</span></span></span></span></span></span> </strong>เป็นการรวบรวมความทรงจำเกี่ยวกับประเพณีและพระราชพิธีเก่าๆ เช่น จดหมายเหตุขุนโขลน จดหมายเหตุพระราชพิธีโสกันต์เจ้านาย จดหมายเหตุสมโภชช้างเผือก เป็นต้น</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">           <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #ffff00\"><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #00ff00\">4. </span></strong></span><span style=\"color: #00ff00\"> </span></span></span></span></span></span><span><strong><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #ffff00\"><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">พระราชพงศาวดาร</span></span></span></span></span></span></strong> เป็นการรวบรวมพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ที่เก่าแก่ที่สุดคือ พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ ในสมัยพระนารายณ์มหาราช นอกจากนี้มีพระราชพงศาวดารฉบับพระจักรพรรดิพงศ์(จาด) ฉบับพันจันทรุมาศ(เจิม) ฉบับพระพนรัตน์ พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม พระราชพงศาวดารสังเขปฉบับกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา พระราชพงศาวดารเหล่านี้ ส่วนใหญ่เป็นฉบับที่ผ่านกระบวนการชำระพระราชพงศาวดารแล้ว</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">           <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #00ffff\">5. </span></strong></span><span style=\"color: #00ffff\"> </span></span></span></span></span></span><span><strong><span style=\"color: #00ffff\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #0000ff\">เอกสารการปกครอง</span></span></span></span></span></span></strong> ส่วนใหญ่เป็นเอกสารที่มีในสมัยรัตนโกสินทร์ หลังจากที่ได้มีการจัดตั้งกรมหรือกระทรวงขึ้นแล้ว เอกสารเหล่านี้จะมีการจัดเก็บเป็นระบบขึ้น เช่น</span> <span lang=\"TH\"> <strong>ใบบอก</strong> ซึ่งเป็นรายงานจากข้าราชการส่วนภูมิภาคส่งมาให้รัฐบาลที่กรุงเทพฯ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เช่น การส่งส่วย การส่งสิ่งของที่ถูกเกณฑ์ รายงานเรื่องการเกษตร การรบทัพ เป็นต้น <strong>ตราสารศุภอักษร</strong> คือหนังสือจากเสนาบดีที่กรุงเทพฯ มีถึงเจ้าเมือง หรือเจ้าประเทศราช <strong>บัญชีทูลเกล้า</strong> เป็นรายงานจากเจ้าหน้าที่ส่วนกลางสรุปบัญชีเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายให้พระเจ้าแผ่นดินทอดพระเนตร เช่นเรื่องการค้ากับเมืองจีน บัญชีไพร่กรมกองต่างๆ <strong>บันทึก</strong> เป็นเรื่องราชการต่างๆ เช่นบันทึกที่เรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">จดหมายหลวงอุดมสมบัติ</span>”<span lang=\"TH\">และ</span>“<span lang=\"TH\">บันทึกพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว <strong>คำให้การ</strong> เช่นคำให้การของคดีอุทธรณ์ คำให้การของข้าศึก เป็นต้น</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">           <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ffcc00\"><span style=\"color: #00ccff\">6. บันทึกเหตุการณ์ของบุคคลต่างๆ</span></span></span></span></strong></span> เช่น </span>“<span lang=\"TH\">ความทรงจำ</span>”<span lang=\"TH\"> ของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ</span><span lang=\"TH\">จดหมายเหตุความทรงจำ ของกรมหลวงนรินทร์เทวี ไทยกับสงครามโลกครั้งที่สอง ของนายดิเรก ชัยนาม เป็นต้น</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">           <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #800080\"> </span></span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #800080\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #993300\"><strong>7.</strong> </span></span></span></span></span><strong><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #993300\">จดหมาย</span></span></span></span></span> </strong>เช่น พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 เป็นต้น</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">           <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #008000\"><strong>8.</strong> <strong>หนังสือพิมพ์</strong></span></span></span></span></span> ซึ่งมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้แก่ ข่าวราชการที่เรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">ราชกิจจานุเบกษา</span>” “<span lang=\"TH\">บางกอก</span> <span lang=\"TH\">รีคอร์เดอร์</span>”<span lang=\"TH\"> รวมทั้งหนังสือพิมพ์ในปัจจุบัน</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">           <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong>9.</strong> <strong>งานนิพนธ์ทางประวัติศาสตร์ และวิทยานิพนธ์</strong></span></span></span></span></span> </span></span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span><strong>            </strong></span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\">10.</span></span></strong><span style=\"color: #ff6600\"> <strong>ตำนาน</strong></span></span></span></span></span> เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาในเรื่องเกี่ยวกับความเป็นมาของเมือง ปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ โดยการบอกเล่าต่อๆ กันมา แล้วรวบรวมเขียนขึ้นภายหลัง ตำนานจึงมีเรื่องนิทาน คติชาวบ้านและข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์ร่วมกัน เช่น ตำนานเมืองหริภุญไชย ตำนานหิรัญนคร ตำนานสิงหนวัติกุมาร ตำนานพระธาตุช่อแฮ ตำนานพระแก้วมรกต พงศาวดารโยนก เป็นต้น มีงานนิพนธ์บางเรื่องที่ใช้ชื่อเรียกว่า ตำนาน แต่ไม่ใช่ เช่น ตำนานวังหน้า ตำนานการเลิกบ่อนเบี้ย และเลิกหวย เป็นต้น </span><span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\">         </span></span></span></span>\n</ul>\n<ul>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">11. วรรณกรรม</span></span></span></span></span></strong> เช่น เรื่องมหาชาติคำหลวง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตโองการแช่งน้ำ เป็นต้น</span></span><span><o:p></o:p></span></span><span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p><span style=\"font-size: small\"> </span></o:p></span></span></span>\n</ul>\n', created = 1716004096, expire = 1716090496, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2399a6dcfd36a30123336849e46a928f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิธีการทางประวัติศาสตร์และหลักฐานทางประวัติศาสตร์

วิธีการทางประวัติศาสตร์

     คือกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคำตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากที่สุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศึกษา และการใช้เหตุผลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนำไปใช้อย่างถูกต้อง ทำให้การศึกษาประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่สะท้อนข้อเท็จจริงที่แตกต่างจากนิทาน นิยาย หรือเรื่องบอกเล่าที่เลื่อนลอย

      การศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการตั้งคำถามพื้นฐานหลัก 5 คำถาม คือ "เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นในอดีต" (What), "เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นเมื่อไหร่" (When), "เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นที่ไหน" (Where), "ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น" (Why), และ "เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร" (How) วิธิการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ได้แก่

   

   1. การรวบรวมหลักฐาน 

   2. การคัดเลือกหลักฐาน

   3. การวิเคราะห์ ตีความ หลักฐาน

   4. การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหลักฐาน

   5. การนำเสนอข้อเท็จจริง

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ไทย

     

    หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ไทยที่สำคัญได้แก่
     1. จารึก เป็นหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรที่เก่าแก่ที่สุดของไทย เพราะวัสดุที่ใช้จารึกมีความคงทนถาวร เช่น แท่งหิน แผ่นเงิน แผ่นทองคำ หรือทองแดง และไม่ถูกดัดแปลงแก้ไขข้อความได้ง่ายๆ  ในดินแดนประเทศไทยได้พบจารึกเป็นจำนวนมาก เช่น ศิลาจารึก ฐานพระพุทธรูป ปูชนียสถานต่างๆ และจารึกด้วยอักษรและภาษาต่างๆ เช่น เขมร มอญ อินเดียใต้ และไทย บางจารึกเป็นของอาณาจักรที่มีอิทธิพลอยู่ในดินแดนไทย เช่น อาณาจักรทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี สุโขทัย ล้านนา อยุธยา บางจารึกไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าอยู่ที่ใด เช่น จารึก ศรีจนาศะ เป็นต้น                 
         ข้อความในศิลาจารึกส่วนใหญ่เป็นเรื่องของความเชื่อทางศาสนา เช่นจารึก เย ธัมมา... ซึ่งเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาที่พบในภาคกลางของประเทศไทย จารึกที่ต้องการประกาศบุญของผู้ที่บูรณะพระพุทธศาสนา เช่น จารึกปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา จารึกวัดเสมาเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นต้น   นอกจากนี้ก็มีจารึกที่จัดทำขึ้นเพื่อประโยชน์ทางการเมือง และการปกครอง เช่น                   
         จารึกสุโขทัยหลักที่ 38 ซึ่งเป็นกฎหมายลักษณะลักพาที่อาณาจักรอยุธยาประกาศใช้ในดินแดนที่เป็นอาณาจักรสุโขทัย จารึกเจดีย์ศรีสองรักที่จังหวัดเลย ประกาศความเป็นพันธมิตรของกษัตริย์อยุธยากับล้านช้าง จารึกหลักที่ 45 (จารึกปู่ขุนจิตขุนจอด)  เป็นการประกาศการเป็นพันธมิตรระหว่างเมืองน่าน กับสุโขทัย ศิลาจารึกหลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคำแหง เป็นจารึกที่สรรเสริญพระเกียรติคุณของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชในด้านต่างๆ จารึกวัดศรีชุม เป็นจารึกที่เป็นเรื่องราวของมหาเถรศรีศรัทธาจุฬามุนีศรีรัตนลังกาทวีป ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย เป็นต้น           
    2. จดหมายเหตุชาวต่างชาติ เนื่องจากดินแดนไทยเป็นเส้นทางการค้ามาตั้งแต่สมัยโบราณทำให้มีเอกสารต่างชาติบันทึกเรื่องราวของดินแดนไทยไว้ เช่น วรรณคดีอินเดียที่เรียกว่า คัมภีร์นิเทสะ และมิลินท-ปัญหา ในราวพุทธศตวรรษที่ 6 นับเป็นเอกสารต่างชาติที่เก่าที่สุด      ในพุทธศตวรรษที่ 8 มีนักภูมิศาสตร์ชาวกรีกเดินทางมาถึงดินแดนแถบประเทศไทย และบันทึกไว้ในหนังสือภูมิศาสตร์ของพโทเลมี (Ptolemy’s Geography) เอกสารจีนโบราณ เช่น จดหมายเหตุของหลวงจีนอี้จิง ในพุทธศตวรรษที่ 13  รายงานของคณะทูตจีน โจวตากวน ในพุทธศตวรรษที่ 19  พ่อค้าชาวอาหรับและ เปอร์เซีย ที่กล่าวถึง เมืองท่า หรือรัฐโบราณในดินแดนไทย ส่วนเอกสารชาวตะวันตกมีมากในพุทธศตวรรษที่ 21 เช่น       
        ชาวโปรตุเกส ได้แก่ จดหมายเหตุของโทเม ปิเรส์ (Tome Pires) จดหมายเหตุของบรัซ อัลบูแคร์ก (Braz d’ Albuquerque) จดหมายเหตุการณ์เดินทางของเฟอร์นันด์ เมนเดส ปินโต (Fernand Mendes Pinto) ชาวฮอลันดา เช่น จดหมายเหตุของนายสเคาเตน (Joost Schouten) นายเยเรเมียส ฟาน ฟลีท (Jeremias Van Vliet) จดหมายเหตุของหมอแกมป์เฟอร์                
        ชาวอังกฤษ เช่น จดหมายของนายยอร์ช ไวท์ เอกสารการติดต่อของพนักงานบริษัทกับพ่อค้าอังกฤษ เรื่อง เอกสารบันทึกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย และต่างประเทศในคริสต์ศตวรรษที่ 17 จดหมายเหตุของนายจอห์น ครอเฟิร์ด เอกสารของนายเฮนรี เบอร์นี และเซอร์จอห์น เบาว์ริง               
        ชาวฝรั่งเศส เช่น จดหมายเหตุลาลูแบร์ จดหมายเหตุนิโคลาส แชร์แวส จดหมายเหตุเล่าเรื่องกรุงสยามของสังฆราชปัลเลกัวซ์ ชาวอเมริกัน เช่น บันทึกของหมอบรัดเลย์ เป็นต้น           
    3.   จดหมายเหตุ เป็นการรวบรวมความทรงจำเกี่ยวกับประเพณีและพระราชพิธีเก่าๆ เช่น จดหมายเหตุขุนโขลน จดหมายเหตุพระราชพิธีโสกันต์เจ้านาย จดหมายเหตุสมโภชช้างเผือก เป็นต้น           
    4.  พระราชพงศาวดาร เป็นการรวบรวมพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ที่เก่าแก่ที่สุดคือ พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ ในสมัยพระนารายณ์มหาราช นอกจากนี้มีพระราชพงศาวดารฉบับพระจักรพรรดิพงศ์(จาด) ฉบับพันจันทรุมาศ(เจิม) ฉบับพระพนรัตน์ พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม พระราชพงศาวดารสังเขปฉบับกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา พระราชพงศาวดารเหล่านี้ ส่วนใหญ่เป็นฉบับที่ผ่านกระบวนการชำระพระราชพงศาวดารแล้ว           
    5.  เอกสารการปกครอง ส่วนใหญ่เป็นเอกสารที่มีในสมัยรัตนโกสินทร์ หลังจากที่ได้มีการจัดตั้งกรมหรือกระทรวงขึ้นแล้ว เอกสารเหล่านี้จะมีการจัดเก็บเป็นระบบขึ้น เช่น  ใบบอก ซึ่งเป็นรายงานจากข้าราชการส่วนภูมิภาคส่งมาให้รัฐบาลที่กรุงเทพฯ เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เช่น การส่งส่วย การส่งสิ่งของที่ถูกเกณฑ์ รายงานเรื่องการเกษตร การรบทัพ เป็นต้น ตราสารศุภอักษร คือหนังสือจากเสนาบดีที่กรุงเทพฯ มีถึงเจ้าเมือง หรือเจ้าประเทศราช บัญชีทูลเกล้า เป็นรายงานจากเจ้าหน้าที่ส่วนกลางสรุปบัญชีเพื่อทูลเกล้าฯ ถวายให้พระเจ้าแผ่นดินทอดพระเนตร เช่นเรื่องการค้ากับเมืองจีน บัญชีไพร่กรมกองต่างๆ บันทึก เป็นเรื่องราชการต่างๆ เช่นบันทึกที่เรียกว่า จดหมายหลวงอุดมสมบัติและบันทึกพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว คำให้การ เช่นคำให้การของคดีอุทธรณ์ คำให้การของข้าศึก เป็นต้น           
    6. บันทึกเหตุการณ์ของบุคคลต่างๆ เช่น ความทรงจำ ของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพจดหมายเหตุความทรงจำ ของกรมหลวงนรินทร์เทวี ไทยกับสงครามโลกครั้งที่สอง ของนายดิเรก ชัยนาม เป็นต้น           
    7. จดหมาย เช่น พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 เป็นต้น           
    8. หนังสือพิมพ์ ซึ่งมีขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้แก่ ข่าวราชการที่เรียกว่า ราชกิจจานุเบกษา” “บางกอก รีคอร์เดอร์ รวมทั้งหนังสือพิมพ์ในปัจจุบัน           
    9. งานนิพนธ์ทางประวัติศาสตร์ และวิทยานิพนธ์            
    10. ตำนาน เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาในเรื่องเกี่ยวกับความเป็นมาของเมือง ปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ โดยการบอกเล่าต่อๆ กันมา แล้วรวบรวมเขียนขึ้นภายหลัง ตำนานจึงมีเรื่องนิทาน คติชาวบ้านและข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์ร่วมกัน เช่น ตำนานเมืองหริภุญไชย ตำนานหิรัญนคร ตำนานสิงหนวัติกุมาร ตำนานพระธาตุช่อแฮ ตำนานพระแก้วมรกต พงศาวดารโยนก เป็นต้น มีงานนิพนธ์บางเรื่องที่ใช้ชื่อเรียกว่า ตำนาน แต่ไม่ใช่ เช่น ตำนานวังหน้า ตำนานการเลิกบ่อนเบี้ย และเลิกหวย เป็นต้น          
    11. วรรณกรรม เช่น เรื่องมหาชาติคำหลวง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตโองการแช่งน้ำ เป็นต้น  

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 320 คน กำลังออนไลน์