• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f36dd9c699ebb48494ae206db2fbe859' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                  <br />\n<strong>ตอนที่  1</strong>  น้ำยาลบคำผิด<br />\n          1.1  ความหมายของน้ำยาลบคำผิด<br />\n  น้ำยาลบคำผิด เป็นของเหลวสีขาวทึบใช้สำหรับป้ายทับข้อความผิดพลาดในเอกสาร และเมื่อแห้งแล้วสามารถเขียนทับได้ โดยปกติน้ำยาลบคำผิดจะบรรจุอยู่ในขวดเล็ก และมีฝาซึ่งมีแปรงติดอยู่ (หรืออาจเป็นชิ้นโฟมสามเหลี่ยม) ซึ่งจุ่มน้ำยาอยู่ในขวด แปรงนั้นใช้สำหรับป้ายน้ำยาลงบนกระดาษ<br />\nก่อนที่จะมีการคิดค้นโปรแกรมประมวลคำ น้ำยาลบคำผิดเป็นที่นิยมอย่างมากสำหรับการพิมพ์เอกสารด้วยเครื่องพิมพ์ดีด<br />\nรูปแบบแรกสุดของน้ำยาลบคำผิดถูกคิดค้นขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1951 โดยเลขานุการ Bette Nesmith Graham ผู้ก่อตั้งบริษัทลิควิดเปเปอร์<br />\n          1.2   ทินเนอร์<br />\n  เนื่องจากน้ำยาลบคำผิดประกอบด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ (สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย) น้ำยาที่ไม่ได้ใช้เป็นเวลานานจะข้นมากขึ้นตามเวลาเพราะตัวทำละลายจะระเหยไปในอากาศ ซึ่งอาจทำให้น้ำยาข้นเกินไปที่จะใช้ หรือบางทีก็แห้งกรังไปเลย ดังนั้นผู้ผลิตน้ำยาลบคำผิดบางรายจึงขายตัวทำละลายเป็นอีกขวดแยกต่างหากโดยเรียกว่า ทินเนอร์ การใส่ทินเนอร์เพียงไม่กี่หยดลงในขวดก็ทำให้น้ำยากลับมาเป็นสภาพปกติ<br />\nทินเนอร์ที่ว่านี้เดิมประกอบด้วยโทลูอีน ซึ่งถูกห้ามใช้เนื่องจากเป็นสารก่อมะเร็ง ในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนไปใช้ 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน แต่ก็ถูกห้ามใช้อีกโดยพิธีสารมอนทรีออล (Montreal Protocol) เนื่องจากเป็นสารที่ทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ จึงเปลี่ยนไปใช้ไตรคลอโรเอทิลีนซึ่งก็ไม่ได้ปลอดภัยจากเดิมมากนัก ปัจจุบันนี้ทินเนอร์ที่ใช้ในน้ำยาลบคำผิดมีส่วนประกอบของโบรโมโพรเพน<br />\nเพื่อที่จะหลีกเลี่ยงความไม่สะดวกที่จะใช้ตัวทำละลายอินทรีย์ ด้วยเหตุผลของความปลอดภัยและการสรรหา น้ำยาลบคำผิดบางยี่ห้อสามารถใช้น้ำเป็นตัวทำละลายได้ แต่ก็มีข้อเสียตรงที่ใช้เวลาแห้งนานกว่า และไม่สามารถใช้ได้กับหมึกบางประเภท ซึ่งจะทำให้สีหมึกปนกับน้ำยา<br />\n  1.3  การใช้ในทางที่ผิด<br />\n  ตัวทำละลายอินทรีย์เป็นสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทเมื่อสูดดมเข้าไปอย่างตั้งใจ ตัวทำละลายเช่นนี้เป็นสารสูดดมที่มีราคาถูกกว่าสารเสพติดเพื่อความผ่อนคลายชนิดอื่น การใช้น้ำยาลบคำผิดเป็นสารสูดดมสามารถทำให้หัวใจเต้นเร็วและผิดจังหวะ ซึ่งอาจนำไปสู่การเสียชีวิต  ดังนั้นผู้ผลิตบางรายจึงใส่กลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ลงไปในน้ำยาเพื่อป้องกันการใช้ในทางที่ผิดนี้ <br />\n<strong></strong></p>\n', created = 1719413888, expire = 1719500288, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f36dd9c699ebb48494ae206db2fbe859' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บทที่2 โครงงานวิทยาศาสตร์ น้ำยาลบคำผิดจากยางพาราฯ

                 
ตอนที่  1  น้ำยาลบคำผิด
          1.1  ความหมายของน้ำยาลบคำผิด
  น้ำยาลบคำผิด เป็นของเหลวสีขาวทึบใช้สำหรับป้ายทับข้อความผิดพลาดในเอกสาร และเมื่อแห้งแล้วสามารถเขียนทับได้ โดยปกติน้ำยาลบคำผิดจะบรรจุอยู่ในขวดเล็ก และมีฝาซึ่งมีแปรงติดอยู่ (หรืออาจเป็นชิ้นโฟมสามเหลี่ยม) ซึ่งจุ่มน้ำยาอยู่ในขวด แปรงนั้นใช้สำหรับป้ายน้ำยาลงบนกระดาษ
ก่อนที่จะมีการคิดค้นโปรแกรมประมวลคำ น้ำยาลบคำผิดเป็นที่นิยมอย่างมากสำหรับการพิมพ์เอกสารด้วยเครื่องพิมพ์ดีด
รูปแบบแรกสุดของน้ำยาลบคำผิดถูกคิดค้นขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1951 โดยเลขานุการ Bette Nesmith Graham ผู้ก่อตั้งบริษัทลิควิดเปเปอร์
          1.2   ทินเนอร์
  เนื่องจากน้ำยาลบคำผิดประกอบด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ (สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย) น้ำยาที่ไม่ได้ใช้เป็นเวลานานจะข้นมากขึ้นตามเวลาเพราะตัวทำละลายจะระเหยไปในอากาศ ซึ่งอาจทำให้น้ำยาข้นเกินไปที่จะใช้ หรือบางทีก็แห้งกรังไปเลย ดังนั้นผู้ผลิตน้ำยาลบคำผิดบางรายจึงขายตัวทำละลายเป็นอีกขวดแยกต่างหากโดยเรียกว่า ทินเนอร์ การใส่ทินเนอร์เพียงไม่กี่หยดลงในขวดก็ทำให้น้ำยากลับมาเป็นสภาพปกติ
ทินเนอร์ที่ว่านี้เดิมประกอบด้วยโทลูอีน ซึ่งถูกห้ามใช้เนื่องจากเป็นสารก่อมะเร็ง ในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนไปใช้ 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน แต่ก็ถูกห้ามใช้อีกโดยพิธีสารมอนทรีออล (Montreal Protocol) เนื่องจากเป็นสารที่ทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ จึงเปลี่ยนไปใช้ไตรคลอโรเอทิลีนซึ่งก็ไม่ได้ปลอดภัยจากเดิมมากนัก ปัจจุบันนี้ทินเนอร์ที่ใช้ในน้ำยาลบคำผิดมีส่วนประกอบของโบรโมโพรเพน
เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงความไม่สะดวกที่จะใช้ตัวทำละลายอินทรีย์ ด้วยเหตุผลของความปลอดภัยและการสรรหา น้ำยาลบคำผิดบางยี่ห้อสามารถใช้น้ำเป็นตัวทำละลายได้ แต่ก็มีข้อเสียตรงที่ใช้เวลาแห้งนานกว่า และไม่สามารถใช้ได้กับหมึกบางประเภท ซึ่งจะทำให้สีหมึกปนกับน้ำยา
  1.3  การใช้ในทางที่ผิด
  ตัวทำละลายอินทรีย์เป็นสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทเมื่อสูดดมเข้าไปอย่างตั้งใจ ตัวทำละลายเช่นนี้เป็นสารสูดดมที่มีราคาถูกกว่าสารเสพติดเพื่อความผ่อนคลายชนิดอื่น การใช้น้ำยาลบคำผิดเป็นสารสูดดมสามารถทำให้หัวใจเต้นเร็วและผิดจังหวะ ซึ่งอาจนำไปสู่การเสียชีวิต  ดังนั้นผู้ผลิตบางรายจึงใส่กลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ลงไปในน้ำยาเพื่อป้องกันการใช้ในทางที่ผิดนี้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 517 คน กำลังออนไลน์