• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:154dde4654c48b7c3e34937635dacd71' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">บทที่ 2</div>\n<div style=\"text-align: center\">แนวคิด  ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง</div>\n<div></div>\n<div><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ในการทดลองผลิตปุ๋ยหมักฟางข้าวแบบใหม่นั้น  ผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 6 หัวข้อ ดังนี้</div>\n<div></div>\n<div>1.  เอกสารเกี่ยวกับปุ๋ยหมักฟางข้าว</div>\n<div>1.1  ความหมายของปุ๋ยหมักฟางข้าว</div>\n<div>1.2  วิธีการผลิตปุ๋ยหมักฟางข้าว</div>\n<div>1.3   ประโชน์ของปุ๋ยหมักฟางข้าว</div>\n<div><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>2.  เอกสารเกี่ยวกับฟางข้าว</div>\n<div><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>2.1   ความหมายของฟางข้าว</div>\n<div><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>2.2   ประโยชน์ของฟางข้าว</div>\n<div>           3.  เอกสารเกี่ยวกับใบมะละกอ</div>\n<div>                        3.1  ความหมายของใบมะละกอ</div>\n<div>                        3.2  ประโยชน์ของใบมะละกอ</div>\n<div>           4.  เอกสารเกี่ยวกับกากน้ำตาล</div>\n<div>                       4.1  ความหมายของกากน้ำตาล</div>\n<div>                       4.2  วิธีผลิตของกากน้ำตาล</div>\n<div>                       4.3   ประโยชน์ของกากน้ำตาล</div>\n<div>           5.  เอกสารเกี่ยวกับน้ำส้มควันไม้</div>\n<div>                      5.1  ความหมายของน้ำส้มควันไม้</div>\n<div>                      5.2   การผลิตของน้ำส้มควันไม้</div>\n<div>                      5.3   ประโยชน์ของน้ำส้มควันไม้</div>\n<div>            6. เอกสารเกี่ยวกับคะน้า</div>\n<div>                      ความหมายและประโยชน์ของคะน้า</div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div>ตอนที่ 1.  ปุ๋ยหมักฟางข้าว</div>\n<div>1.1<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>ความหมายของปุ๋ยหมัก</div>\n<div>                    ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยธรรมชาติ ชนิดหนึ่งที่ได้มาจากการนำเอาเศษซากพืช เช่น ฟางข้า ซังข้าวโพด ต้นถั่วต่าง ๆ หญ้าแห้ง ผักตบชวา ของเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนขยะมูลฝอยตามบ้านเรือนมาหมักร่วมกับมูลสัตว์ ปุ๋ยเคมีหรือสารเร่งจุลินทรีย์เมื่อหมักโดยใช้ระยะเวลาหนึ่งแล้ว เศษพืชจะเปลี่ยนสภาพจากของเดิมเป็นผงเปื่อยยุ่ยสีน้ำตาลปนดำนำไปใส่ในไร่นาหรือพืชสวน เช่น ไม้ผล พืชผัก หรือไม้ดอกไม้ประดับได้       </div>\n<div>1.2<span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>วิธีการผลิตปุ๋ยหมักฟางข้าว</div>\n<div>1.2.1 ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพฟางข้าวแบบเก่า</div>\n<div>        1.2.1.1 ส่วนผสม </div>\n<div>                   1. ฟางหรือซังข้าว 1 ส่วน </div>\n<div>                   2. มูลสัตว์ 1 ส่วน </div>\n<div>                   3. รำละเอียด 1 ส่วน </div>\n<div>                   4. หัวเชื้อจุลินทรีย์ 0.5 ลิตร / น้ำ 20 ลิตร </div>\n<div>                   5. น้ำสะอาด </div>\n<div>                   6. กากน้ำตาล 1 ลิตร / น้ำ 20 ลิตร </div>\n<div>         1.2.1.2 วิธีทำ </div>\n<div>                   1.นำฟางข้าวมาย่อยด้วยเครื่องย่อยให้ละเอียด หรือจะใช้มีดสับให้ฟางแต่ละชิ้นมีความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร</div>\n<div>                   2.นำมูลสัตว์ รำข้าว ผสมกับฟางข้าว ใช้พลั่วหรือจอบคนให้มูลสัตว์ รำข้าว และฟางข้าวผสมกันทั่ว </div>\n<div>                   3. นำกากน้ำตาล และหัวเชื้อจุลินทรีย์ผสมกับน้ำ นำไปราดบนกองปุ๋ย แล้วใช้จอบหรือพลั่วคนให้เข้ากันดี </div>\n<div>                  4. นำส่วนผสมที่ได้บรรจุในกระสอบ โดยบรรจุ; ของกระสอบ แล้วมัดปากกระสอบให้แน่น </div>\n<div>                  5. นำกระสอบไปวางซ้อนกันประมาณ 3 – 4 กระสอบ ในที่ที่ไม่ถูกแสงแดดและฝน ทำการกลับกระสอบปุ๋ยทุกวัน ประมาณ 15 วัน ก็จะนำปุ๋ยไปใช้ได้ (ประไพ ยินเจริญ)</div>\n<div><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>      1.2.2 ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพฟางข้าวแบบใหม่ </div>\n<div>                             1.2.2.1 ส่วนผสม </div>\n<div>                                    1. ฟางหรือซังข้าว 1 ส่วน </div>\n<div>                                    2. มะละกอสับ  1  ส่วน </div>\n<div>                                    3. น้ำส้มควันไม้  0.5  ลิตร </div>\n<div>                                    4. นมเปรี้ยว  0.5  ลิตร </div>\n<div>                                    5. น้ำสะอาด </div>\n<div>                                    6. กากน้ำตาล 1 ลิตร / น้ำ 20 ลิตร </div>\n<div>                            1.2.2.2 วิธีทำ</div>\n<div>             นำฟางข้าวใส่ลงไปในถังหมักที่เตรียมไว้  เติมน้ำเปล่า กากน้ำตาล นมเปรี้ยว  น้ำส้มควันไม้ และใบมะละกอสับใส่ลงในถังหมัก  ปิดฝาให้สนิท รอระยะเวลาประมาณ  1  อาทิตย์</div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div>            1.3   ประโชน์ของปุ๋ยหมักฟางข้าว                                                                                 1.3.1  ช่วยเพิ่มปริมาณอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน ทำให้ดินอุดมสมบูรณ์</div>\n<div>                      1.3. 2  ช่วยเปลี่ยนสภาพของดินจากดินเหนียวหรือดินทรายให้เป็นดินร่วนทำให้สะดวกในการไถพรวน</div>\n<div>                      1.3.3  ช่วยสงวนรักษาความชุ่มชื้นในดินได้ดีขึ้น</div>\n<div>                      1.3.4  ทำให้การถ่ายเทอากาศในดินได้ดี</div>\n<div>                   1.3.5  ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ปุ๋ยเคมีและสามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้</div>\n<div>                   1.3.6  ช่วยกระตุ้นให้ธาตุอาหารพืชบางอย่างในดินที่ละลายน้ำยากให้ละลายน้ำง่ายเป็นอาหารแก่พืชได้ดีขึ้น</div>\n<div>                   1.3.7  ไม่เป็นอันตรายต่อดินแม้จะใช้ในปริมาณมาก ๆ ติดต่อกันนาน ๆ</div>\n<div>                   1.3.8  ช่วยปรับสภาพแวดล้อม เช่น กำจัดขยะมูลฝอยและวัชพืชน้ำทั้งหลายให้หมดไป</div>\n<div>ตอนที่  2.  เอกสารเกี่ยวกับฟางข้าว</div>\n<div><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>    2.1   ความหมายของฟางข้าว</div>\n<div><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>             ฟาง เป็นผลผลิตพลอยได้ชนิดหนึ่งจากเกษตรกรรม คือลำต้นแห้งของธัญพืชหลังจากการเก็บเกี่ยว ฟางเกิดขึ้นจากต้นของธัญพืชอาทิ ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ข้าวเจ้า ข้าวไรย์ ข้าวสาลี เป็นต้น ประโยชน์ของฟางมีมากมายตั้งแต่ใช้เป็นอาหารสัตว์ หัตถกรรม ไปจนถึงพลังงานทดแทน</div>\n<div>                2.2   ประโยชน์ของฟางข้าว</div>\n<div>                         2.2.1. ฟางข้าวช่วยทำให้ดินมีปริมาณของอินทรียวัตถุในดินมากขึ้น</div>\n<div>                         2.2.2 ฟางข้าวช่วยทำให้พื้นที่นาที่ถูกคลุมด้วยฟางข้าวมีสภาพจุลนิเวศ (Microclimate) เหนือผิวดินเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิต เช่น จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และ ไส้เดือน เป็นต้น</div>\n<div>                         2.2. 3  ฟางข้าวช่วยคลุมวัชพืช โดยการบังแสงแดด ไม่ให้วัชพืชเติบโตได้</div>\n<div>                         2.2. 4 ฟางข้าวช่วยบังแสงแดด ทำให้ดินมีความชื้นอยู่ได้นาน เป็นประโยชน์แก่พืชที่ปลูกทำให้ผลผลิตสูงกว่าดินที่ไม่มีฟางข้าวปกคลุม</div>\n<div>                         2.2.5 ฟางข้าวเมื่อเน่าสลายจะให้ธาตุอาหารแก่พืชเมื่อฟางข้าวย่อยสลายแล้วจะได้ธาตุไนโตรเจน (N) ธาตุฟอสฟอรัส (P) ธาตุโพแทสเซียม (K) และ แคลเซียม (Ca ) แมกนีเซียม (Mg) ที่สำคัญมีธาตุซิลิก้า (SiO2) ด้วย</div>\n<div>                         2.2.6  ฟางข้าวนำไปเป็นอาหารโค กระบือ ได้</div>\n<div>                         2.2.7 ฟางข้าวสามารถนำไปทำวัสดุเพาะเห็ดฟางได้</div>\n<div>                         2.2.8  ฟางข้าวเป็นวัสดุที่อยู่ในนาไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและเวลาไปขนมาใส่ในนา ก่อนที่จะหมักฟางข้าว ต้องเกลี่ยฟางให้กระจายทั่วทั้งแปลง</div>\n<div>ตอนที่  3.    เอกสารเกี่ยวกับใบมะละกอ   </div>\n<div>                3.1  ความหมายของใบมะละกอ   </div>\n<div>                      ใบมะละกอ   เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งที่พบได้ทั่วไป</div>\n<div>                 3.2  ประโยชน์ของใบมะละกอ</div>\n<div>                      ใบมะละกอ   นำมาสกัดด้วยตัวทำละลาย 4 ชนิด ได้แก่ เฮกแซน เอทิลแอซีเทต แอซีโทน เมทานอล ทำการสกัด โดยวิธีการสกัดร้อน และได้นำสารสกัดที่ได้ทั้งหมดไปทำการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพแสดงการยับยั้งการเจริญของเชื้อราพืช 2 ชนิด ได้แก่เชื้อรา Pytophthora Capsici และ เชื้อรา Fusarium oxysporum ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคลำต้นเหี่ยวโรคเหี่ยวในพืช </div>\n<div> ตอนที่  4.  เอกสารเกี่ยวกับกากน้ำตาล                                                                                             4.1  ความหมายของกากน้ำตาล                                                                                                    </div>\n<div>                    กากน้ำตาล (molasses) เป็นของเหลวที่มีลักษณะข้นเหนียวสีน้ำตาลดำ ที่เป็นผลพลอยได้จากการผลิตน้ำตาลทรายจากอ้อย เนื่องจากกรรมวิธีการผลิตน้ำตาลทรายจากอ้อยนั้น เริ่มจากการนำอ้อยเข้าหีบได้น้ำอ้อย กรองเอากากออกจากน้ำอ้อยแล้วเคี่ยว น้ำอ้อยจนได้ผลึกของน้ำตาลทรายตกตะกอนออกมา แยกผลึกน้ำตาลทรายด้วยหม้อปั่น (centrifuge) ผลพลอยได้ที่สำคัญจาก การผลิตน้ำตาลทรายด้วยวิธีนี้ได้แก่ กากน้ำตาล ขี้ตะกอน (filter cake) และกากอ้อย (bagasses)  (ดร. สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์)</div>\n<div>               4.2  วิธีผลิต</div>\n<div>                        4.2.1  กากน้ำตาลที่ได้จากการผลิตน้ำตาลทรายขาว (plantation white sugar) ซึ่งเราเรียกว่า black–strap molasses จะมีปริมาณน้ำตาลอยู่ประมาณ 50–60%</div>\n<div>                        4.2.2 กากน้ำตาลที่ได้จากการผลิตน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ (refine sugar) ซึ่งเราเรียกว่า refinery molasses จะมีปริมาณน้ำตาลอยู่ประมาณ 48%</div>\n<div>                        4.2.3 กากน้ำตาลที่ได้จากการทำบางส่วนของน้ำอ้อยแปรสภาพให้เข้มข้นโดยการระเหย (inverted can juice) ซึ่งเราเรียกว่า invert molasses หรือ hightest molasses วิธีนี้เป็นการผลิตกากน้ำตาลโดยตรง</div>\n<div>               4.3   ประโยชน์</div>\n<div>                   ประโยชน์ที่ได้จากกากน้ำตาลมีมากมาย เนื่องจากในกากน้ำตาลประกอบด้วยน้ำตาลประมาณ 50–60% และแร่ธาตุต่างๆ ประโยชน์ที่เห็นได้โดยตรง เช่น ใช้เป็นอาหารสัตว์ เนื่องจากกากน้ำตาลประกอบด้วยน้ำตาลเป็นส่วนใหญ่ซึ่งเป็นแหล่งอาหาร พลังงานที่เหมาะสมและราคาไม่แพง จึงมีการใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์หลายชนิด ใช้เป็นปุ๋ย เพราะในกากน้ำตาลมี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ซึ่งเป็นสารอาหารที่สำคัญสำหรับพืช นอกจากนี้กากน้ำตาลยังใช้เป็นวัตถุดิบใน อุตสาหกรรมการหมักหลายชนิด เช่น อุตสาหกรรมการหมักแอลกอฮอล์ สุรา กรดมะนาว กรดน้ำส้ม กรดแล็กติก ผงชูรส ยีสต์ขนมปัง และยีสต์อาหารสัตว์ เนื่องจากกากน้ำตาลมีราคาถูกและเหมาะสมกว่าเมื่อเทียบกับวัตถุดิบชนิดอื่นๆ</div>\n<div>ตอนที่  เอกสารเกี่ยวกับน้ำส้มควันไม้</div>\n<div>                5.1  ความหมายของน้ำส้มควันไม้</div>\n<div>           น้ำส้มควันไม้ เป็นผลผลิตที่ได้จากการเผาถ่านไม้ไผ่ ภายใต้สภาพอับอากาศ ( Airless Condition ) เมื่อผ่านแก๊สที่เกิดจากการเผาไหม้ไม้สดให้สัมผัสอากาศเย็น จะทำให้ไอกลั่นตัวลงจนเป็นของเหลว  มีค่าความเป็นกรดสูง  มีแร่ธาตุมากว่า 260 ชนิด มีประโยชน์ทางการเกษตร  การแพทย์ ปศุสัตว์  และผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม</div>\n<div>                5.2   การผลิตของน้ำส้มควันไม้</div>\n<div>                        น้ำส้มควันไม้ ควันที่เกิดจากการเผาถ่านในช่วงที่ไม้กำลังเปลี่ยนเป็นถ่านเมื่อทำให้เย็นลงจนควบแน่น แล้วกลั่นตัวเป็นหยดน้ำ ของเหลวที่ได้นี้เรียกว่า น้ำส้มควันไม้ มีกลิ่นไหม้ส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นกรดอะซิติกมีความเป็นกรดต่ำ มีสีน้ำตาลแกมแดง นำน้ำส้มควันไม้ที่ได้ทิ้งไว้ในภาชนะพลาสติกประมาณ 3 เดือนในที่ร่ม ไม่สั่นสะเทือนเพื่อให้น้ำส้มควันไม้ที่ได้ตกตะกอนและแยกตัวเป็น 3 ชั้น คือ น้ำมันเบา (ลอยอยู่ผิวน้ำ)น้ำส้มไม้ และน้ำมันทาร์(ตกตะกอนอยู่ด้านล่าง) แยกน้ำส้มควันไม้มาใช้ประโยชน์ต่อไป</div>\n<div>                5.3   ประโยชน์ของน้ำส้มควันไม้</div>\n<div>                       น้ำส้มควันไม้มีสารประกอบต่างๆ มากมาย เมื่อนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรจะมีคุณสมบัติ เช่น เป็นสารปรับปรุงดิน สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช และสารเร่งการเติบโตของพืช นอกจากนี้ มีการนำน้ำส้มควันไม้</div>\n<div>ไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม เช่น ใช้ผลิตสารดับกลิ่นตัว ผลิตสารปรับผิวนุ่ม ใช้ผลิตยารักษาโรคผิวหนัง เป็นต้น </div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div></div>\n<div>ตอนที่  6   เอกสารเกี่ยวกับผักคะน้า</div>\n<div>                  ความหมายและประโยชน์ของผักคะน้า</div>\n<div>                        คะน้า (Chinese Kale) ผักคะน้าเป็นผักที่เราปลูกเพื่อบริโภคส่วนของใบและลำต้น มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปเอเชีย และมีปลูกกันมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น จีน ฮ่องกง ไต้หวัน มาเลเซีย และประเทศไทย ผักคะน้าอยู่ในตระกูล Cruciferae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Brassica alboglabra Bailey ลักษณะโดยทั่วไป ผักคะน้าเป็นผักอายุ 2 ปี แต่ปลูกเป็นผักฤดูเดียว อายุตั้งแต่หว่านจนถึงเก็บเกี่ยว ประมาณ 45-55 วัน ผักคะน้าสามารถปลูก  คะน้า เป็นผักที่ปลูกง่าย ชอบสภาพแสงแดดตลอดวัน เจริญเติบโต และสามารถปลูกได้ตลอดปี การเตรียมแปลงปลูก หรือในกระถาง ถ้าปลูกในแปลงควรเตรียมดินปลูก โดยใช้จอบขุดย่อยหน้าดินลึก 15-20 ซม. และย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยคอก หรือใส่ปุ๋ยหมัก หว่านและคลุกเคล้าให้เข้ากับดินในแปลง ในกรณีปลูกในกระถาง ให้ผสมดินปลูกในกระถาง โดยใช้ดินร่วนละเอียดผสมกับปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก</div>\n<div></div>\n', created = 1718639931, expire = 1718726331, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:154dde4654c48b7c3e34937635dacd71' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 2
แนวคิด  ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการทดลองผลิตปุ๋ยหมักฟางข้าวแบบใหม่นั้น  ผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 6 หัวข้อ ดังนี้
1.  เอกสารเกี่ยวกับปุ๋ยหมักฟางข้าว
1.1  ความหมายของปุ๋ยหมักฟางข้าว
1.2  วิธีการผลิตปุ๋ยหมักฟางข้าว
1.3   ประโชน์ของปุ๋ยหมักฟางข้าว
2.  เอกสารเกี่ยวกับฟางข้าว
2.1   ความหมายของฟางข้าว
2.2   ประโยชน์ของฟางข้าว
           3.  เอกสารเกี่ยวกับใบมะละกอ
                        3.1  ความหมายของใบมะละกอ
                        3.2  ประโยชน์ของใบมะละกอ
           4.  เอกสารเกี่ยวกับกากน้ำตาล
                       4.1  ความหมายของกากน้ำตาล
                       4.2  วิธีผลิตของกากน้ำตาล
                       4.3   ประโยชน์ของกากน้ำตาล
           5.  เอกสารเกี่ยวกับน้ำส้มควันไม้
                      5.1  ความหมายของน้ำส้มควันไม้
                      5.2   การผลิตของน้ำส้มควันไม้
                      5.3   ประโยชน์ของน้ำส้มควันไม้
            6. เอกสารเกี่ยวกับคะน้า
                      ความหมายและประโยชน์ของคะน้า
ตอนที่ 1.  ปุ๋ยหมักฟางข้าว
1.1 ความหมายของปุ๋ยหมัก
                    ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยธรรมชาติ ชนิดหนึ่งที่ได้มาจากการนำเอาเศษซากพืช เช่น ฟางข้า ซังข้าวโพด ต้นถั่วต่าง ๆ หญ้าแห้ง ผักตบชวา ของเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนขยะมูลฝอยตามบ้านเรือนมาหมักร่วมกับมูลสัตว์ ปุ๋ยเคมีหรือสารเร่งจุลินทรีย์เมื่อหมักโดยใช้ระยะเวลาหนึ่งแล้ว เศษพืชจะเปลี่ยนสภาพจากของเดิมเป็นผงเปื่อยยุ่ยสีน้ำตาลปนดำนำไปใส่ในไร่นาหรือพืชสวน เช่น ไม้ผล พืชผัก หรือไม้ดอกไม้ประดับได้       
1.2 วิธีการผลิตปุ๋ยหมักฟางข้าว
1.2.1 ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพฟางข้าวแบบเก่า
        1.2.1.1 ส่วนผสม 
                   1. ฟางหรือซังข้าว 1 ส่วน 
                   2. มูลสัตว์ 1 ส่วน 
                   3. รำละเอียด 1 ส่วน 
                   4. หัวเชื้อจุลินทรีย์ 0.5 ลิตร / น้ำ 20 ลิตร 
                   5. น้ำสะอาด 
                   6. กากน้ำตาล 1 ลิตร / น้ำ 20 ลิตร 
         1.2.1.2 วิธีทำ 
                   1.นำฟางข้าวมาย่อยด้วยเครื่องย่อยให้ละเอียด หรือจะใช้มีดสับให้ฟางแต่ละชิ้นมีความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร
                   2.นำมูลสัตว์ รำข้าว ผสมกับฟางข้าว ใช้พลั่วหรือจอบคนให้มูลสัตว์ รำข้าว และฟางข้าวผสมกันทั่ว 
                   3. นำกากน้ำตาล และหัวเชื้อจุลินทรีย์ผสมกับน้ำ นำไปราดบนกองปุ๋ย แล้วใช้จอบหรือพลั่วคนให้เข้ากันดี 
                  4. นำส่วนผสมที่ได้บรรจุในกระสอบ โดยบรรจุ; ของกระสอบ แล้วมัดปากกระสอบให้แน่น 
                  5. นำกระสอบไปวางซ้อนกันประมาณ 3 – 4 กระสอบ ในที่ที่ไม่ถูกแสงแดดและฝน ทำการกลับกระสอบปุ๋ยทุกวัน ประมาณ 15 วัน ก็จะนำปุ๋ยไปใช้ได้ (ประไพ ยินเจริญ)
     1.2.2 ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพฟางข้าวแบบใหม่ 
                             1.2.2.1 ส่วนผสม 
                                    1. ฟางหรือซังข้าว 1 ส่วน 
                                    2. มะละกอสับ  1  ส่วน 
                                    3. น้ำส้มควันไม้  0.5  ลิตร 
                                    4. นมเปรี้ยว  0.5  ลิตร 
                                    5. น้ำสะอาด 
                                    6. กากน้ำตาล 1 ลิตร / น้ำ 20 ลิตร 
                            1.2.2.2 วิธีทำ
             นำฟางข้าวใส่ลงไปในถังหมักที่เตรียมไว้  เติมน้ำเปล่า กากน้ำตาล นมเปรี้ยว  น้ำส้มควันไม้ และใบมะละกอสับใส่ลงในถังหมัก  ปิดฝาให้สนิท รอระยะเวลาประมาณ  1  อาทิตย์
            1.3   ประโชน์ของปุ๋ยหมักฟางข้าว                                                                                 1.3.1  ช่วยเพิ่มปริมาณอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน ทำให้ดินอุดมสมบูรณ์
                      1.3. 2  ช่วยเปลี่ยนสภาพของดินจากดินเหนียวหรือดินทรายให้เป็นดินร่วนทำให้สะดวกในการไถพรวน
                      1.3.3  ช่วยสงวนรักษาความชุ่มชื้นในดินได้ดีขึ้น
                      1.3.4  ทำให้การถ่ายเทอากาศในดินได้ดี
                   1.3.5  ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ปุ๋ยเคมีและสามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้
                   1.3.6  ช่วยกระตุ้นให้ธาตุอาหารพืชบางอย่างในดินที่ละลายน้ำยากให้ละลายน้ำง่ายเป็นอาหารแก่พืชได้ดีขึ้น
                   1.3.7  ไม่เป็นอันตรายต่อดินแม้จะใช้ในปริมาณมาก ๆ ติดต่อกันนาน ๆ
                   1.3.8  ช่วยปรับสภาพแวดล้อม เช่น กำจัดขยะมูลฝอยและวัชพืชน้ำทั้งหลายให้หมดไป
ตอนที่  2.  เอกสารเกี่ยวกับฟางข้าว
   2.1   ความหมายของฟางข้าว
            ฟาง เป็นผลผลิตพลอยได้ชนิดหนึ่งจากเกษตรกรรม คือลำต้นแห้งของธัญพืชหลังจากการเก็บเกี่ยว ฟางเกิดขึ้นจากต้นของธัญพืชอาทิ ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ข้าวเจ้า ข้าวไรย์ ข้าวสาลี เป็นต้น ประโยชน์ของฟางมีมากมายตั้งแต่ใช้เป็นอาหารสัตว์ หัตถกรรม ไปจนถึงพลังงานทดแทน
                2.2   ประโยชน์ของฟางข้าว
                         2.2.1. ฟางข้าวช่วยทำให้ดินมีปริมาณของอินทรียวัตถุในดินมากขึ้น
                         2.2.2 ฟางข้าวช่วยทำให้พื้นที่นาที่ถูกคลุมด้วยฟางข้าวมีสภาพจุลนิเวศ (Microclimate) เหนือผิวดินเหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิต เช่น จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์และ ไส้เดือน เป็นต้น
                         2.2. 3  ฟางข้าวช่วยคลุมวัชพืช โดยการบังแสงแดด ไม่ให้วัชพืชเติบโตได้
                         2.2. 4 ฟางข้าวช่วยบังแสงแดด ทำให้ดินมีความชื้นอยู่ได้นาน เป็นประโยชน์แก่พืชที่ปลูกทำให้ผลผลิตสูงกว่าดินที่ไม่มีฟางข้าวปกคลุม
                         2.2.5 ฟางข้าวเมื่อเน่าสลายจะให้ธาตุอาหารแก่พืชเมื่อฟางข้าวย่อยสลายแล้วจะได้ธาตุไนโตรเจน (N) ธาตุฟอสฟอรัส (P) ธาตุโพแทสเซียม (K) และ แคลเซียม (Ca ) แมกนีเซียม (Mg) ที่สำคัญมีธาตุซิลิก้า (SiO2) ด้วย
                         2.2.6  ฟางข้าวนำไปเป็นอาหารโค กระบือ ได้
                         2.2.7 ฟางข้าวสามารถนำไปทำวัสดุเพาะเห็ดฟางได้
                         2.2.8  ฟางข้าวเป็นวัสดุที่อยู่ในนาไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและเวลาไปขนมาใส่ในนา ก่อนที่จะหมักฟางข้าว ต้องเกลี่ยฟางให้กระจายทั่วทั้งแปลง
ตอนที่  3.    เอกสารเกี่ยวกับใบมะละกอ   
                3.1  ความหมายของใบมะละกอ   
                      ใบมะละกอ   เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งที่พบได้ทั่วไป
                 3.2  ประโยชน์ของใบมะละกอ
                      ใบมะละกอ   นำมาสกัดด้วยตัวทำละลาย 4 ชนิด ได้แก่ เฮกแซน เอทิลแอซีเทต แอซีโทน เมทานอล ทำการสกัด โดยวิธีการสกัดร้อน และได้นำสารสกัดที่ได้ทั้งหมดไปทำการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพแสดงการยับยั้งการเจริญของเชื้อราพืช 2 ชนิด ได้แก่เชื้อรา Pytophthora Capsici และ เชื้อรา Fusarium oxysporum ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคลำต้นเหี่ยวโรคเหี่ยวในพืช 
 ตอนที่  4.  เอกสารเกี่ยวกับกากน้ำตาล                                                                                             4.1  ความหมายของกากน้ำตาล                                                                                                    
                    กากน้ำตาล (molasses) เป็นของเหลวที่มีลักษณะข้นเหนียวสีน้ำตาลดำ ที่เป็นผลพลอยได้จากการผลิตน้ำตาลทรายจากอ้อย เนื่องจากกรรมวิธีการผลิตน้ำตาลทรายจากอ้อยนั้น เริ่มจากการนำอ้อยเข้าหีบได้น้ำอ้อย กรองเอากากออกจากน้ำอ้อยแล้วเคี่ยว น้ำอ้อยจนได้ผลึกของน้ำตาลทรายตกตะกอนออกมา แยกผลึกน้ำตาลทรายด้วยหม้อปั่น (centrifuge) ผลพลอยได้ที่สำคัญจาก การผลิตน้ำตาลทรายด้วยวิธีนี้ได้แก่ กากน้ำตาล ขี้ตะกอน (filter cake) และกากอ้อย (bagasses)  (ดร. สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์)
               4.2  วิธีผลิต
                        4.2.1  กากน้ำตาลที่ได้จากการผลิตน้ำตาลทรายขาว (plantation white sugar) ซึ่งเราเรียกว่า black–strap molasses จะมีปริมาณน้ำตาลอยู่ประมาณ 50–60%
                        4.2.2 กากน้ำตาลที่ได้จากการผลิตน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ (refine sugar) ซึ่งเราเรียกว่า refinery molasses จะมีปริมาณน้ำตาลอยู่ประมาณ 48%
                        4.2.3 กากน้ำตาลที่ได้จากการทำบางส่วนของน้ำอ้อยแปรสภาพให้เข้มข้นโดยการระเหย (inverted can juice) ซึ่งเราเรียกว่า invert molasses หรือ hightest molasses วิธีนี้เป็นการผลิตกากน้ำตาลโดยตรง
               4.3   ประโยชน์
                   ประโยชน์ที่ได้จากกากน้ำตาลมีมากมาย เนื่องจากในกากน้ำตาลประกอบด้วยน้ำตาลประมาณ 50–60% และแร่ธาตุต่างๆ ประโยชน์ที่เห็นได้โดยตรง เช่น ใช้เป็นอาหารสัตว์ เนื่องจากกากน้ำตาลประกอบด้วยน้ำตาลเป็นส่วนใหญ่ซึ่งเป็นแหล่งอาหาร พลังงานที่เหมาะสมและราคาไม่แพง จึงมีการใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสัตว์หลายชนิด ใช้เป็นปุ๋ย เพราะในกากน้ำตาลมี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ซึ่งเป็นสารอาหารที่สำคัญสำหรับพืช นอกจากนี้กากน้ำตาลยังใช้เป็นวัตถุดิบใน อุตสาหกรรมการหมักหลายชนิด เช่น อุตสาหกรรมการหมักแอลกอฮอล์ สุรา กรดมะนาว กรดน้ำส้ม กรดแล็กติก ผงชูรส ยีสต์ขนมปัง และยีสต์อาหารสัตว์ เนื่องจากกากน้ำตาลมีราคาถูกและเหมาะสมกว่าเมื่อเทียบกับวัตถุดิบชนิดอื่นๆ
ตอนที่  เอกสารเกี่ยวกับน้ำส้มควันไม้
                5.1  ความหมายของน้ำส้มควันไม้
           น้ำส้มควันไม้ เป็นผลผลิตที่ได้จากการเผาถ่านไม้ไผ่ ภายใต้สภาพอับอากาศ ( Airless Condition ) เมื่อผ่านแก๊สที่เกิดจากการเผาไหม้ไม้สดให้สัมผัสอากาศเย็น จะทำให้ไอกลั่นตัวลงจนเป็นของเหลว  มีค่าความเป็นกรดสูง  มีแร่ธาตุมากว่า 260 ชนิด มีประโยชน์ทางการเกษตร  การแพทย์ ปศุสัตว์  และผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม
                5.2   การผลิตของน้ำส้มควันไม้
                        น้ำส้มควันไม้ ควันที่เกิดจากการเผาถ่านในช่วงที่ไม้กำลังเปลี่ยนเป็นถ่านเมื่อทำให้เย็นลงจนควบแน่น แล้วกลั่นตัวเป็นหยดน้ำ ของเหลวที่ได้นี้เรียกว่า น้ำส้มควันไม้ มีกลิ่นไหม้ส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นกรดอะซิติกมีความเป็นกรดต่ำ มีสีน้ำตาลแกมแดง นำน้ำส้มควันไม้ที่ได้ทิ้งไว้ในภาชนะพลาสติกประมาณ 3 เดือนในที่ร่ม ไม่สั่นสะเทือนเพื่อให้น้ำส้มควันไม้ที่ได้ตกตะกอนและแยกตัวเป็น 3 ชั้น คือ น้ำมันเบา (ลอยอยู่ผิวน้ำ)น้ำส้มไม้ และน้ำมันทาร์(ตกตะกอนอยู่ด้านล่าง) แยกน้ำส้มควันไม้มาใช้ประโยชน์ต่อไป
                5.3   ประโยชน์ของน้ำส้มควันไม้
                       น้ำส้มควันไม้มีสารประกอบต่างๆ มากมาย เมื่อนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรจะมีคุณสมบัติ เช่น เป็นสารปรับปรุงดิน สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช และสารเร่งการเติบโตของพืช นอกจากนี้ มีการนำน้ำส้มควันไม้
ไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม เช่น ใช้ผลิตสารดับกลิ่นตัว ผลิตสารปรับผิวนุ่ม ใช้ผลิตยารักษาโรคผิวหนัง เป็นต้น 
ตอนที่  6   เอกสารเกี่ยวกับผักคะน้า
                  ความหมายและประโยชน์ของผักคะน้า
                        คะน้า (Chinese Kale) ผักคะน้าเป็นผักที่เราปลูกเพื่อบริโภคส่วนของใบและลำต้น มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปเอเชีย และมีปลูกกันมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น จีน ฮ่องกง ไต้หวัน มาเลเซีย และประเทศไทย ผักคะน้าอยู่ในตระกูล Cruciferae มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Brassica alboglabra Bailey ลักษณะโดยทั่วไป ผักคะน้าเป็นผักอายุ 2 ปี แต่ปลูกเป็นผักฤดูเดียว อายุตั้งแต่หว่านจนถึงเก็บเกี่ยว ประมาณ 45-55 วัน ผักคะน้าสามารถปลูก  คะน้า เป็นผักที่ปลูกง่าย ชอบสภาพแสงแดดตลอดวัน เจริญเติบโต และสามารถปลูกได้ตลอดปี การเตรียมแปลงปลูก หรือในกระถาง ถ้าปลูกในแปลงควรเตรียมดินปลูก โดยใช้จอบขุดย่อยหน้าดินลึก 15-20 ซม. และย่อยดินให้ละเอียด ใส่ปุ๋ยคอก หรือใส่ปุ๋ยหมัก หว่านและคลุกเคล้าให้เข้ากับดินในแปลง ในกรณีปลูกในกระถาง ให้ผสมดินปลูกในกระถาง โดยใช้ดินร่วนละเอียดผสมกับปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 579 คน กำลังออนไลน์